เลข แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


130 ผลลัพธ์ สำหรับ เลข
ภาษา
หรือค้นหา: -เลข-, *เลข*

มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข(n) Numerical Method
รูปทรงเลขาคณิต[รูบ-ซง-เล-ขา-คะ-นิด] (n, adj, uniq) Geometric shapes

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เลข(n) mathematics, See also: maths, Syn. คณิต, คณิตศาสตร์, วิชาเลข, วิชาคณิตศาสตร์, Example: เด็กผู้ชายส่วนใหญ่มักชอบเรียนเลขมากกว่าวิชาอื่นๆ, Thai Definition: วิชาเกี่ยวกับการคำนวณ
เลข(n) number, See also: numeral, digit, figure, integer, Syn. ตัวเลข, Example: ชาวตะวันตกไม่ชอบเลข 13 เพราะเป็นเลขที่นำความโชคร้ายมาให้, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง
เลข(n) writing, See also: drawing, design, pattern, Syn. ลาย, รอยเขียน, การเขียน, Example: พระองค์ทรงมีพระราชหัตถเลขาเพื่อชมเชยความเอาใจใส่ของนายกรัฐมนตรี
เลข(n) secretary, See also: lady secretary, Syn. เลขานุการ, เลขานุการิณี, Example: พวกนักธุรกิจดังๆ มักจะมีเลขาสาวสวยส่วนตัวกันทุกคน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหนังสือตามที่ผู้ใหญ่สั่ง
เลขกล(n) magic number
เลขคี่(n) odd number, Ant. เลขคู่, Example: ในวันจันทร์รถที่มีทะเบียนเป็นเลขคี่เท่านั้นที่ออกวิ่งบนถนนได้, Thai Definition: จำนวนที่หารด้วย 2 ไม่ลงตัว
เลขคู่(n) even number, Ant. เลขคี่, Example: ในงานบุญจะนิยมนิมนต์พระสงฆ์เป็นเลขคู่มากกว่าเลขคี่, Thai Definition: จำนวนที่หารด้วย 2 ลงตัว
เลขโดด(n) digit, Thai Definition: ตัวเลขหลักมูล
เลขคณิต(n) arithmetic, Syn. วิชาเลขคณิต, Example: ตรองทำแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ขณะที่ดวงดอมทำเลขคณิต, Thai Definition: สาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับเซตจำนวนจริง ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์
เลขท้าย(n) end number, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ตัวเลขที่อยู่หลังสุด

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เลข(เลก) น. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง
เลขวิชาคำนวณ.
เลขกะ(เลขะกะ) น. ผู้เขียน, เสมียน.
เลขคณิตน. วิชาเกี่ยวกับเซตจำนวนจริงทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์.
เลขจำนวนน. ตัวเลข. (ดู ตัวเลข ที่ ตัว ๒).
เลขชี้กำลังน. จำนวนเต็มหรือจำนวนตรรกยะที่ใช้ยกกำลังจำนวนจริง เช่น ๗๓ มี ๓ เป็นเลขชี้กำลัง.
เลขนะ(เลขะนะ) น. รอยเขียน, ตัวอักษร, ลวดลาย.
เลขผา, เลขผานาทีน. เลข (โดยมากใช้ในทางโหราศาสตร์).
เลขยะ(เลขะยะ) น. การเขียน.
เลขยันต์น. ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
Grashof numberเลขกราสโฮฟ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
arithmeticเลขคณิต [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
fixed point arithmeticเลขคณิตจุดตรึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
binary arithmeticเลขคณิตฐานสอง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
modular arithmeticเลขคณิตมอดุลาร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
exponentเลขชี้กำลัง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
exponentเลขชี้กำลัง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
cetane numberเลขซีเทน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
cetane numberเลขซีเทน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
base numberเลขฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
International Standard Book Numberเลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา]
Accession numberเลขทะเบียน [เทคโนโลยีการศึกษา]
Call numberเลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Accession numberเลขทะเบียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Author numberเลขผู้แต่ง, Example: <p>เลขผู้แต่ง หรือ เลขหนังสือ (Book number) หมายถึง สัญลักษณ์ประจำตัวทรัพยากรสารสนเทศ ใช้เลขประตัวผู้แต่งหรือผู้รับผิดชอบเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละชื่อเรื่องนั้น เลขผู้แต่ง ประกอบด้วย อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ซึ่งเลขประจำตัวชื่อผู้แต่งนั้น ได้มีการกำหนดเป็นตารางเลขสำเร็จรูปไว้แล้ว <p>กรณีที่ทรัพยากรสารสนเทศไม่มีชื่อผู้รับผิดชอบ จะลงรายการหลักด้วยชื่อเรื่อง ซึ่งประกอบด้วยอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องและเลขประจำอักษรตัวถัดของชื่อเรื่อง นอกจากนี้ อาจจะมีสัญลักษณ์ที่ระบุถึงเล่มที่ ฉบับที่ ตอนที่ ปีพิมพ์ เพิ่มขึ้นมาอีกด้วย <p>ส่วนตารางเลขผู้แต่งภาษาต่างประเทศนั้น ใช้ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น (Cutter-Sanborn Table) ซึ่งเป็นคัตเตอร์ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ส่วนสำหรับเลขผู้แต่งชาวไทย จะมีตารางเลขผู้แต่งชาวไทยของหอสมุดแห่งชาติ <p>ตัวอย่าง ตารางเลขผู้แต่งคัตเตอร์-แซนบอร์น <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110228-Cutter.JPG" width="640" height="200" alt="Cutter"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Call numberเลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Book numberเลขหนังสือ, Example: <p> Book number หมายถึง เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่งหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเลขเรียกหนังสือ (Call number) ประกอบด้วยเลขหมู่หนังสือ (Class number) และเลขหนังสือ โดยเลขหนังสือจะเป็นส่วนท้ายของเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือนี้ประกอบด้วยตัวอักษรจากชื่อผู้แต่งกับตัวเลขจำนวนหนึ่ง และบางครั้งรวมทั้งตัวอักษรซึ่งได้มาจากชื่อหนังสือด้วย เลขหนังสือมีประโยชน์ คือ ทำให้เลขเรียกหนังสือของหนังสือแต่ละเล่มมีความแตกต่างกัน และสามารถจัดเรียงตามลำดับบนชั้นได้ไม่ซ้ำกัน <p> ในต่างประเทศได้จัดทำเลขผู้แต่งหนังสือมานานแล้ว โดยเริ่มจาก ชาร์ล เอ คัตเตอร์ (Charle A Cutter) ได้จัดทำ Cutter’s Two Figure Author Table ขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ต่อมาเคท อี. แซนบอร์น (Kate E. Sanborn) ได้จัดทำ Three Figure Table ขึ้นจากคำแนะนำของคัตเตอร์ โดยใช้ชื่อว่า Cutter-Sanborn Three Figure Author Table ดังนั้น จึงนิยมเรียกตารางเลขผู้แต่งที่แซนบอร์น คิดขึ้นนี้ว่า Cutter-Sanborn Table และใช้เป็นพื้นฐานสำหรับเลขผู้แต่งสมัยปัจจุบัน <p> ในประเทศไทยหอสมุดแห่งชาติได้นำแนวคิดจากตารางเลขผู้แต่ง Cutter-Sanborn Three Figure Author Table มาพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และเผยแพร่ไปยังห้องสมุดต่างๆ อย่างแพร่หลาย จนในปี พ.ศ. 2528 หอสมุดแห่งชาติ จึงได้จัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการใช้ชื่อว่า ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป (Thai Author Table) จากนั้นได้จัดพิมพ์เผยแพร่อีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531, 2538 และ 2547 ตารางเลขผู้แต่งของหอสมุดแห่งชาติ ได้รับความนิยมแพร่หลาย เนื่องจากเป็นคู่มือที่มีการกำหนดเลขไว้แน่นอน เรียงชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรม โดยกำหนดเลข 3 หลักควบคู่กับชื่อผู้แต่ง นับเป็นคู่มือที่ให้ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงานมาก เมื่อเทียบกับการกำหนดเลขผู้แต่งโดยการบวกตัวเลขระหว่างตัวอักษรและสระประจำตัวผู้แต่ง <p> นอกจากนี้ยังมีเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยอื่น ๆ ที่ห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาขึ้นใช้เอง ได้แก่ <p> 1) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของหอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p> 2) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของ หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p> 3) เลขผู้แต่งภาษาไทยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม <p> เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยของหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 แล้ว <p> โดยทั่วไปเลขหนังสือประกอบด้วย เลขผู้แต่ง In general, book number = author number + title (or work) mark + edition mark + date of publication + volume number + copy number + anything else library policy dictates ตัวอย่างการให้เลขหนังสือ <p> หนังสือเล่มหนึ่ง เมื่อจัดหมวดหมู่ในระบบ LC (ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน) ได้เลขเรียกหนังสือ ดังนี้ <p> BF 408 เลขหมู่หนังสือ (Class Number) <p> ว716 เลขหนังสือ (Book number) <p> เมื่อหนังสือมีเลขหมู่หนังสือซ้ำกัน เลขหนังสือจะช่วยจัดลำดับหนังสือที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันบนชั้นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น มีหนังสือที่มีเลขหมู่เดียวกันบนชั้น 5 เล่ม แต่มีผู้แต่งต่างกัน เมื่อจัดวางหนังสือบนชั้น จะนำมาจัดเรียงได้ ดังนี้ <p> BF 408 BF 408 BF 408 BF 408 BF <p> ว 716 ว 447 ส 282 อ 113 อ 459 <p>ในกรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือของผู้แต่งคนเดียวกันที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันและมีอยู่บนชั้นหลายเล่ม เกิดปัญหาในการจัดวางหนังสือบนชั้น จะใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องต่อท้ายเลขหนังสือ เช่น <p> BF 408 BF 408 ดังนั้น จึงทำให้หนังสือสองเล่มนี้มีตำแหน่งที่วางโดยเฉพาะบนชั้นหนังสือ <p> อ 968 ค อ 968 จ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Book Numberเลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : [email protected] 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number">&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
International Standard Serial Numberเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Addressเลขที่อยู่, Example: เลขที่อยู่ประจำส่วนต่างๆ ตามแต่จะกำหนด เช่น เลขที่อยู่หน่วยความจำหมายถึงเลขที่อยู่ของที่เก็บข้อมูลในหน่วยความจำซึ่งโดยปกติก็คือ เลขที่อยู่ประจำแต่ละไบต์ ทั้งนี้เพราะไบต์เป็นหน่วยความจำที่เล็กที่สุดที่สามารถอ้างถึงหรือระบุได้ [คอมพิวเตอร์]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
No. เลขที่ 47 Ronin (2013)
This is Nicki, Rachel's sister and personal secretary. นี่นิคกี้พี่สาว กับเป็นเลขาส่วนตัวราเชล The Bodyguard (1992)
I don't give no interviews. [ หมายเลข 2: จินดูวุค ] Hero (1992)
Maybe the guy's not all bad. (หมายเลขที่ท่านเรียกไม่สามารถติดต่อได้ในขณะนี้) Hero (1992)
Yeah, vehicle 58. ครับ, รถเลขที่ 58 ครับ. Ghost in the Shell (1995)
Virtual reality will grow... just as the telegraph grew to the telephone. โลกเสมือนกำลังเติบโต เหมือนที่โทรเลขพัฒนาเป็นโทรศัพท์ The Lawnmower Man (1992)
This number 12? บ้านเลขที่ 12 รึเปล่าครับ? The Cement Garden (1993)
Oh, extra maths. เอ่อ มีติวเลขครับ The Cement Garden (1993)
- A telegram. - โทรเลข Cool Runnings (1993)
Fillimore Road. It's number 60... something... ถนน Fillimore It 's 60 หมายเลข ... In the Name of the Father (1993)
Call number one. หมายเลขโทรหนึ่ง In the Name of the Father (1993)
It's just, I was never very good at math. คือว่าฉันไม่ค่อยจะเก่งเรื่องตัวเลขเท่าไหร่ The Joy Luck Club (1993)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เลข[lēk] (n) EN: number ; numeral ; digit ; figure ; integer  FR: numéro [ m ] ; chiffre [ m ] ; nombre [ m ]
เลข 0[lēk sūn] (n, exp) FR: chiffre 0 [ m ]
เลขกล[lēk kon] (n, exp) EN: magic number  FR: nombre magique [ m ]
เลขกำลัง[lēk kamlang] (n, exp) EN: powers
เลขคณิต[lēkkhanit] (n) EN: arithmetic  FR: arithmétique [ f ]
เลขคี่[lēk khī] (n, exp) EN: odd number  FR: nombre impair [ m ] ; numéro pair [ m ]
เลขคู่[lēk khū] (n, exp) EN: even number  FR: nombre pair [ m ] ; numéro pair [ m ]
เลขจำนวน[lēkjamnūan] (n) EN: number  FR: nombre [ m ]
เลขจำนวนเต็ม[lēk jamnūantem] (n, exp) EN: integer  FR: nombre entier [ m ]
เลขชี้กำลัง[lēkchīkamlang] (n) EN: exponent ; index ; exponential notation  FR: exposant [ m ]

Longdo Approved EN-TH
memory stick(n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory
PDA(n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC
oxidizing agent(n) ตัวเติมออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ได้รับอิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันลดลง, See also: A. reducing agent
reducing agent(n) ตัวลดออกซิเจน(ในปฺฏิกิริยาที่มีออกซิเจนเกี่ยวข้อง), สารในปฏิกิริยารีดอกซ์ที่ให้อิเล็กตรอนและตัวมันเองมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น, See also: A. oxidizing agent
sevenishราวๆหนึ่งทุ่ม เช่น I'll call for you at sevenish. ฉันจะแวะไปรับเธอช่วงหนึ่งทุ่ม (การเติม -ish ตามหลังตัวเลขบอกเวลา หมายความว่า โดยประมาณ, ราวๆเวลานั้น), Syn. about 7 o'clock
article number(n) รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
umpteenth(adj) จำนวนมาก (แต่ไม่ได้บอกตัวเลขเจาะจง)เช่น AsiaNews interviewed the wife of one of them: the story of the umpteenth victim of this unjust law features years of threats by Islamic fundamentalists.; I woke up around 4am for an umpteenth potty trip and then couldn't get back to sleep. So I ended up getting up around 5:30 and eating a piece of cake.
RWY(abbrev) อักษรย่อของ runway ทางวิ่งของเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วจะมีตัวเลข 2 หลักแสดงต่อทางด้านหลังเพื่อแสดงทิศที่มุ่งไป, See also: TWY
DEM(n) แบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Digital Elevation Model (DEM) โดยทำการจัดสร้างขึ้นจากข้อมูลพื้นฐานประกอบด้วยค่าพิกัด X, Y และ Z ของจุดตัวอย่าง ซึ่งในทางทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นิยมนำเข้าข้อมูลเส้นชั้นความสูง ยอดเขา และหลุมยุบ มาใช้ในการจัดสร้างแบบจำลองภูมิประเทศเฃิงเลขในรูปของข้อมูลเฃิงภาพหรือข้อมูลเชิงเส้น
telegraphic transfer(n) การโอนเงินโดยทางโทรเลข เช่น When you wish to make a payment from your account whether by Telegraphic Transfer or by Currency Draft you will need to visit an Abbey branch., Syn. wire transfer

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
amanuensis(n) เลขานุการ, Syn. secretary
call number(n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด
D(n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน
d(n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน
decimal(n) เลขทศนิยม, Syn. decimal number
divisor(n) ตัวหาร, See also: เลขหาร, Syn. coefficient, dividend, aliquot
eight(n) เลขแปด, See also: จำนวนแปด, แปด
eighteen(n) จำนวนสิบแปด, See also: เลขสิบแปด, สิบแปด
eighty(n) เลขแปดสิบ, See also: แปดสิบ, จำนวนแปดสิบ
eleven(n) เลขสิบเอ็ด, See also: จำนวนสิบเอ็ด

Hope Dictionary
a(เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ
addend(แอด' เดนดฺ) n. เลขหรือจำนวนที่บวกเข้าด้วยกัน
adding machineเครื่องบวกเลข
aegir(อี' เจอะ) n. ชื่อเทพเจ้าทะเลของกรีก
aerogram(me) (แอ' โรแกรม) n. จดหมายทางอากาศ, โทรเลขทางอากาศ
albatross(แอล' บะทรอส. -โทรส) นกทะเลขนาดใหญ่ที่สุดจำพวก Diomedeidae
algorism(แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj.
alphabetic characterตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร เช่น A-Z หรือ ก-ฮ (ไม่รวมตัวเลข หรือหรือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายพิเศษต่าง ๆ) มีความหมายเหมือน alphabet
alphamericอักขระที่เป็นตัวเลขอักษรเลขหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข
alphanumeric charactersหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข

Nontri Dictionary
autocoder(n) เครื่องคิดเลขอัตโนมัติ, เครื่องเรียงเลขอัตโนมัติ
binary(n) สอง, เลขคู่, คู่
cable(n) สายโทรเลขข้ามทะเล, สายเคเบิล, เชือกพวน
cable(vt) ส่งโทรเลขข้ามทะเล, มัดด้วยเชือก
cablegram(n) โทรเลขข้ามทะเล
calculate(vt) คิดเลข, คำนวณ, คาดคะเน
calculation(n) การคำนวณ, การคิดเลข, การคาดคะเน
calculator(n) เครื่องคำนวณ, เครื่องคิดเลข
chancellor(n) อธิการบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, เลขานุการสถานทูตน
cipher(vt) คิดเลข, ทำเป็นรหัส, เขียนเป็นรหัส

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
citizen identity number(n) เลขประจำตัวประชาชน, Syn. people identity number
double figures(n) เลขสองหลัก
geschäftsnummer(n) เลขที่อ้างอิง
indices(n) เลขยกกำลัง, Syn. power numbers
the Cabinet Secretary-Generalเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

Longdo Approved JP-TH
偶数[ぐうすう, guusuu] (n) เลขคู่, Ant. 奇数
奇数[きすう, kisuu] (n) เลขคี่, Ant. 偶数
小数[しょうすう, shousuu] (n) เลขทศนิยม, See also: 有限小数, 循環小数
幹事長[かんじちょう, kanjichou] (n) เลขาธิการ(พรรคการเมือง)
暗証番号[あんしょうばんごう, anshoubangou] (n) เลขรหัสผ่าน, เลข P.I.N
秘書[ひしょ, hisho] (vt) เลขานุการ

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
進数[しんすう, shinsuu] เลขฐาน เช่น เลขฐานสิบ 10進数 じゅうしんすう<br> เลขฐานสอง 2進数 にしんすう 
追番[おいばん, oiban] (n) เลขเรียงลำดับ
文書番号[ぶんしょばんごう, bunshobangou] (n) เลขที่หนังสือ

Saikam JP-TH-EN Dictionary
秘書[ひしょ, hisho] TH: เลขานุการที่ช่วยงานผู้บริหาร  EN: (private) secretary

Longdo Approved DE-TH
Zahl(n) |die, pl. Zahlen|จำนวน, ตัวเลข
zahlen(vi, vt) ชำระเงิน, นับ, นับเลข
neunเก้า (เลข)
sechsหก (เลข)
Zwölf(n) |die, pl. Zwölfen| หมายเลขสิบสอง
Zahl(n) |die, pl. Zahlen| ตัวเลข, See also: Ziffer
Elf(n) |die, pl. Elfen| หมายเลขสิบเอ็ด หรือถ้าเป็นเอกพจน์หมายถึงทีมฟุตบอล หรือนักฟุตบอลหมายเลขสิบเอ็ด
unterbelichtet(adj, slang) ไม่ถนัด หรือ ไม่เก่ง ตัวอย่างการใช้คำ In Mathe bin ich unterbelichtet. = ผมไม่ถนัดวิชาเลข
Potenzzahl(n) |die, pl. Potenzzahlen| เลขยกกำลัง, See also: A. Die Wurzelzahl
Wurzelzahl(n) |die, pl. Wurzelzahlen| เลขราก, See also: A. die Potenzzahl

Longdo Approved FR-TH
RIB(n, abbrev) (relevé d'identité bancaire) ใบแสดงรายละเอียดเกี่ยวับบัญชีธนาคาร มีระบุหมายเลขบัญชี ชื่อผู้เปิดบัญชี หมายเลขสาขา เป็นต้น เช่น Vous recevrez un fax de confirmation d’ouverture avec un RIB (Relevé d’Identité Bancaire)., Depuis les années 1970, c'est le R.I.B. (Relevé d'Identité Bancaire) qui a été utilisé pour traiter les opérations bancaires domestiques.

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 0.465 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม