171 ผลลัพธ์ สำหรับ *การอ่าน*
ภาษา
หรือค้นหา: การอ่าน, -การอ่าน-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Reading |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เดินทุ่ง ๑ | ก. ตะลุยไป (ใช้ในการอ่าน แต่ง หรือแปลหนังสือ). |
ตะกุกตะกัก | ว. ติด ๆ ขัด ๆ, ไม่ราบรื่น, (มักใช้แก่การอ่านหรือพูด). |
ตู่ตัว | ว. เพี้ยนตัว, ไม่ตรง, (ใช้ในการอ่านหนังสือ) เช่น อ่านตู่ตัว ด เป็นตัว ค. |
แตก | เรียกการอ่านหนังสือออกคล่อง ว่า อ่านหนังสือแตก, เรียกเสียงห้าวเมื่อเริ่มเป็นหนุ่ม ว่า เสียงแตก, เรียกอาการที่พูดจนแสบคอหรือตะโกนดังจนสุดเสียง ว่า พูดจนคอแตก ตะโกนจนคอแตก. |
ทำนองเสนาะ | น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. |
ยติ ๒ | น. การหยุดเป็นจังหวะตามกำหนดในการอ่านฉันท์. |
หนอนหนังสือ | น. คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ. |
อักขรวิธี | น. วิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง, ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยตัวอักษร การอ่าน การเขียน และการใช้ตัวอักษร. |
อักขรสมัย | (อักขะหฺระสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. |
อักษรสมัย | (อักสอนสะไหฺม) น. วิชาหนังสือว่าด้วยการอ่านการเขียน. |
อัธยาย | การอ่าน, การเล่าเรียน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
amnesia, visual; alexia; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
aphasia, visual; alexia; amnesia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alexia; amnesia, visual; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bradylexia | อาการอ่านช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
blindness, word; alexia; amnesia, visual; aphasia, visual | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
demand reading | การอ่านตามคำขอทันที [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
destructive reading | การอ่านแบบทำลาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dyslexia | ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ, ภาวะเสียการอ่านรู้ความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
visual amnesia; alexia; aphasia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
visual aphasia; alexia; amnesia, visual; blindness, word | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
word blindness; alexia; amnesia, visual; aphasia, visual | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์การเห็น, ภาวะเสียการอ่าน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Book and reading | หนังสือและการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Reader's advisory service | บริการแนะนำการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
T.A.B Telephony | การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติ, การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ผู้ฟังสามารถฟังการอ่านหนังสือเสียงโดยการโทรไปที่โทรศัพท์หมายเลข ๐-๒๒๐๓-๙๑๐๐ ระบบจะจัดให้ผู้ฟังสามารถเลือกฟังหนังสือใดๆ ในระบบ [Assistive Technology] |
Books and reading | หนังสือและการอ่าน [TU Subject Heading] |
Lipreading | การอ่านริมฝีปาก [TU Subject Heading] |
Newspaper reading | การอ่านหนังสือพิมพ์ [TU Subject Heading] |
Oral interpretation of poetry | การอ่านทำนองเสนาะ [TU Subject Heading] |
Oral reading | การอ่านออกเสียง [TU Subject Heading] |
Reading | การอ่าน [TU Subject Heading] |
Reading (Early childhood) | การอ่าน (วัยเด็กตอนต้น) [TU Subject Heading] |
Reading (Elementary) | การอ่าน (ประถมศึกษา) [TU Subject Heading] |
Reading (Higher education) | การอ่าน (อุดมศึกษา) [TU Subject Heading] |
Reading (Kindergarten) | การอ่าน (อนุบาล) [TU Subject Heading] |
Reading (Preschool) | การอ่าน (ก่อนวัยเรียน) [TU Subject Heading] |
Reading (Secondary) | การอ่าน (มัธยมศึกษา) [TU Subject Heading] |
Reading comprehension | ความเข้าใจในการอ่าน [TU Subject Heading] |
Reading interests | ความสนใจในการอ่าน [TU Subject Heading] |
Reading promotion | การส่งเสริมการอ่าน [TU Subject Heading] |
Reading readiness | ความพร้อมในการอ่าน [TU Subject Heading] |
Speed reading | การอ่านเร็ว [TU Subject Heading] |
Alexia | อ่านไม่ออก, ความลำบากในการอ่าน, อาการอ่านไม่ได้, การไม่สามารถเข้าใจความหมายของภาษาเขียน [การแพทย์] |
Bibliotherapy | การรักษาด้วยการอ่านหนังสือ;หนังสือบำบัด [การแพทย์] |
Dyslexia | ดีย์สเลกเซีย, ความผิดปกติในการอ่าน [การแพทย์] |
Films, Unknown | ฟิล์มที่ต้องการอ่านค่า [การแพทย์] |
solid state drive (SSD) | เครื่องขับแบบโซลิดสเตต, อุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ล้วน มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับหน่วยความจำแบบแฟลช ไม่ได้ใช้จานแม่เหล็กในการเก็บข้อมูล จึงไม่มีชิ้นส่วนที่ต้องเคลื่อนไหวในขณะบันทึกหรืออ่านข้อมูลเหมือนกับฮาร์ดดิสก์ ทำให้ประหยัดไฟกว่า การอ่านหรือบันทึกทำได้รว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การอ่าน | [kān ān] (n) EN: reading FR: lecture [ f ] |
การอ่านคำพิพากษา | [kān ān khamphiphāksā] (n, exp) FR: lecture du verdict [ f ] |
การอ่านลายมือ | [kān ān lāimeū] (n, exp) EN: palmistry FR: chiromancie [ f ] |
การอ่านหนังสือ | [kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading FR: lecture [ f ] |
การอ่านตามความนิยม | [kān ān tām khwām niyom] (n, exp) EN: modern pronunciation FR: prononciation moderne [ f ] |
การอ่านตามหลัก | [kān ān tām lak] (n, exp) FR: prononciation ancienne [ f ] ; prononciation traditionnelle [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
dyslacxia | (n) โรคดิสเล็กเซีย คือ ความบกพร่องในการอ่าน มีปัญหาในการอ่าน อ่านได้บ้างไม่ได้บ้าง อ่านไม่คล่อง สะกดคำติดขัด ผสมคำไม่ได้ หรืออ่านไม่ได้เลย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเส้นประสาท |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
alexia | (n) การสูญเสียความสามารถในการอ่าน, Syn. word blindness |
browse | (n) การอ่านคร่าวๆ, Syn. skim |
erudition | (n) ความรู้ (ที่ได้จากการเรียนและการอ่าน), Syn. education, knowledge, scholarship |
illiteracy | (n) การไม่รู้หนังสือ, See also: การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้, Syn. ignorance |
learning | (n) ความรู้ที่ได้มาจากการอ่านหรือการศึกษา, See also: ความรู้, Syn. knowledge, information |
literacy | (n) ความสามารถในการอ่านและเขียน |
phonics | (n) วิชาการอ่านออกเสียงและการสะกดคำศัพท์ |
read | (adj) ซึ่งมีความรู้จากการอ่าน, See also: ซึ่งอ่านหนังสือมามาก |
readable | (adj) ซึ่งสามารถอ่านได้, See also: ง่ายต่อการอ่าน, อ่านง่าย, Syn. clear, legible |
reader | (n) หนังสือฝึกการอ่าน, Syn. schoolbook, textbook |
reading | (adj) ซึ่งใช้ในการอ่าน |
reading | (n) การอ่าน |
reading age | (n) ความสามารถในการอ่านของบุคคล |
recital | (n) การท่อง, See also: การอ่านออกเสียง |
read in | (phrv) เข้าใจ (ด้วยการอ่านหรือค้นคว้า) |
well-read | (adj) ซึ่งมีความรู้มากและถี่ถ้วนจากการอ่าน, Syn. erudite, knowledgeable |
Hope Dictionary
bar code optical scanner | เครื่องกราดตรวจรหัสแท่งด้วยแสง <คำแปล>เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะคล้ายปากกาแสง (light pen) ใช้ฉายแสงลงไปที่รหัสแท่งที่ต้องการอ่าน เครื่องจะรายงานบนจอภาพในขณะเดียวกันก็ส่งข้อมูลนั้นไปบันทึกในหน่วยความจำ การทำงานจะอยุ่ในราว 100 ตัวอักษรต่อวินาที หรืออาจเร็วกว่านั้น |
begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
boot | (บูท) { booted, booting, boots } n. รองเท้าหุ้มข้อเท้า, รองเท้าบู๊ท, เครื่องหุ้มคล้ายปลอก, ฝาครอบป้องกัน, ปลอกหุ้มเบาะ, โครงรถ, เครื่องรัดทรมานข้อเท้า, การเตะ, การถีบ, การปลดออก vt. สวมรองเท้าบู๊ท, เตะ, ถีบ เริ่มต้นใหม่เริ่มเครื่องใหม่หมายถึง การเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เริ่มต้นทำงาน (ว่ากันว่า คำ "boot" นี้ มาจากคำว่า "bootstrap" เบื้องหลังการใช้คำ ๆ นี้ อยู่ที่การขู่ว่า ถ้าไม่ทำงานแล้วละก็ โดนรองเท้าบู๊ตแน่ ๆ เลย) การเริ่มเครื่องใหม่นั้น โดยปกติ เมื่อกดสวิตช์เปิดแล้ว คอมพิวเตอร์จะเริ่มต้นทำงานด้วยการอ่านจานบันทึกในหน่วยบันทึก A: ถ้าในหน่วยบันทึก A: ไม่มีจานบันทึก ก็จะไปอ่านจานบันทึก C: (จะไม่สนใจหน่วยบันทึก B: เลย) ถ้ามีจานบันทึกใน A: จานบันทึกนั้นจะต้องมีคำสั่งระบบ (แฟ้มข้อมูล command.com) อยู่ คอมพิวเตอร์จึงจะเริ่มต้นทำงานต่อไปได้ ถ้าจานบันทึกใน A: ไม่มีคำสั่งระบบ จะมีรายงานบนจอภาพว่าเป็น "non-system disk" ในกรณีเช่นนี้ต้องเปลี่ยน แผ่น A: หรือดึงแผ่น A: ออก แล้วเริ่มต้นใหม่จาก หน่วยบันทึก C: (ถ้ามี) อนึ่ง การเริ่มเครื่องใหม่นั้น ทำได้ 2 วิธี วิธีแรกเริ่มด้วยการเปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ได้อธิบายแล้ว เรียกว่า "cold boot" อีกวิธีหนึ่งที่ใช้เมื่อมีการเปิดเครื่องอยู่ก่อนแล้ว แต่ต้องการเริ่มเครื่องใหม่ หรือเครื่องเกิดขัดข้องหรือค้าง (hang) ให้ กดแป้น CTRL +ALT +DEL เรียกว่า "warm boot" |
bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
card reader | เครื่องอ่านบัตรหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้การอ่านรูที่เจาะในบัตรแล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านั้นทำได้ด้วยการใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นส่งเข้าไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อนำไปประมวลผลต่อไป |
cd-rom drive | หน่วยขับซีดีรอมหมายถึง หน่วยบันทึกที่ใช้อ่านจานบันทึกอัดแน่น หรือซีดี ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากมีหน่วยบันทึกที่สามารถอ่านข้อมูลจากสื่อชนิดนี้ได้ แต่ยังคงบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้ ต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ความเร็วในการอ่านค่อนข้างสูงจนดูภาพเคลื่อนไหวได้ดีเหมือนดูภาพยนตร์ ในปัจจุบัน จานซีดีกำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทุกที ทำให้ราคาถูกลงมาก คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจึงมักจะมีหน่วยบันทึกชนิดนี้ติดตั้งไว้ด้วย |
character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) |
cim | (ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย |
collation | (โคเล'เชิน) n. การตรวจเทียบ, อาหารว่าง, การอ่านเรื่องนักบุญให้ฟังกัน, Syn. snack |
computer input from micro | ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
ibg | (ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |
image scanner | เครื่องตรวจภาพอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านภาพหรือข้อความแล้วนำเข้าไปเก็บเป็น "ภาพ " ในหน่วยความจำ เพื่อนำมาใช้ในการประมวลผลต่อไป ดู scanner ประกอบ |
immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access |
interblock gap | ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |
interrecord gap | ช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ |
intonation | (อินโทเน'เชิน) n. ลักษณะหรือท่วงทำนองเสียง, เสียงสูงต่ำ, การอ่านหรือออกเสียง สูงต่ำ, การเปล่งเสียงเฉพาะ., See also: intonational adj. |
irg | (ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ |
magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
main memory | หน่วยความจำหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storage |
main storage | หน่วยเก็บหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main memory |
micr | (เอ็มไอซีอาร์) ย่อมาจาก magnetic ink character reader แปลว่าเครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก การอ่านนี้จะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้นพิมพ์ หมึกที่ใช้ต้องมีลักษณะพิเศษ เช่นเป็นแม่เหล็ก ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น |
ocr | abbr. optical character recognition, optical character reader (แปลตรง ๆ ได้ว่า เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น |
odd even check | การตรวจสอบภาวะคู่หรือคี่หมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจสอบแต่ละหน่วยข้อมูลไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) หรือเป็นคำ (word) ว่ามีจำนวนบิต (bit) ที่เป็น 1 เป็นจำนวนคู่หรือคี่ โดยการเพิ่มหนึ่งบิตที่เรียกว่า บิตเสริม (parity bit) เข้าที่ท้ายหรือต้นข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้จำนวนบิตที่เป็น 1 เป็นเลขคี่หรือคู่เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน, บันทึก, หรือถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริมก็จะถูกนำมาคำนวณและเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากันก็แปลว่าการอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้อ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน parity check |
omr | โอเอ็มอาร์ย่อมาจาก optical mark reader หรือที่แปลว่า เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสง หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ |
optical character reecogn | การรับรู้อักขระด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OCR (อ่านว่า โอซีอาร์) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น |
optical mark reader | เครื่องอ่านสัญลักษณ์ด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OMR (อ่านว่า โอเอ็มอาร์) หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านตัวพิมพ์ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ด้วยแสง นิยมใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) หรือตรวจข้อสอบแบบมีตัวเลือก (multiple choices) ฯ |
paper tape | แถบกระดาษเทปกระดาษเป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกของคอมพิวเตอร์เมนเฟรมในสมัยแรก ๆ โดยทั่วไป แถบกระดาษที่เคยนิยมใช้มีขนาดกว้าง 0.75 ถึง 1 นิ้ว แถบกระดาษม้วนหนึ่ง ๆ ยาว 30 - 1000 ฟุต ม้วนอยู่บนล้อวงกลม ลักษณะการบันทึก ใช้วิธีการเจาะเป็นรูกลม ๆ มีความจุประมาณ 10 ล้านตัวอักขระต่อเทป 1 นิ้ว ปัจจุบัน ไม่มีใครรู้จักแล้ว เพราะแก้ไขยาก ใช้ซ้ำไม่ได้เลย ทำให้สิ้นเปลืองมาก ในการอ่านข้อมูลบนแถบกระดาษ ใช้เครื่องอ่านแถบกระดาษ เรียกว่า paper tape reader ในการบันทึก ใช้เครื่องเจาะแถบกระดาษ ซึ่งเรียกว่า paper tape punch ซึ่งจะทำงานเมื่อได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง สามารถเจาะได้ประมาณ 10 - 150 แถวต่อวินาที |
paper tape reader | เครื่องอ่านแถบกระดาษเครื่องอ่านเทปกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการอ่านรูที่เจาะบนแถบกระดาษ แล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านี้ ทำได้โดยใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหารประมวลผลต่อไปดู paper tape ประกอบ |
parity check | การตรวจสอบภาวะเสริมหมายถึง วิธีการตรวจสอบโดยการตรวจแต่ละหน่วยข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นไบต์ (byte) คำ (word) ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ เป็นการตรวจสอบความเคลื่อนคลาดในการอ่าน บันทึก หรือ ถ่ายโอนข้อมูลนั้น ๆ โดยปกติ พออ่านข้อมูลเข้าไปหน่วยหนึ่ง บิตเสริม (parity bit) ก็จะถูกนำมาคำนวณแล้วเปรียบเทียบกับบิตเสริมที่เก็บไว้แล้ว หากมีค่าเท่ากัน ก็แปลว่า การอ่านข้อมูลเข้าไปถูกต้อง มิฉะนั้น อาจต้องให้มีการอ่านซ้ำอีกครั้งหนึ่งมีความหมายเหมือน odd even check |
perusal | (พะรู'เซิล) n. การอ่าน, การอ่านตรวจ. |
primary storage | หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storageดู secondary storage เปรียบเทียบprint : พิมพ์หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ประมวลผลได้จากคอมพิวเตอร์ลงบนกระดาษ หรือแผ่นใส ฯ กับใช้เป็นรายการคำสั่งในโปรแกรมสำเร็จหลายโปรแกรม ที่จะให้คอมพิวเตอร์ทำการดังกล่าว ซึ่งมักจะมีคำถามตามมาอีกหลายคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เป็นต้นว่า พิมพ์กี่ชุด พิมพ์หน้าไหนบ้าง ขยายหรือย่อขนาดกี่เปอร์เซ็นต์ ฯ รวมทั้งเป็นคำสั่งในโปรแกรมในภาษาต่าง ๆ เกือบทุกภาษาด้วย |
reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret |
recitation | (เรสซิเท'เ?ิน) n. การเล่นดนตรีเดี่ยว, การท่อง, การท่องให้ครูฟัง, บทเรียนท่องจำ, การบรรยายในห้องเรียน, การอ่านออกเสียง |
scanner | เครื่องกราดตรวจเครื่องกราดภาพตัวกราดตรวจตัวกราดภาพหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้สำหรับนำข้อความหรือภาพเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำได้ ด้วยวิธีการกราดแสงผ่าน คอมพิวเตอร์สามารถนำข้อมูลที่ส่งเข้าไปนั้นมาแก้ไข ปรับแต่ง เพิ่มเติม จัดเก็บและแสดงผลออกมาได้ทั้งทางจอภาพและเครื่องพิมพ์ แต่เดิม เมื่อใช้เครื่องจับภาพอ่านข้อมูลที่เป็นเอกสารเข้าไป คอมพิวเตอร์จะนำไปเก็บในลักษณะของภาพ (image) กล่าวคือไม่สามารถนำข้อความนั้นมาแก้ไขได้ แต่ในปัจจุบัน การพัฒนาได้ก้าวไปไกล ถึงการที่สามารถแปลงตัวอักษรที่เป็นภาพ ให้มีลักษณะเป็นเอกสารที่นำมาแก้ไขตัวสะกดได้ โดยนำมาทำในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เครื่องกราดภาพที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 แบบคือ แบบระนาบ (flatbed) กับแบบมือถือ (handheld) เช่น แบบที่ใช้ในการอ่านรหัสแท่ง (bar code) ใช้ตามร้านสรรพสินค้า |
serial processing | การประมวลผลแบบลำดับหมายถึง การอ่าน ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ไปทีละแฟ้มข้อมูล โดยเรียงไปตามลำดับของแฟ้มที่เก็บไว้ ตรงข้ามกับการประมวลผลแบบขนาน (pararell processing) ดู pararell processing เปรียบเทียบ |
system disk | จานบันทึกระบบหมายถึง จานบันทึกที่บรรจุระบบปฏิบัติการ (ถ้าเป็นพีซี ก็หมายถึง MS DOS) สามารถนำมาใช้เริ่มเครื่องใหม่ได้ (boot) โดยใส่ในหน่วยบันทึก A : จานบันทึกระบบต้องมีโปรแกรม 3 โปรแกรม เป็นอย่างน้อย คือ lo.sys, Msdos.sys และ Command.com สองแฟ้มแรกจะถูกซ่อนอยู่ (hidden files) แม้ว่าจะใช้คำสั่ง Dir ก็จะไม่แสดงบนจอภาพโปรแกรม lo.Sys จะดูแลในเรื่องการนำข้อมูลเข้า และการแสดงผล ส่วน MSDOS.sys จะจัดการเกี่ยวกับเรื่องการอ่านและการบันทึกข้อมูลลงในแผ่นจานบันทุกนั้น ส่วน Command.com ก็จะมีคำสั่งพื้นฐานต่าง ๆ เช่น dir, copy, delete จานบันทึกระบบนี้มีความสำคัญมาก (โดยเฉพาะเครื่องที่ไม่มีฮาร์ดดิสก์) ถ้าไม่มีจานบันทึกนี้จะเริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้เลย ถ้ามีฮาร์ดดิสก์ อาจใช้ฮาร์ดดิสก์เป็นจานบันทึกระบบเลยก็ได้ |
tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) |
tape unit | หน่วยแถบบันทึกหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) หรือบันทึกข้อมูลลงบนแถบบันทึก การอ่านข้อมูลจากเทปนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง แต่การบันทึกจะสามารถทำได้โดยเดินเทปไปข้างหน้าเพียงทิศทางเดียวเท่านั้น หน่วยขับเทปหรือแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสูญญากาศมีความหมายเหมือนกับ tape driveดู tape ประกอบ |
well-read | (เวล'เรด) adj. อ่านหนังสือมาก, ู้ดีจากการอ่าน |
Nontri Dictionary
coding | (n) การถอดรหัส, การอ่านรหัส |
elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง |
enunciation | (n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย |
perusal | (n) การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ |
reading | (n) การอ่าน, หนังสือสำหรับอ่าน |
recitation | (n) การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Dyslexia | (n) ความบกพร่องในการอ่าน หรือ ความบกพร่องในด้านการเรียนรู้ |
rying | [ไร'อิง] (n) การอ่าน |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
今日は | [こんにちは, konnichiwa, konnichiha , konnichiwa] สวัสดี (ใช้ได้โดยทั่วไป แต่ความหมายเฉพาะคือสวัสดีตอนสายถึงช่วงใกล้เวลาเย็น มักมีการอ่านผิดโดยสะกดตรงตัวเป็น konnichiha) |
Longdo Approved DE-TH
faulenzen | (vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.1544 seconds, cache age: 2.497 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม