161 ผลลัพธ์ สำหรับ *สีหน้า*
ภาษา
หรือค้นหา: สีหน้า, -สีหน้า-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หน้าด้าน | มีสีหน้าไม่สลดทั้งที่ควรจหน้า-ด้านะอายแต่ก็ไม่อาย |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สีหน้า | (n) countenance, See also: expression, face, visage, Syn. สีหน้าท่าทาง, Example: ถ้าสังเกตเห็นสีหน้าของเธอจะรู้ว่ามันตรงกันข้ามกับสิ่งที่เธอพูด, Thai Definition: อารมณ์ที่ปรากฏบนใบหน้า |
ชักสีหน้า | (v) show dissatisfaction (toward someone), See also: suddenly turn hostile, be hostile to someone, Example: เมื่อถูกเอ็ดเข้าบ่อยๆ เธอก็เริ่มชักสีหน้ากับแม่แสดงอาการไม่พอใจ, Thai Definition: แสดงความไม่พอใจออกทางสีหน้า |
ปั้นสีหน้า | (v) equivocate, See also: to mask a falsehood, Syn. ปั้นหน้า, Example: เมื่ออยู่บนเวทีเขาจะต้องวางท่า และปั้นสีหน้าให้ดูสง่าผ่าเผยให้มากที่สุด, Thai Definition: แกล้งแสดงหน้าตาให้ผิดปกติเพื่อลวงให้เขาหลงเชื่อ |
สีหน้าท่าทาง | (n) countenance, See also: facial expression, Syn. สีหน้า, ท่าทาง, Example: ควันขาวกรุ่นของบุหรี่ถูกพ่นออกมาด้วยสีหน้าท่าทางครุ่นคิด, Thai Definition: ลักษณะใบหน้าและท่าทางที่แสดงออกถึงความรู้สึก |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ชักสีหน้า | ก. ทำสีหน้าโกรธไม่พอใจ, ชักหน้า ก็ว่า. |
ปั้นสีหน้า | ก. แกล้งแสดงหน้าตาให้ผิดปรกติเพื่อลวงให้เขาหลงเชื่อ เช่น ไม่เจ็บแต่ปั้นสีหน้าให้เหมือนคนเจ็บ. |
สีหน้า | น. อารมณ์ที่ปรากฏทางหน้า เช่น วันนี้สีหน้าเขาไม่ดีเลย คงจะโกรธใครมา พอถูกดุก็ทำสีหน้าไม่พอใจ. |
กรุ้งกริ่ง | (กฺรุ้งกฺริ่ง) ก. แสดงสีหน้า แววตา และท่าทางเจ้าชู้, กรุ้มกริ่ม ก็ว่า. |
กรุ้มกริ่ม | (กฺรุ้มกฺริ่ม) ก. แสดงสีหน้า แววตา และท่าทางเจ้าชู้ เช่น เห็นผู้หญิงเดินผ่านมาก็ทำกรุ้มกริ่มขึ้นมาทันที, กรุ้งกริ่ง ก็ว่า. |
กะโล่ | เรียกสีหน้าที่แสดงความดีใจหรือภาคภูมิใจมาก ว่า หน้าบานเป็นกะโล่ |
เก้อ | ว. แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทำอะไรผิดพลาดไป เช่น ทำหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ |
งอ | เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้างอ. |
ง้ำ | ว. ยื่นออกไปเกินปรกติจนปลายโน้มลง, โน้มไปทางหน้า เช่น สวมชฎางํ้าหน้า, เรียกหน้าที่มีสีหน้าแสดงอาการโกรธไม่พอใจหรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้างํ้า. |
เง้า | ว. เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจหรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้าเง้า. |
ชักหน้า ๑ | ก. ทำสีหน้าโกรธไม่พอใจ เช่น นางนั่งก้มพักตร์แล้วชักหน้า (อิเหนา), ชักสีหน้า ก็ว่า. |
แช่มชื่น | ว. มีสีหน้าแจ่มใสเบิกบาน. |
น้ำขุ่นไว้ในน้ำใสไว้นอก | แม้จะไม่พอใจก็ยังแสดงสีหน้ายิ้มแย้ม. |
นิ่ว ๒ | ว. มีสีหน้าเช่นนั้น ในคำว่า หน้านิ่ว. |
บ้องแบ๊ว | ว. มีสีหน้าและแววตาใสซื่อบริสุทธิ์อย่างเด็กไร้เดียงสาแลดูน่ารัก. |
เป๋อเหลอ | (-เหฺลอ) ว. เซ่อ, มีสีหน้าไม่รู้เรื่อง (ใช้แก่หน้า). |
ผู้อำนวยเพลง | น. ผู้กำกับและควบคุมการบรรเลงหรือการขับร้องของวงดุริยางค์ วงดนตรี วงนักร้องประสานเสียง ให้มีเอกภาพ รวมทั้งตีความบทเพลงให้สมบูรณ์ โดยปรกติใช้มือ สายตา และสีหน้าท่าทางเป็นสื่อในการให้สัญญาณ, วาทยกร ก็เรียก. |
ม่อย | ว. เรียกอาการที่มีสีหน้าสลดแสดงว่าเสียใจ ว่า หน้าม่อย. |
วาทยกร | (วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน) น. ผู้กำกับและควบคุมการบรรเลงหรือการขับร้องของวงดุริยางค์ วงดนตรี วงนักร้องประสานเสียง ให้มีเอกภาพ รวมทั้งตีความบทเพลงให้สมบูรณ์ โดยปรกติใช้มือ สายตา และสีหน้าท่าทางเป็นสื่อในการให้สัญญาณ, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก. |
หน้าเก้อ | ว. มีสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทำอะไรผิดพลาดไป เช่น เด็กตีหน้าเก้อเมื่อถูกจับได้ว่าทำความผิด. |
หน้าเข้ม | ว. มีสีหน้าเครียดหรือขุ่นเคือง, หน้าตึง ก็ว่า. |
หน้าเขียว | ว. มีสีหน้าแสดงอาการโกรธจัด เช่น เขาโกรธจนหน้าเขียว |
หน้างอ, หน้าง้ำ, หน้าเง้า, หน้าเง้าหน้างอ, หน้าบึ้ง, หน้าหงิก, หน้าหงิกหน้างอ | ว. มีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจ เป็นต้น. |
หน้าจ๋อย | ว. มีสีหน้าสลด, มีสีหน้าซีดเซียว, เช่น นักเรียนหน้าจ๋อยเพราะถูกครูตำหนิ. |
หน้าจืด | ว. มีสีหน้าซีดหรือไม่เข้มคม. |
หน้าเฉย | ว. มีสีหน้าแสดงความไม่รู้สึกยินดียินร้าย หรือไม่สนใจใยดีต่อสิ่งหรือเหตุการณ์ใด ๆ. |
หน้าชื่นตาบาน | ว. มีสีหน้าเบิกบานแจ่มใส. |
หน้าซีด | ว. มีสีหน้าไม่สดใสหรือไม่มีสีเลือดเพราะอดนอน ตกใจ หรือถูกจับได้ว่าทำผิดเป็นต้น. |
หน้าซื่อใจคด | ว. มีสีหน้าดูซื่อ ๆ แต่มีนิสัยคดโกง. |
หน้าเซียว | ว. มีสีหน้าแสดงความอิดโรยไม่สดใสเพราะอดนอนมากเป็นต้น. |
หน้าด้าน, หน้าทน, หน้าหนา | ว. มีสีหน้าไม่สลดทั้งที่ควรจะอายแต่ก็ไม่อาย, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีความรู้สึกอายในสิ่งที่ควรอาย. |
หน้าตาขึงขัง | ว. สีหน้าที่แสดงว่าเอาจริงเอาจัง ดูน่ากลัว. |
หน้าตาตื่น, หน้าตื่น | ว. มีสีหน้าตื่นเต้นตกใจเป็นต้น เช่น เขาวิ่งหนีไฟหน้าตาตื่นมา. |
หน้าตาย | ว. ตีสีหน้าทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้ เช่น ตลกหน้าตาย. |
หน้าตึง | ว. มีสีหน้าเครียดหรือขุ่นเคือง, หน้าเข้ม ก็ว่า |
หน้าตึง | มีสีหน้าแดงหรือเข้มขึ้นเพราะเริ่มเมา. |
หน้าตูม | ว. มีสีหน้าแสดงอาการไม่พอใจ เช่น เธอโกรธใครมาหน้าตูมเชียว. |
หน้าถอดสี | ว. มีสีหน้าแสดงความผิดหวังหรือตกใจเป็นต้น, หน้าเผือด หรือ หน้าเผือดสี ก็ว่า. |
หน้านวล ๒ | ว. มีสีหน้าผุดผ่องเป็นน้ำเป็นนวล, คนโบราณเชื่อว่า หญิงที่มีครรภ์ถ้ามีหน้านวลอยู่เสมอ แสดงว่า บุตรในครรภ์จะเป็นเพศหญิง. |
หน้าบอกบุญไม่รับ | ว. มีสีหน้าบึ้งตึง เช่น เขาผิดหวังอะไรมา ทำหน้าบอกบุญไม่รับ. |
หน้าบูด | ว. มีสีหน้าแสดงอาการเบื่อหน่ายหรือไม่พอใจ เช่น เขาทำหน้าบูดเพราะเจอเรื่องที่ไม่สบอารมณ์, หน้าบูดหน้าเบี้ยว หรือ หน้าเบี้ยวหน้าบูด ก็ว่า. |
หน้าเผือด, หน้าเผือดสี | ว. มีสีหน้าแสดงความผิดหวังหรือตกใจเป็นต้น, หน้าถอดสี ก็ว่า. |
หน้าม่อย | ว. มีสีหน้าสลดแสดงว่าเสียใจ เช่น เธอทำหน้าม่อยเพราะรีดเสื้อตัวสวยไหม้. |
หน้าม้าน | ว. มีสีหน้าเผือดด้วยความละอายจนไม่กล้าสบตาคน. |
หน้ายุ่ง | ว. มีสีหน้าว่ามีความยุ่งยากลำบากใจเพราะมีงานมากเสียจนไม่รู้จะทำอะไรก่อนอะไรหลังเป็นต้น. |
หน้าเสีย | ว. มีสีหน้าแสดงอาการพิรุธหรือตกใจ เสียใจเป็นต้น เช่น เขาหน้าเสียเพราะถูกจับได้ว่าทำความผิด. |
หน้าแห้ง | ว. มีสีหน้าไม่แจ่มใสเพราะความทุกข์เช่นผิดหวัง. |
ให้หูให้ตา | ก. แสดงท่าทีให้ทราบด้วยสีหน้าและสายตาว่าพอใจใคร่สืบความสัมพันธ์ต่อไป (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น กุลสตรีไม่ควรให้หูให้ตาใคร ๆ. |
ออกนอกหน้า | ว. แสดงความรู้สึกให้ปรากฏทางสีหน้า, แสดงอาการให้ปรากฏอย่างชัดแจ้ง. |
อ่าน | สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
physiognomy | ๑. โฉมหน้า๒. การทำนายจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physiognosis | การวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Dramatize | แสดงออกทางสีหน้าและท่าทางมากเกินไป [การแพทย์] |
Expression | การแสดงออกทางสีหน้า, การทำงานของกล้ามเนื้อบนใบหน้า [การแพทย์] |
Expressionless | ไม่มีการแสดงออกทางอารมณ์, สีหน้าไร้อารมณ์ [การแพทย์] |
Facial Expression | การแสดงสีหน้า, สีหน้า, การแสดงออกทางสีหน้า, การแสดงความรู้สึกด้วยสีหน้า, การแสดงหน้าตา, การแสดงถึงอารมณ์ [การแพทย์] |
Facial Expression, Fixed | ลักษณะแสดงสีหน้าค้างอยู่ [การแพทย์] |
Facial Grimaces | แสดงสีหน้า [การแพทย์] |
Facies, Masked | สีหน้าไร้อารมณ์ [การแพทย์] |
Flaccidfacial Expression | สีหน้าเฉย [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
สีหน้า | [sīnā] (n) EN: face ; countenance ; visage FR: expression [ f ] ; mimique [ f ] |
สีหน้าท่าทาง | [sīnā thāthāng] (n, exp) EN: countenance |
วางสีหน้า | [wāng sīnā] (v, exp) EN: look ; make a face |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
beam | (n) รอยยิ้มกว้าง, See also: ยิ้มกว้าง, เปล่งยิ้มหรือมีสีหน้าที่ปิติยินดี, มองดูด้วยความดีใจ, Syn. smile |
be written on someone's face | (idm) มองเห็นได้ชัดเจน (จากสีหน้า) |
countenance | (n) สีหน้า, See also: หน้า, โฉมหน้า, ใบหน้า, Syn. visage |
dirty look | (idm) สีหน้าไม่ยอมรับ, See also: หน้าบอกบุญไม่รับ, สีหน้าไม่ชอบ |
expression | (n) การแสดงออกทางสีหน้า, See also: การแสดงความรู้สึกทางสีหน้า, สีหน้า, Syn. facial expression |
expressionless | (adj) ซึ่งไม่แสดงความรู้สึก (ทางน้ำเสียงหรือสีหน้า), See also: ซึ่งไม่แสดงความสนใจ ทางน้ำเสียงหรือสีหน้า, Syn. blank, dull, impassive |
face | (n) สีหน้า, Syn. expression, countenance |
fixed | (adj) ที่ไม่เปลี่ยน (ใช้กับสีหน้า) |
without batting an eye | (idm) ไม่แสดงออกใดๆทางสายตา สีหน้า, See also: หน้าเฉยๆ ไร้อารมณ์ |
look | (n) สีหน้า, Syn. expression |
mien | (n) ลักษณะท่าทาง, See also: ท่าที, สีหน้า, Syn. appearance, look, carriage, manner |
mime | (n) นักแสดงที่ใช้ท่าทางและสีหน้าแทนคำพูด, See also: คนแสดงละครใบ้, Syn. mime artist |
physiognomy | (n) สีหน้า, Syn. countenance, look |
pout | (n) การแสดงอาการทางสีหน้าด้วยการยื่นปากออกไป, Syn. mouth, wry face, moue |
pouter | (n) ผู้แสดงอาการทางสีหน้าด้วยการยื่นปากออกไป, See also: ผู้ทำหน้ามุ่ย, Syn. grumbler, complainer, faultfinder |
sheep's eyes | (n) สีหน้าเปี่ยมด้วยความรัก |
turn off | (phrv) มีสีหน้าหรือท่าทาง, Syn. turn on |
turn on | (phrv) เริ่มแสดงสีหน้าหรือท่าทาง, Syn. turn off |
wear | (vt) เผยอารมณ์ให้เห็นบนใบหน้า, See also: เผยสีหน้า, แสดงสีหน้า |
wince | (vi) แสดงสีหน้าเจ็บปวด (เพราะนึกถึงสิ่งที่ไม่ดีหรือสิ่งที่ทำให้อึดอัดใจ) |
wince | (n) การแสดงสีหน้าเจ็บปวด |
Hope Dictionary
beam | (บีม) n. คาน, ไม้ขวาง, ขื่อแป, รอด, คร่าว, คันรถ, คันชั่ง, คันไถ, แกนที่ม้วนได้, คานหาม, เขาแกน, ลำแสง, ลำรังสีขนานกัน, สัญญาณวิทยุ, สีหน้าที่ปิติยินดี vi. แผ่รังสีหรือลำแสง, ส่งสัญญาณวิทยุ, เปล่งยิ้มหรือมีสีหน้าที่ปิติยินดี |
cheer | (เชียร์) { cheered, cheering, cheers } vt., n. (การ) ร้องเสียงไชโย, ไชโย, โห่ร้อง, ยุ, ปลุกเร้าด้วยการโห่ร้อง -n. การร้องเสียงไชโย, สิ่งที่ให้ความปลื้มปิติยินดี, ความดีใจ, อาหาร, เสบียง, สีหน้าการปลอบใจ, การทำให้ใจชุ่มชื่น, การต้อนรับ -interj. คำอวยพรเวลาดื่มหรือเวลาจากกั |
coloring | n. การใส่หรือทาสี, วิธีการใส่หรือทาสี, การปรากฎเป็นสี, โฉมภายนอก, สีหน้าสารย้อมสี |
colouring | n. การใส่หรือทาสี, วิธีการใส่หรือทาสี, การปรากฎเป็นสี, โฉมภายนอก, สีหน้าสารย้อมสี |
complexion | (คัมเพลค'เชิน) n. สีหน้า, สีผิว, คุณลักษณะ, เค้า, ความคิดเห็น, ความเชื่อ |
countenance | (เคา'นะเนินซฺ) n. หน้าตา, สีหน้า, โฉมหน้า, หน้า, การสนับสนุน, การให้กำลังใจ, สีหน้าที่ใจเย็น, ความสุขุม vt. อนุญาต, ยอม, เห็นด้วย, สนับสนุน, ให้กำลังใจ, See also: countenancer n., Syn. appearance |
demeanor | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา |
demeanour | (ดิมี'เนอะ) n. ความประพฤติ, ท่าทาง, การวางตัว, สีหน้า, หน้าตา |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
facial nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่ 7 ที่ไปเลี้ยงลิ้นส่วนหน้าทำให้รู้รส ควบคุมการหดตัวและคลายตัวกล้มเนื้อบริเวณหน้า ทำให้มีการแสดงสีหน้า |
fleer | (เฟลียร์) vi., n. (การ) หัวเราะเยาะ, เยาะเย้ย, ยั่วเย้า, ดูถูก, เหยียดหยาม n. การพูดเยาะเย้ย, การแสดงสีหน้าที่ดูถูก, การดูถูกข่มเหงผู้หลบหนี, ผู้หนี, See also: fleeringly adv., Syn. mock |
gallows look | n. สีหน้าที่มีเค้าต้องโทษประหารชีวิต |
hue | (ฮิว) n. สี, ฉวี, แบบอย่าง, สีหน้า, เสียงร้องโวยวาย, เสียงเจี๊ยวจ๊าว , ความเข้ม/จางของสีหมายถึง ความลดหลั่นของความเข้มของสี มีความหมายคล้ายคำว่า shade |
pasty-faced | (เพส'ทีเฟสทฺ) adj. มีสีหน้าซีดเซียว |
stoney | (สโท'นี) adj. เต็มไปด้วยหิน, มีหินมาก, เหมือนกัน, แข็งเหมือนหิน, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความปรานี, ไม่มีสีหน้า, ทารุณ, โหดเหี้ยม, ใจแข็ง, ถังแตก, ไม่มีเงินเลย, ตกอกตกใจ., See also: stonily adv. stoniness n., Syn. icy, heartless |
stony | (สโท'นี) adj. เต็มไปด้วยหิน, มีหินมาก, เหมือนกัน, แข็งเหมือนหิน, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความปรานี, ไม่มีสีหน้า, ทารุณ, โหดเหี้ยม, ใจแข็ง, ถังแตก, ไม่มีเงินเลย, ตกอกตกใจ., See also: stonily adv. stoniness n., Syn. icy, heartless |
Nontri Dictionary
colouring | (n) การทาสี, สีหน้า, รูปโฉมภายนอก |
complexion | (n) ผิวหน้า, สีหน้า, สีผิว, ท่าทาง, เค้า, ความหมาย |
countenance | (n) การเห็นด้วย, ใบหน้า, โฉมหน้า, สีหน้า, การสนับสนุน |
hue | (n) สี, สีหน้า, แบบอย่าง |
physiognomy | (n) การทายนิสัยจากหน้าตา, หน้าตา, สีหน้า |
Longdo Approved DE-TH
schuldbewusst | (adj, adv) (สีหน้า)ที่แสดงว่ารู้สึกผิดในสิ่งที่ได้ทำลงไป |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.9513 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม