167 ผลลัพธ์ สำหรับ *เพี้ยน*
ภาษา
หรือค้นหา: เพี้ยน, -เพี้ยน-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
จุงเบย | จังเลย เป็นภาษาวัยรุ่น เพี้ยนมาจาก "จังเลย" บ้างว่าเนื่องมาจาก การพิมพ์บนคอมพิวเตอร์ที่ ไม้หันอากาศ อยู่ใกล้กับ สระอุ และ ล ลิง อยู่ใกล้กับ บ ใบไม้ พิมพ์ผิดบ่อยครั้งเลยกลายเป็นที่ใช้กันพอสมควรในบริบทที่เป็นลักษณะเล่นๆ หรือ เด็กๆ หรือ ทีเล่นทีจริง |
บังกล้อง | [บัง-กล้อง] (n) เป็นชื่อ ที่ เรียกแทน บุคคล ที่ มีคุณสมบัติ คือ กาก เกรียน เพี้ยน หลุดโลก มักชอบทำอะไร เพี้ยนๆ ไม่เหมือนคนอื่น ชอบการ fag เป็นชีวิตจิตใจ คติประจำใจ คือ สเต็ปอยู่ในไต |
เมพขิงๆ | (phrase, slang) มาจากการพิมพ์คำว่า เทพจิงๆ ผิด, ซึ่งเพี้ยนมาจาก เทพจริงๆ อีกที ซึ่งแปลว่า เก่งจริงๆ, เหนือชั้นจริงๆ เป็นภาษาตามสมัยนิยม ใช้กันมากในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ด, เกมออนไลน์ โดยคำว่าเทพในที่นี้ใช้ในความหมายว่า เก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากๆ, เนื่องจากแป้นคีย์บอร์ด ตัว ท กับ ม และ ข กับ จ อยู่ติดกัน |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เพี้ยน | (v) be crazy, See also: be mad, be insane, be out of one's mind, be nuts, be unbalanced, be crazed, be demented, Syn. บ้า, สติไม่ดี, ฟั่นเฟือน, Example: เขาต้องเพี้ยนไปแล้วแน่ๆ ที่จะลาออกจากงานนี้, Thai Definition: มีสติไม่ดีทำอะไรผิดแปลกไปจากคนธรรมดา |
เพี้ยน | (v) slightly distort, Syn. แปลก, ผิดแปลก, Example: สีของจอภาพมันเพี้ยนไปนิดนึง อาจแก้ไขได้, Thai Definition: ผิดแปลกไปจากปกติธรรมดาเล็กน้อย |
เพี้ยน | (adj) odd, See also: weird, strange, queer, eccentric, bizarre, uncommon, Syn. แปลก, บ้า, Example: เธอเอาความคิดแสนเพี้ยนนี้มาจากไหน, Thai Definition: ที่ผิดแปลกไปจากปกติธรรมดา |
เพี้ยน | (adv) with a slight difference, See also: very slightly, Syn. แปร่ง, เหน่อ, Example: แม้พูดภาษาเดียวกันก็ยังพูดเพี้ยนออกไปตามท้องถิ่นอยู่ดี, Thai Definition: อย่างผิดแปลกหรือคลาดเคลื่อนไปเล็กน้อย |
เพี้ยน | (adv) with a slight difference, See also: very slightly, Syn. แปร่ง, เหน่อ, Example: แม้พูดภาษาเดียวกันก็ยังพูดเพี้ยนออกไปตามท้องถิ่นอยู่ดี, Thai Definition: อย่างผิดแปลกหรือคลาดเคลื่อนไปเล็กน้อย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ผัดเพี้ยน | ก. ขอเลื่อนเวลาอยู่เรื่อย ๆ, เพี้ยนผัด ก็ว่า. |
ผิดเพี้ยน | ว. ผิดแปลกไปเล็กน้อย, คลาดเคลื่อน, เพี้ยน ก็ว่า. |
เพี้ยน | ว. ผิดแปลกไปเล็กน้อย เช่น หน้าเพี้ยน, คลาดเคลื่อน เช่น พูดเพี้ยน เสียงเพี้ยน, ผิดเพี้ยน ก็ว่า, โบราณใช้ เพียน ก็มี |
เพี้ยน | ไม่ค่อยปรกติ (มักใช้แก่คน) เช่น เขามีท่าทางเพี้ยน ๆ. |
เพี้ยนผัด | ก. ขอเลื่อนเวลาอยู่เรื่อย ๆ, ผัดเพี้ยน ก็ว่า. |
เสียงเพี้ยน | น. เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย. |
กระเชอก้นรั่ว | ว. สุรุ่ยสุร่าย, ไม่รู้จักเก็บหอมรอมริบ, ขาดการประหยัด, เพี้ยนไปเป็น กระชังก้นรั่ว ก็มี. |
กระวี ๒ | ก. แกว่ง. (เพี้ยนมาจาก คระวี). |
กะหรี่ ๒ | น. โสเภณี (กร่อนมาจากคำว่า ช็อกการี ซึ่งเพี้ยนมาจากคำในภาษาฮินดี chokri ว่า เด็กผู้หญิง). |
กำนัด | (กำหฺนัด) ก. กำหนัด เช่น พิศเพี้ยนพระพนิดาทุกขานลกำนัด ดัดรัตนธารี มาดู (สมุทรโฆษ). |
กุลี ๒ | เพี้ยนมาจาก กลี เช่น เกิดการกุลี (กฎ. ราชบุรี). |
คาหนังคาเขา | ว. จับได้ในขณะที่กำลังกระทำผิดหรือพร้อมกับของกลาง, ใช้เพี้ยนว่า คาหลังคาเขา ก็มี. |
งานหลวงไม่ให้ขาด งานราษฎร์ไม่ให้เสีย | ทำงานไม่บกพร่องทั้งงานส่วนรวมและส่วนตัว, ใช้เพี้ยนว่า งานหลวงไม่ขาด งานราษฎร์ไม่เสีย ก็มี. |
ชัด | ไม่ผิดเพี้ยน, ไม่แปร่ง, เช่น พูดชัด. |
ชั่วเคี้ยวหมากจืด | น. เวลาประมาณ ๒๐-๓๐ นาที (มาจากระยะเวลาในการเคี้ยวหมาก ๑ คำ ตั้งแต่เริ่มเคี้ยวจนหมากจืดหมดคำ จึงคายชานหมากทิ้ง), พูดเพี้ยนเป็น ชั่วเคี้ยวหมากแหลก ก็มี. |
เซี้ยว | ว. ไม่เต็มบาท, บ๊อง ๆ, เพี้ยน ๆ. |
ตบหัวกลางศาลา ขอขมาที่บ้าน | ก. ยอมรับผิดไม่สมกับความผิดที่ทำไว้, ใช้เพี้ยนว่า ตบหัวที่ศาลา ขอขมาที่บ้าน ก็มี. |
ตู่ตัว | ว. เพี้ยนตัว, ไม่ตรง, (ใช้ในการอ่านหนังสือ) เช่น อ่านตู่ตัว ด เป็นตัว ค. |
เตาทุเรียง | น. ชื่อเตาโบราณชนิดหนึ่ง สำหรับเผาเครื่องถ้วยชามและเครื่องกระเบื้องต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัย, (ทุเรียง อาจเพี้ยนมาจากชื่อเมืองเชลียง). |
เถอะ | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถอะ มาเถอะ กินเถอะ, เถิด ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะ ก็มี. |
เถอะน่า | ว. คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถอะน่า, เถิดน่า ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะน่า ก็มี. |
ทองแดง ๓ | น. สำเนียงของคนภาคใต้ที่พูดภาษากลางเพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
นมบกอกพร่อง | น. ลักษณะของหญิงที่ชายทำให้เสียความบริสุทธิ์แล้วทอดทิ้งไป เช่น แลมันทำชู้แล้วมันทอดหญิงนั้นเสีย ท่านว่ามันทำให้ลูกหลานท่านนมบกอกพร่อง ให้ไหมชายผู้เลมิดพ่อแม่ผู้เถ้าผู้แก่นั้นโดยขนาฎ (สามดวง), มักใช้เพี้ยนไปเป็น นมตกอกพร่อง. |
เบียนธาตุ | ก. ทำให้ความหมายของธาตุในภาษาบาลีและสันสกฤตแผกเพี้ยนไปจากเดิมโดยการเติมอุปสรรค เช่น ธาตุ คม แปลว่า ไป เติม อา เบียนธาตุ เป็น อาคม แปลว่า มา. |
แปร่ง | (แปฺร่ง) ว. มีเสียงพูดผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ, ไม่สนิท. |
แปร่งหู | ว. ผิดเพี้ยนไปจากที่เคยตกลงกันไว้, มีเสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. |
แปลก, แปลก ๆ | ต่าง, เพี้ยนไป, ผิดปรกติ เช่น เป็นคนแปลก. |
แผลง | (แผฺลง) ก. แปลงสิ่งเดิมให้เพี้ยนแปลกไป เช่น แผลงสระ แผลงพยัญชนะ. |
เพียน | ว. เพี้ยน. |
แพว | น. ชื่อไม้ล้มลุกขนาดเล็กชนิด Polygonum odoratum Lour. ในวงศ์ Polygonaceae ต้นและใบมีกลิ่นหอมฉุน ใบอ่อนและกิ่งกินได้ ใช้ทำยาได้ เรียกว่า ผักแพว, เรียกเพี้ยนเป็น พักแพว พัดแพว เพ็งแพว หรือ แพ็งแพว ก็มี, พายัพเรียก ผักไผ่. |
มังกุ ๑ | น. เรือที่มีกระดูกงูใหญ่ รูปเหมือนเรือโขมดยา หัวเป็น ๓ เส้า เช่น เอาหัวเป็นมังกุ เอาท้ายเป็นมังกร, แต่มักใช้เพี้ยนไปเป็น มงกุฎ. |
มังค่า | ว. คำประกอบคำ ฝรั่ง ว่า ฝรั่งมังค่า เพี้ยนมาจาก พังคะ ซึ่งเป็นชื่อแคว้นเบงกอล. |
มินหม้อ | น. เขม่าดำที่ติดก้นหม้อ, มักพูดเพี้ยนเป็น ดินหม้อ ก็มี. |
มุหงิด | (-หฺงิด) น. ชื่อชนชาติชวามลายูในเกาะเซลีเบส, เรียกเพี้ยนเสียงเป็น ยุหงิด ก็มี. |
มุฮัมหมัด | น. นามศาสดาของศาสนาอิสลาม, มีผู้เรียกเพี้ยนไปว่า มะหะหมัด. |
ยมนา | (ยมมะนา) น. แม่นํ้าใหญ่, ชื่อแม่นํ้าสายหนึ่งในอินเดีย คือ แม่นํ้ายมุนา ซึ่งเรียกเพี้ยนเป็น ชุมนา ก็มี. |
ยวน ๑ | น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
ยวน ๑ | ชื่อเรียกชาวไทยทางล้านนา, เพี้ยนเป็น เยาวนะ โยน หรือ โยนก ก็มี. |
ยัชโญปวีต | (ยัดโยปะวีด) น. สายเครื่องหมายวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์ สวมจากไหล่ซ้ายเฉียงลงไปทางขวา, สายมงคล สายธุรำ หรือ สายธุหรํ่า ก็เรียก, เพี้ยนเป็น ยัชโญปิวีต ก็มี. |
เยาวนะ | (-วะ-) น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
โยน ๓, โยนก | น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
วัสสานฤดู | (วัดสานะรึดู) น. ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อนอันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แบ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไปบ้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้นวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, บางทีก็เขียนเพี้ยนไปเป็น วสันต์. |
วินาศสันติ | (วินาด-) ก. จงพินาศ, จงฉิบหาย, เป็นคำแช่งที่ออกเสียงเพี้ยนมาจากคำลงท้ายในคาถาอาคมที่เป็นภาษาบาลีว่า วินสฺสนฺตุ. |
สงคร | (-คอน) น. ความตกลง, สัญญา, ความผัดเพี้ยน. |
สุรงค์, สุรังค์ | ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, ใช้เพี้ยนไปเป็น สุหร่ง ก็มี. |
สุหร่ง | ว. มีสีดี, มีสีงาม, งามฉูดฉาด, งามเรืองรอง, เพี้ยนมาจาก สุรงค์. |
เสียงแปร่ง | น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ. |
เสียงแปร่งหู | น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. |
เสียงหลง | เสียงที่เปล่งออกมาผิดระดับทำให้เพลงที่ร้องมีเสียงเพี้ยน. |
เสียงเหน่อ | น. เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
paresthesia; paraesthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paresthetic; paraesthetic | -รู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paratypic; paratypical | เพี้ยนแบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paraesthesia; paresthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paraesthetic; paresthetic | -รู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paratypical; paratypic | เพี้ยนแบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
amplitude distortion | การเพี้ยนเชิงแอมพลิจูด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attenuation distortion | ความเพี้ยนของการลดทอน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
audio-frequency distortion | ความเพี้ยนความถี่เสียง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anamorphosis | ภาพเพี้ยน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
muscular dystrophy | โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dystrophia; dystrophy | ภาวะเจริญผิดเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dystrophy; dystrophia | ภาวะเจริญผิดเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dystrophy, muscular | โรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
idiosyncrasy | ๑. ลักษณะเฉพาะตัว๒. ภาวะไวผิดเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Distortion | การคดเคี้ยว, พูดเพี้ยนไปจนฟังไม่ออกว่าเป็นเสียงพยัญชนะหรือสระ, การผิดรูป, เบี้ยว, การบิดเบี้ยว, ผิดรูปร่างไป, การตัดรายละเอียดบางประการทิ้งไป [การแพทย์] |
Lymphocytes, Atypical | ลิมโฟซัยต์เพี้ยนแบบ, ลิมโพไซท์ชนิดที่ผิดปกติ, อทิปิคัลลิมโฟซัยท์ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความเพี้ยน | [khwām phīen] (n) EN: aberration FR: aberration [ f ] |
ความเพี้ยนสี | [khwām phīen sī] (n, exp) EN: chromatic aberration FR: aberration chromatique [ f ] |
เพี้ยน | [phīen] (v) EN: be a corruption ; slightly distort ; departing from the truth FR: différer |
เพี้ยน | [phīen] (v) EN: be crazy |
เพี้ยน | [phīen] (adj) EN: slightly distorted ; somewhat inaccurate ; with a slight difference FR: légèrement différent |
ผิดเพี้ยน | [phitphīen] (adj) EN: inaccurate ; off ; at variance with ; not in line with ; deviating ; strange ; unusual ; odd ; queer ; excentric |
สัมผัสเพี้ยน | [samphat phīen] (n, exp) EN: assonance FR: assonance [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
amputee | (n, slang) คนเพี้ยนที่ผิดปกติแขนขาขาด เช่น We provide motorcycle modifications for amputees and modified artificial limbs for amputee motorcyclists. |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
barking | (adj) บ้ามากๆ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เพี้ยนมาก |
barmy | (adj) ติ๊งต๊อง (คำไม่เป็นทางการ), See also: เพี้ยนๆ, Syn. crazy |
bats | (adj) เพี้ยน (คำไม่เป็นทางการ), See also: ติ๊งต๊อง, Syn. insane, crazy |
deviant | (n) คนแปลก (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนพิลึก, คนเพี้ยนๆ, Syn. degenerate, weirdo, Ant. normal, average |
have bats in one's belfry | (idm) บ้าๆ, See also: เพี้ยน, ไม่ค่อยเต็ม |
not all there | (idm) เพี้ยน, See also: สติไม่ดี |
not have all one's marbles | (idm) เพี้ยน, See also: สติไม่ดี |
off one's nut | (idm) บ้า, See also: เสียสติ, เพี้ยน, Syn. off one's trolley, Ant. off one's trolley |
off one's rocker | (idm) บ้า, See also: เสียสติ, เพี้ยน, Syn. off one's nut, Ant. off one's nut |
off one's trolley | (idm) บ้า, See also: เสียสติ, เพี้ยน, Syn. off one's nut, Ant. off one's nut |
nutcase | (n) คนเพี้ยน (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนบ้า, คนติ๊งต๊อง, Syn. kook |
nuts | (adj) เพี้ยน (คำไม่เป็นทางการ), See also: แปลก, บ้าๆ |
nutter | (n) คนบ้า (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนเพี้ยน, Syn. nut |
nutty | (adj) ต๊องๆ, See also: ประหลาด, เพี้ยน, Syn. insane, stupid |
birdie | (sl) พิลึกๆ, See also: ประสาทๆ, เพี้ยนๆ, Syn. irdy |
birdy | (sl) พิลึกๆ, See also: ประสาทๆ, เพี้ยนๆ, Syn. birdie |
go bananas | (sl) เป็นประสาทอ่อนๆ, See also: เพี้ยนๆ, ติ๊งต๊อง |
gonzo | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี |
loco | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี |
loonie | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี, Syn. loony |
loonie | (sl) คนบ้า, See also: คนเพี้ยน, Syn. loonny |
meshuga | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี, Syn. meshugah |
meshugah | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี, Syn. meshuga |
not all there | (sl) บ้า, See also: เพี้ยน, ประสาท, สติไม่ดี |
whacked | (sl) บ้าๆ บอๆ, See also: เพี้ยน, งี่เง่า |
wacko | (n) คนที่มีนิสัยประหลาด (คำสแลง), See also: คนไม่เต็มบาท, คนเพี้ยน, คนพฤติกรรมแปลกจากผู้อื่น, Syn. wack, Ant. normal |
wacko | (adj) ที่มีนิสัยประหลาด (คำสแลง), See also: ที่มีพฤติกรรมแปลกจากผู้อื่น, ซึ่งไม่อยู่กับร่องกับรอย, เพี้ยน, Ant. normal |
Hope Dictionary
assonance | (แอส'โซเนินซฺ) n. ความคล้ายคลึงกันของเสียง, ภาวะสัมผัสเพี้ยน, ความสอดคล้องกันบางส่วน. -assonant adj. |
Nontri Dictionary
distort | (vt) บิดเบือน, ทำให้เพี้ยน, ทำให้แปร่ง, ทำให้ผิดส่วน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
talaing | (n) คำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่าเรียก"มอญ"ว่า ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย, Syn. Mon |
wii | [วู้] (n) เพี้ยนมาจากภาษาสเปน คำว่า Wu แปลว่า การต่อสุ้โดยไม่แตะเนื้อต้องตัวกัน |
เมพขิงๆ | (phrase, slang) มาจากการพิมพ์คำว่า เทพจิงๆ ผิด, ซึ่งเพี้ยนมาจาก เทพจริงๆ อีกที ซึ่งแปลว่า เก่งจริงๆ, เหนือชั้นจริงๆ เป็นภาษาตามสมัยนิยม ใช้กันมากในอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ด, เกมออนไลน์ โดยคำว่าเทพในที่นี้ใช้ในความหมายว่า เก่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมากๆ, เนื่องจากแป้นคีย์บอร์ด ตัว ท กับ ม ติดกัน และ ข กับ จ ติดกัน |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
非可逆圧縮 | [ひかぎゃくあっしゅく, hikagyakuasshuku] (n) เป็นศัพท์ทางเทคนิค เกี่ยวข้องกับการบีบอัดข้อมูล จากภาษาอังกฤษว่า Lossy Compression คือ ข้อมูลก่อนการบีบอัดและหลังจากคลายการบีบอัดคืนกลับมา ข้อมูลที่ได้จะมีบางส่วนผิดเพี้ยนไป ดู Lossless Compression, See also: R. 可逆圧縮 |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
狂う | [くるう, kuruu] TH: เพี้ยน EN: to go mad |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.0133 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม