*ฟิล์ม* แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


156 ผลลัพธ์ สำหรับ *ฟิล์ม*
ภาษา
หรือค้นหา: ฟิล์ม, -ฟิล์ม-

มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N[มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961)

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ฟิล์ม(n) film, See also: photographic film, Syn. ฟิล์มถ่ายรูป, Example: อย่าปล่อยให้ฟิล์มที่ยังไม่ได้ล้างถูกแสงแดด เพราะอาจเกิดเสียหายได้, Count Unit: แผ่น, ม้วน, Thai Definition: แผ่นวัตถุบาง ประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สำหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์, Notes: (อังกฤษ)
ล้างฟิล์ม(v) develop a photographic film, Syn. ล้างรูป, Example: ช่างภาพล้างฟิล์มที่ร้านนี้เป็นประจำ
ฟิล์มถ่ายรูป(n) film, Syn. ฟิล์ม, ฟิล์มถ่ายภาพ, Example: เขาให้เงินก้อนใหญ่แลกกับการขอฟิล์มถ่ายรูปคืน, Count Unit: ม้วน, แผ่น, Thai Definition: แผ่นวัตถุบาง ประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สำหรับถ่ายรูป
เสียงในฟิล์ม(n) soundtrack, See also: sound track, Example: เจ้าของนำกลับมาสร้างเป็นภาพยนตร์โดยใช้เสียงในฟิล์มเหมือนเดิม, Thai Definition: เสียงพูดและเสียงต่างๆ ที่บันทึกลงในการถ่ายทำภาพยนตร์

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ฟิล์ม(ฟิม) น. แผ่นวัตถุบางประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สำหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์.
ไมโครฟิล์ม(-โคฺรฟิม) น. ฟิล์มถ่ายรูปขนาดเล็กมากใช้สำหรับถ่ายบันทึกภาพของสิ่งต่าง ๆ ให้มีขนาดย่อส่วนลงมาก ๆ เพื่อสะดวกแก่การเก็บรักษาไว้ และสามารถนำมาฉายเป็นภาพนิ่งขนาดขยายบนจอได้.
ล้างฟิล์ม, ล้างรูปก. นำฟิล์มที่ถ่ายแล้วไปแช่ลงในสารละลายเคมีเพื่อให้รูปปรากฏขึ้นบนฟิล์ม.
ฉายหนังก. ฉายแสงผ่านฟิล์มภาพยนตร์ให้ปรากฏภาพเคลื่อนไหวบนจอ.
ชักรูปก. บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, ถ่ายรูป ก็ว่า.
เซลลูโลสน. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น.
ตัดต่อก. ตัดฟิล์มภาพยนตร์ เทปบันทึกภาพ เป็นต้น ที่ไม่ติดต่อกัน แล้วนำมาต่อกันเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ.
ถ่ายภาพยนตร์ก. บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาว ๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง, (ปาก) ถ่ายหนัง.
ถ่ายรูปก. บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, โบราณว่า ชักรูป.
พลาสติกน. สารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบเรือหรือรถยนต์.
ภาพถ่ายน. ภาพบนกระดาษอัดรูป เกิดจากการนำแผ่นฟิล์มภาพเนกาทิฟหรือแผ่นกระจกภาพเนกาทิฟไปอัดถ่ายทอดภาพลงบนกระดาษอัดรูปนั้น.
ภาพนิ่งน. ภาพขยายที่ไม่มีการเคลื่อนไหวบนจอ เกิดจากการฉายแสงที่มีความเข้มมาก ผ่านแผ่นสไลด์หรือแผ่นฟิล์มภาพไปยังจอ.
รูปถ่ายน. ภาพที่บันทึกไว้ด้วยวิธีให้แสงผ่านฟิล์มรูปเป็นต้นลงบนแผ่นวัสดุไวแสง เช่น กระดาษอัดรูป แล้วนำไปล้างตามกรรมวิธีเพื่อให้รูปปรากฏ.
หนังเงียบน. ภาพยนตร์ที่ไม่มีเสียงในฟิล์ม.
ห้องสมุด, หอสมุดน. ห้องหรืออาคารที่มีระบบจัดเก็บรวบรวมรักษาหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งอาจรวมทั้งต้นฉบับ ลายมือเขียน ไมโครฟิล์ม เป็นต้น เพื่อใช้เป็นที่ค้นคว้าหาความรู้.
อัดรูปก. ผลิตภาพจากฟิล์มหรือกระจกถ่ายรูปที่บันทึกภาพไว้แล้ว.
อัดเสียงก. บันทึกเสียงลงในแถบบันทึกเสียงหรือฟิล์มเป็นต้น.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
air filmฟิล์มอากาศ [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
microfilmไมโครฟิล์ม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
microfilmไมโครฟิล์ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
cassette๑. กล่อง (ฟิล์มเอกซเรย์)๒. กล่อง, ตลับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
CIM (computer input from microfilm)ซีไอเอ็ม (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
COM (computer output on microfilm)ซีโอเอ็ม, คอม (ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
computer input from microfilm (CIM)ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ (ซีไอเอ็ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
computer output on microfilm (COM)ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ (ซีโอเอ็ม, คอม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
filmฟิล์ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
thick filmฟิล์มหนา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
thin filmฟิล์มบาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Materialวัสดุ, สิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น รูปภาพ บัตรคำ แผนภูมิ ฟิล์มภาพยนต์ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป [เทคโนโลยีการศึกษา]
Equipmentอุปกรณ์, เครื่องมือต่างๆ ที่นำมาช่วยในการใช้วัสดุให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น เครื่องเล่นจานเสียง เครื่องบันทึกเสียง เครื่องรับวิทยุ เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องฉายภาพยนต์ เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายฟิล์มสติรป เป็นต้น [เทคโนโลยีการศึกษา]
Filmloopฟิล์มลูป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Filmstripฟิล์มสตริป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Microfilmไมโครฟิล์ม, Example: <p>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายคำว่า ไมโครฟิล์ม ว่าหมายถึง ฟิล์มถ่ายรูปขนาดเล็กมากใช้สำหรับถ่ายบันทึกภาพของสิ่งต่างๆ ให้มีขนาดย่อส่วนลงมากๆ เพื่อสะดวกแก่การเก็บรักษาไว้ และสามารถนำมาฉายเป็นภาพนิ่งขนาดขยายบนจอได้ [ 1 ] <p>ไมโครฟิล์ม จัดเป็นวัสดุย่อส่วนเป็นวัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทหนึ่ง โดยเกิดจากการถ่ายภาพย่อส่วนของสิ่งพิมพ์ต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสงให้มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถอ่านข้อมูลได้ด้วยตาเปล่า จำเป็นต้องอาศัยเครื่องอ่านเฉพาะ ซึ่งเรียกว่า Microfilm reader ห้องสมุดนิยมนำมาจัดเก็บ วารสาร หนังสือพิมพ์ หนังสือหายาก เอกสารจดหมายเหตุ เป็นต้น เพื่อประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บ และการสงวนรักษาเอกสารต้นฉบับสำคัญและหายาก <p>ลักษณะของไมโครฟิล์ม มีลักษณะเป็นฟิล์มโปร่งใส เนื้อละเอียด โดยรูปแบบของไมโครฟิล์ม ได้แก่ <p>1. ฟิล์มม้วน (roll film) เป็นรูปแบบที่เก่าแก่และใช้กันอย่างแพร่หลายเนื่องจากบรรจุการจัดเก็บสารสนเทศได้เป็นจำนวนมากๆ ขนาดมาตรฐานทั่วไป 8 มม. 16 มม. 35 มม. มีความยาว 100 ฟุต ทั้งนี้ไมโครฟิล์ม 1 ม้วน สามารถบรรจุภาพได้ 207-269 กรอบภาพหรือมากกว่า ขึ้นกับอัตราการย่อของเครื่อง โดยขนาด 16 มม. นิยมใช้บันทึกข้อมูลที่มีจำนวนมากและมีความต่อเนื่อง ขณะที่ ขนาด 35 มม. นิยมใช้บันทึกข้อมูลสิ่งพิมพ์ที่มีขนาดใหญ่ <p>2. ไมโครฟิช (microfiche) เป็นอีกรูปแบบหนึ่งมีลักษณะโปร่งใสขนาด 3*5 นิ้ว หรือ 4*6 นิ้ว บันทึกเป็นแถวๆ จึงสามารถค้นคืนสารสนเทศได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น <p>3. แจ็กเก็ต (jacket) มีขนาดเดียวกับไมโครฟิชแต่มีช่องสำหรับสอดฟิล์มที่ถ่ายย่อส่วนแล้วบรรจุเป็นแถว คล้ายซองเก็บฟิล์มขนาด 35 มม.ในปัจจุบัน <p>แม้ว่าปัจจุบันมีบางมุมมองที่คิดเห็นว่า ไมโครฟิล์ม เป็นวัสดุที่ตกยุค ไม่ทันสมัย เนื่องจากต้องมีเครื่องอ่าน และเครื่องพิมพ์เฉพาะ ทำให้ไม่สะดวกเท่าที่ควรนักสำหรับผู้ใช้งาน แต่ไมโครฟิล์ม ก็มีข้อดีที่น่าสนใจ เช่น ฟิล์มหนึ่งม้วนสามารถถ่ายภาพได้จำนวนมาก และราคาของฟิล์มที่ถูก อีกทั้งการคัดลอกก็สามารถทำได้รวดเร็ว ที่สำคัญคืออายุของการเก็บรักษาที่นาน <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110527-microfilm.jpg" Title="Microfilm" alt="Microfilm"> <br>ภาพที่ 1 ภาพตัวอย่างเครื่องถ่ายและเครื่องอ่านไมโครฟิล์ม <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. หน้า 889. <p>[ 2 ] วรพจน์ นวลสกุล. เทคโนโลยีไมโครฟิล์ม เทคโนโลยีออปติกและมัลติมีเดีย. http://www.lib.ubu.ac.th/techno/Down%20Load/bod_013.doc (สืบค้นเมื่อ 27 พ.ค. 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Microfilm readerเครื่องอ่านไมโครฟิล์ม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Thin filmsฟิล์มบาง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Optical thin film technologyเทคโนโลยีฟิล์มบางเชิงแสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Autoradiographภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Radiographyการถ่ายภาพรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออน เช่น รังสีเอกซ์ หรือ รังสีแกมมา ถ่ายภาพวัตถุบนแผ่นฟิล์มโดยอาศัยหลักการดูดกลืนรังสี ส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้น้อยกว่าจะปรากฏภาพเงาบนฟิล์มทึบกว่าส่วนของวัตถุที่ดูดกลืนรังสีไว้มากกว่า [นิวเคลียร์]
Film badgeกลักฟิล์ม, ฟิล์มแบ็ดจ์, กลักบรรจุฟิล์มบันทึกปริมาณรังสี ที่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีใช้เพื่อให้ทราบว่าได้รับรังสีสะสมเป็นปริมาณเท่าใด, Example: [นิวเคลียร์]
Developing and developersการล้างและน้ำยาล้างฟิล์ม [TU Subject Heading]
Film noirฟิล์มนัวร์ [TU Subject Heading]
Microdensitometryการวัดความเข้มของฟิล์ม [TU Subject Heading]
Microfilmsไมโครฟิล์ม [TU Subject Heading]
Motion picture filmฟิล์มภาพยนตร์ [TU Subject Heading]
Plastic film industryอุตสาหกรรมฟิล์มพลาสติก [TU Subject Heading]
Plastic filmsฟิล์มพลาสติก [TU Subject Heading]
Thick filmsฟิล์มหนา [TU Subject Heading]
Thin filmsฟิล์มบาง [TU Subject Heading]
Blood Film, Thickฟิล์มเลือดอย่างหนา [การแพทย์]
Cassettesเทปบันทึกเป็นตลับ, กล่องใส่ฟิล์ม, ตลับ [การแพทย์]
Developing Tank wigh Loading Deviceถังบรรจุฟิล์มสำหรับล้าง [การแพทย์]
Distance, Anode-Filmระยะระหว่างหลอดเอกซเรย์กับฟิล์ม [การแพทย์]
Film Badgeฟิล์มแบดจ์ [การแพทย์]
Film Carriersกลักใส่ฟิล์ม [การแพทย์]
Film Distance, Longer Targetจัดให้หลอดเอ็กซเรย์อยู่ไกลจากฟิล์มมากขึ้นไปอีก [การแพทย์]
Film Emulsions, Fasterฟิล์มที่มีอัตราความเร็วสูง, ฟิล์มชนิดอัตราเร็วสูง [การแพทย์]
Film Holders, CKN Multiformatเครื่องใส่และเลื่อนฟิล์มที่ถ่ายภาพได้หลายรูปแบบ [การแพทย์]
Film Illuminatorsเครื่องดูฟิล์ม [การแพทย์]
Film-Strip Projectorsเครื่องฉายฟิล์มสตริป [การแพทย์]
Films, Complexฟิล์มที่สมบูรณ์ [การแพทย์]
Films, Cutเครื่องเปลี่ยนฟิล์มตัด [การแพทย์]
Films, Flexible Gelแผ่นฟิล์มใสยืดหยุ่นได้ [การแพทย์]
Films, Interfacialฟิล์มที่ผิวประจัน [การแพทย์]
Films, Interfacial, Strongฟิล์มหุ้มรอบหยดของเหลว [การแพทย์]
Films, Protectiveฟิล์มเคลือบผิว [การแพทย์]
Films, Rollฟิล์มชนิดม้วน [การแพทย์]
Films, Sheetฟิล์มชนิดแผ่น [การแพทย์]
Films, Solid Particleฟิล์มที่แข็งแรง [การแพทย์]
Films, Unknownฟิล์มที่ต้องการอ่านค่า [การแพทย์]
Filmstripsฟิล์มสตริป [การแพทย์]
celluloidเซลลูลอยด์, เทอร์มอพลาสติกชนิดหนึ่ง ใช้เซลลูโลสไนเตรต และการบูรเป็นองค์ประกอบหลักในการผลิต มีความไวไฟ ใช้ทำเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น ฟิล์มถ่ายภาพ ผลิตภัณฑ์ชนิดแผ่นหรือท่อ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
view finderตัวเล็งภาพ, ส่วนประกอบของกล้องถ่ายรูป  ทำให้มองเห็นขอบเขตของภาพที่ต้องการบันทึกบนฟิล์ม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
developerสารทำให้เกิดภาพ, สารละลายที่ทำให้เกิดภาพบนฟิล์มถ่ายรูปที่บันทึกภาพแล้วหรือบนกระดาษอัดรูป  เช่น เมื่อนำฟิล์มขาวดำที่บันทึกภาพแล้วมาแช่ในสารละลายนี้ บริเวณที่ถูกแสงจะปรากฏเป็นสีดำมากน้อยตามปริมาณแสงที่ได้รับ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Film canกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์, Example: กระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ (Film can) เป็นภาชนะที่มีรูปร่างเป็นแผ่นกลมแบนตื้นทำจากโลหะหรือพลาสติกแข็งที่มีฝาปิดแน่นหนามีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่าง ๆ สำหรับการจัดเก็บและการขนส่งฟิล์มภาพยนตร์ที่อยู่ในวงล้อหรือแกน แต่เดิมฟิล์มภาพยนตร์เก็บไว้ในกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ที่ทำจากเหล็ก (ทั้งเคลือบหรือไม่เคลือบผิว) อลูมิเนียมหรือพลาสติกบางประเภท จากมาตรฐาน ISO เสนอแนะว่าภาชนะ ที่บรรจุฟิล์มควรเป็นพอลิโพรไพลีน (Polypropylene) หรือโพลีเอทิลีน (Polyethylene) สำหรับกระป๋องฟิล์มพลาสติก ถ้าเป็นกระป๋องฟิล์มที่ทำจากโลหะ โลหะที่ใช้ไม่ควรถูกกัดกร่อนเป็นสนิมง่าย ความแข็งของกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์สามารถป้องกันฟิล์มภาพยนตร์จากรอยขีดข่วน ฝุ่นและสัตว์หรือแมลงที่เป็นภัยต่าง ๆ กระป๋องฟิล์มยังสามารถป้องกันน้ำในระยะสั้น ๆ และอาจจะชะลออัตราการแพร่กระจายของสารมลพิษจากสภาพแวดล้อม กระป๋องฟิล์มเป็นตัวกั้นกลางผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอก โดยสามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศภายในกระป๋องฟิล์มได้<br> <br>ในการเปิดกระป๋องฟิล์มภาพยนตร์ที่เป็นสนิมหรือมีรอยบุบ ให้ตีเบา ๆ ที่ด้านนอกของกระป๋องฟิล์มเพื่อทำให้ฝาหลวม ถ้าจำเป็นให้ใช้ไขควงหรืออุปกรณ์อื่นที่คล้ายกันเพื่อแงะฝาที่ปิดได้ แต่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเพื่อไม่ให้ฟิล์มภาพยนตร์เสียหาย กระป๋องฟิล์มที่ใส่ฟิล์มภาพยนตร์ให้ทำเครื่องหมายและติดป้ายชื่อบอกไว้ ทั้งนี้ควรติดป้ายไว้ด้านนอกของกล่องฟิล์ม ไม่ควรใส่วัสดุอื่น ๆ ไว้ภายในกล่องฟิล์มโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระดาษและโดยเฉพาะกระดาษที่พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ เนื่องจากกระดาษอาจมีกรดและเป็นแหล่งที่มาของความชื้นและฝุ่นละออง นอกจากนั้นไม่ควรให้มีกาวและยางรัดภายในกล่องด้วยเช่นกันเนื่องจากวัสดุเหล่านี้เป็นแหล่งที่มาของตัวทำละลาย กำมะถันและตัวออกซิไดซ์ที่เป็นอันตราย และควรวางภาชนะที่บรรจุฟิล์มให้ซ้อนกันในแนวนอนเพื่อให้ม้วนฟิล์มวางในแนวราบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Microfilmไมโครฟิล์ม [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ฟิล์ม[fīm] (n) EN: film ; negative film  FR: film [ m ] ; pellicule [ f ] ; négatif [ m ]
ฟิล์มเอ็กซเรย์[fīm eksaraē] (n, exp) EN: X-ray film  FR: film radiographique [ m ]
ฟิล์มหนัง[fīm nang] (n) EN: film  FR: film [ m ] ; bobine [ f ]
ฟิล์มภาพยนตร์[fīm phāpphayon] (n) EN: film  FR: film [ m ] ; bobine [ f ]
ล้างฟิล์ม[lāng fīm] (v, exp) EN: develop a photographic film  FR: développer un film (photographique)

Longdo Approved EN-TH
chromatic aberration(n) อาการที่ปรากฏแถบสีที่ไม่ต้องการ(มักจะเป็นสีม่วง หรือแดง)ในภาพ ณ บริเวณที่มีความสว่างแตกต่างกันมาก เช่น รอยต่อระหว่างท้องฟ้ากับวัตถุด้านหน้า เกิดจากการที่แสงสีต่างๆมีดัชนีความหักเหของแสงต่างกัน เมื่อแสงสีขาวส่องผ่านเลนส์ จึงตกกระทบบนฟิล์มเป็นบริเวณกว้างกระจายเป็นสีรุ้ง เลนส์ถ่ายภาพคุณภาพสูง มักถูกออกแบบให้มีโครงสร้างชิ้นเลนส์ซับซ้อน เพื่อแก้ไขอาการนี้
SLR(n, abbrev) ย่อมาจาก Single-Lens Reflex หมายถึง กล้องถ่ายภาพที่ใช้เลนส์ตัวเดียวกันสำหรับมองภาพ และถ่ายภาพ ทำให้ได้ภาพในฟิล์มเหมือนดั่งภาพที่ปรากฏในช่องมอง กล้องประเภทนี้มักจะเปลี่ยนเลนส์ได้ด้วย, See also: camera
unsharp mask(name) คือกระบวนการทำภาพถ่ายให้คมชัดขึ้น โดยการนำฟิล์มของภาพ ไปถ่ายสำเนาใส่ฟิล์มอีกแผ่นหนึ่งโดยเจตนาให้ได้ภาพที่เบลอ (unsharp) กว่าเดิม ภาพบนฟิล์มที่ทำสำเนาขึ้นมาใหม่นี้ จะแตกต่างจากภาพบนฟิล์มเดิม ณ บริเวณภาพที่มีรายละเอียด (เนื่องจากถูกทำให้เบลอ) แต่จะเหมือนเดิม ณ บริเวณภาพที่เป็นสีพื้น (ไม่มีรายละเอียด การทำเบลอไม่มีผลต่อภาพ) จากนั้นจึงเอาฟิล์มทั้งสองมาทาบเข้าด้วยกัน ภาพที่ได้เมื่อมองผ่านฟิล์มทั้งสอง บริเวณที่มีรายละเอียดจะถูกเน้นให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น คือ ทำให้ภาพดูคมชัดขึ้น
flare(n) แถบหรือแนวจุดสว่างที่ปรากฏบนภาพถ่าย อันเกิดจากการที่แสงจากแหล่งกำเนิด เช่น ดวงอาทิตย์หรือหลอดไฟฟ้า ส่องเข้าหน้าเลนส์ในมุมที่เหมาะสม แล้วสะท้อนกับผิวแก้วชิ้นเลนส์หรือวัตถุอื่นๆที่อยู่ในเลนส์ ไปตกลงบนผิวฟิล์มรับภาพ สามารถบรรเทาได้ด้วยการสวมหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์ (hood), See also: hood

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
blowup(n) การขยายฟิล์มภาพยนตร์
celluloid(n) พลาสติกชนิดหนึ่ง ใช้ในการทำฟิล์มหรือสิ่งของอื่นๆ
document(vt) บันทึกข้อมูลใส่ฟิล์ม เทป หรือเขียน
dub(n) เสียงที่อัดลงบนแผ่นฟิล์ม
dub(vt) อัดเสียง, See also: อัดเสียงลงบนแผ่นฟิล์ม, อัดเทป
film(n) ภาพยนตร์, See also: หนัง, ฟิล์มถ่ายภาพ, ฟิล์มถ่ายรูป, ฟิล์มหนัง, Syn. motion picture, movie, cinema, flick
film(vt) เคลือบ, See also: เคลือบด้วยฟิล์ม
filmstrip(n) ฟิล์มภาพยนตร์
filmy(adj) ซึ่งถูกปกคลุมด้วยเยื่อบางๆ, See also: ซึ่งเคลือบด้วยฟิล์ม, Syn. gauzy, gossamer
frame(n) ภาพหนึ่งในฟิล์มภาพยนตร์
load(vt) บรรจุ (ฟิล์มในกล้องถ่ายรูป)
microfiche(n) แผ่นฟิล์มขนาดเล็กมาก
microfilm(n) ฟิล์มขนาดเล็กใช้ฉายหนังหรือถ่ายภาพโดยลดขนาดภาพที่ถ่ายลงได้มาก, See also: ไมโครฟิล์ม, ฟิล์มขนาดเล็กใช้บรรจุข้อมูล
microfilm(vi) ย่อเอกสารเก็บใส่ฟิล์มขนาดเล็ก, See also: ถ่ายไมโครฟิล์ม
microfilm(vt) ย่อเอกสารเก็บใส่ฟิล์มขนาดเล็ก, See also: ถ่ายไมโครฟิล์ม
out-take(n) ฟิล์มส่วนที่เสียและถูกตัดแยกออกมา
print(n) รูปถ่ายที่อัดออกมาจากฟิล์ม, See also: รูปถ่ายที่อัดออกมาจากฟิล์มหรือกระจก
radiograph(n) ภาพบนฟิล์มเอ็กซเรย์, See also: ภาพเอ็กซเรย์, Syn. roentgenogram, X-rays
radiographer(n) ผู้ถ่ายภาพบนฟิล์มเอ็กซเรย์
reel(n) ม้วนฟิล์ม
rewind(vt) กรอเทปหรือฟิล์มไปที่ต้นม้วน, Syn. play back, rerun
run back(phrv) ฉายกลับ, See also: กรอฟิล์มกลับ, ฉายย้อน, Syn. run to, wind back
soundtrack(n) เสียงในฟิล์ม, See also: เสียงเซาด์แทร็ก
spool(n) แกนม้วนสาย (เช่น หลอดด้าย ม้วนฟิล์ม ม้วนสายไฟ), See also: หลอดม้วน, Syn. cylinder, reel
underexpose(vi) ทำให้ฟิล์มถูกแสงไม่พอ, Ant. overexpose
underexposure(n) การทำให้ฟิล์มถูกแสงไม่พอ
videotape(n) แผ่นฟิล์มที่ใช้บันทึกภาพโทรทัศน์, See also: เทปวิดีโอ, Syn. magnetic tape, video, recording, tape recorder
wetting agent(n) น้ำยาหรือสารเคมีที่ใช้เคลือบฟิล์ม กระจกหรือวัตถุอื่น, See also: เพื่อป้องกันการเกิดฟอง

Hope Dictionary
acutance(อะคู' เทินซฺ) n. การวัดความชัดของฟิล์ม, ความคมของภาพในฟิล์ม
celluloid(เซล'ลูลอยดฺ) n. วัตถุใสที่ใช้ทำฟิล์มภาพยนตร์ ฟิล์มเอกซเรย์ ของเด็กเล่นและอื่น ๆ
cim(ซีไอเอ็ม) 1. ย่อมาจาก computer input from microfilm (ไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้) 2. ย่อมาจาก computer integrated manufacturing (การผลิตแบบผสมผสานด้วยคอมพิวเตอร์) หมายถึงการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ร่วมด้วย
com-1. Pref. รวมกัน, ด้วยกัน, อย่างสมบูรณ์, Syn. co-, 2. คอม 1. ย่อมาจาก COMmunication port หมายถึงช่องที่ใช้สำหรับต่อออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อจะหมุนเลขหมายโทรศัพท์บนคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็ม คอมพิวเตอร์ก็จะต้องรับรู้กันให้ได้ว่า ช่องที่ติดต่อกับโมเด็มนั้นคือช่องไหน กำหนดได้หลายช่องเรียกว่า COM1, COM2 2. ใช้เป็นนามสกุล file type ของแฟ้มข้อมูลในดอสและโอเอสทูว่า .COM เพื่อแสดงว่าเป็นแฟ้มข้อมูลกระทำการ executive program หรือโปรแกรมประเภทเดียวกับ .EXE เช่น FORMAT.COM COMMAND.COM 3. ย่อมาจาก computer output on microfilm ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโคร ฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโคร ฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที
computer input from microไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้)
computer output on microfไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที
darkroom(ดาร์คฺ'รูม) n. ห้องมืดที่ใช้ล้างฟิล์ม
developer(ดีเวล'ละเพอะ) n. ผู้พัฒนา, สิ่งที่พัฒนา, น้ำยาล้างฟิล์มถ่ายรูป, ผู้บุกเบิก
dipper(ดิพ'เพอะ) n. ผู้จุ่ม, กระบวย, สิ่งที่ใช้จุ่ม, รางน้ำยาล้างฟิล์ม, นกที่ดำน้ำเก่ง, ชื่อกลุ่มดาว (Big Dipper, Little Dipper)
fiche(ฟีช) n. ฟิล์มจิ๋ว
film(ฟิล์ม) n. ฟิล์ม, เยื่อหุ้ม, เยื่อบาง, หมอกบาง, ฝ้า, ฟิล์มถ่ายรูป, ฟิล์มภาพยนตร์, ภาพยนตร์. vt. เอาฟิล์มหุ้ม, ถ่ายภาพยนตร์, ฉายภาพยนตร์. vi. ปกคลุมด้วยฟิล์ม
filmy(ฟิล'มี) adj. เกี่ยวกับหรือคล้ายฟิล์ม, คลุมหรือปิดด้วยฟิล์ม., See also: filmily adv. filminess n. filmily, adv. filminess n.
halationn. การเกิดบริเวณมัวที่ภาพถ่าย, รอยพร่ารอบดวงโคมในฟิล์มถ่ายรูปเงาทรงกด, แสดงทรงกด
microficheไมโครฟิชหมายถึงแผ่นไมโครฟิล์มเล็ก ๆ มีขนาดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างยาวด้านละ 105 มิลลิเมตร ใช้เก็บภาพถ่ายของเอกสารโดยย่อไว้ในขนาดที่เล็กมาก เพื่อให้สะดวกในการเก็บรักษา และเป็นการประหยัดเนื้อที่ สามารถนำติดตัวไปไหน ๆ ได้สะดวก เพราะจะเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ข้อมูลเหล่านี้จะอ่านด้วยตาเปล่าไม่ได้ ต้องใช้กล้องขยายสำหรับอ่านโดยเฉพาะ เรียกว่า microfich reader
microfilm(ไม'คระฟิล์ม) n. ฟิล์มจิ๋ว
negative(เนก'กะทิฟว) adj., n. (การ) คัดค้าน, ปฏิเสธ, ได้ผลขั้วลบ, ฟิล์มหรือกระจกถ่ายรูปที่กลับสีดำเป็นขาว, ค่าหรือสัญลักษณ์ที่เป็นลบ, เครื่องหมายลบ
overtime(โอ'เวอะไทมฺ) n. ระยะนอกเวลาในการทำงาน, งาน (เงิน) นอกเวลา -adv., adj. นอกเวลา vt. ล้างฟิล์มนานเกินไป
recording filmn. ฟิล์มบันทึก, เทปบันทึกเสียง
recordist(รีคอร์ด'ดิสทฺ) n. เจ้าหน้าที่บันทึกเสียง (โดยเฉพาะฟิล์มภาพยนตร์)
reducer(รีดู'เซอะ) n. ผู้ทำให้ลด, ตัวทำให้ลด, น้ำยา (oxidizing solution) ที่ใช้ลดความเข้มข้นของฟิล์มเนกาติฟว์, น้ำยาล้างรูปถ่าย
reel(รีล) n. หลอด, หลอดด้าย, หลอดไม้รวก, รอกม้วน, เครื่องม้วน, จานม้วน, เครื่องปั่นด้าย, ปริมาณด้ายหรือเทปหรือฟิล์มต่อม้วน, อาการหมุน (เคว้ง, โซเซ...) vt. ม้วน, ปั่นด้าย, ทำให้หมุน vi. หมุน, เคว้ง, โซเซ, วกเวียน, หมุนเวียน, รู้สึกเวียนศีรษะ -Phr. (reel of พูดหรือเขียนหรือผลิตออกมาอย่างรวดเร็วและง่ายดาย)
sub(ซับ) n. เรือใต้น้ำ, ตัวแทน, สิ่งแทน, ตัวรอง, substratum (ดู) . vi. เป็นตัวแทน, เคลือบฟิล์มด้วย substratum, Syn. substitute
thin filmฟิล์มบางเป็นวัสดุชนิดหนึ่ง ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูล หรืออาจใช้ทำหน่วยความจำหลัก เลย เรียกว่า thin-film memory สามารถเรียกหาข้อมูลได้เร็วมาก โดยปกติจะมีขนาด 1/20 ตารางนิ้ว มีความหนาไม่ ถึง 1 ไมครอน ใช้แทนทรานซิสเตอร์ได้เป็นพัน ๆ ตัว
underexpose(อัน'เดอะอิคซฺโพซ') vt. ทำให้ฟิล์มถูกแสงไม่เพียงพอ
underexposure(อัน'เดอะอิคซฺโพ'เ?อะ) n. การทำให้ฟิล์มถูกแสงไม่เพียงพอ, ภาพถ่ายหรือภาพเนกาติฟที่ถูกแสงไม่เพียงพอ
x-film(เอคซฺ'ฟิล์ม) n. ภาพยนต์จำกัดผู้ชม (เช่น ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 16 ขวบเข้าชม)

Nontri Dictionary
cartridge(n) กระสุนปืน, ม้วนเทป, ม้วนฟิล์ม
develop(vi) พัฒนา, ก้าวหน้า, เจริญ, ล้างรูป, ล้างฟิล์ม
development(n) การพัฒนา, ความก้าวหน้า, ความเจริญ, วิวัฒนาการ, การล้างฟิล์ม
film(n) เยื่อหุ้ม, เยื่อบาง, ฟิล์ม, ภาพยนตร์, ฝ้า
filmy(adj) มีเยื่อบาง, คลุมด้วยฟิล์ม, เกี่ยวกับภาพยนตร์, เยิ้ม, อย่างเลือนๆ
negative(n) คำปฏิเสธ, การคัดค้าน, ฟิล์มถ่ายรูป, ทางลบ, เครื่องหมายลบ
spool(n) หลอด, หลอดด้าย, ฟิล์มถ่ายรูป, ผ้าหมึกพิมพ์ดีด

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
abrasion(n) รอยขีด--ในการถ่ายรูป หมายถึง รอยถลอก ขีดข่วน หรือตำหนิ เกิดขึ้นโดยการสัมผัสบนผิวที่เคลือบด้วยน้ำยาหรือเนื้อแผ่นฟิล์ม
epitay(n) เป็นชื่อกระบวนการปลูกฟิล์มเป็นผลึกเชิงเดี่ยวบนผิวหน้าฐานรองที่เป็นผลึกเชิงเดี่ยว
exposure(n) ปริมาณแสงที่ฟิล์มหรือตัวเซ็นเซอร์ได้รับ โดยการควบคุมรูรับแสงของเลนส์และความเร็วชัตเตอร์ที่ตัวกล้อง, รูรับแสง
ISO, International Organization for Standardization(n, phrase, abbrev, org, uniq) ความไวแสงของฟิล์มในการถ่ายภาพหรือตัวเซ็นเซอร์ของกล้องถ่ายรูป
solarisation(n) การผึ่งแดด, การตากแดด, การเปิดให้ได้แสงมากเกินไป(ฟิล์ม)

Longdo Approved DE-TH
Film(n) |der, pl. Filme| ฟิล์ม แผ่นฟิล์มสำหรับถ่ายภาพ

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 0.8353 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม