128 ผลลัพธ์ สำหรับ *บทความ*
ภาษา
หรือค้นหา: บทความ, -บทความ-Longdo Unapproved TH-DHAMMA - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มวยไทยชิงแชมป์โลก | [sungice] (vt) มวยไทยชิงแชมป์โลก ศึกการแข่งขันมวยไทยที่ยิ่งใหญ่ การแข่งขัน มวยไทยชิงแชมป์โลก เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่มีความสำคัญและน่าตื่นเต้นที่สุดในวงการมวยไทย ไม่เพียงแต่เป็นการแข่งขันที่เพื่อความเป็นแชมป์ แต่ยังเป็นที่ตกตามพิธีกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรมไทย แทงมวยออนไลน์ ในบทความนี้ เราจะสำรวจความมีเกียรติและประวัติศาสตร์ของมวยไทยชิงแชมป์โลก กับความสนุกอันยิ่งใหญ่ของการแข่งขันกีฬาที่ทุกท่านไม่ควรพลาด เว็บมวยออนไลน์ https://007ufa.bet/%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81/ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
บทความ | น. ข้อเขียนซึ่งเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร สารานุกรม เป็นต้น. |
ข้อสังเกต | น. สิ่งที่กำหนดไว้ให้สนใจเป็นพิเศษ เช่น บทความนี้มีข้อสังเกตอยู่หลายประการ เขาตั้งข้อสังเกตว่า ๒-๓ วันนี้มีชายแปลกหน้ามาเยี่ยม ๆ มอง ๆ ที่ประตูบ้านบ่อย. |
บทคัดย่อ | น. ข้อความที่ย่อแต่ใจความสำคัญของบทความหรืองานวิจัยเป็นต้น. |
ประกวด | ก. แข่งขันเพื่อเลือกเฟ้นเอาดี โดยมีการตัดสิน เช่น ประกวดนางงาม ประกวดบทความ. |
วารสาร | น. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา พิมพ์เรื่องที่เป็นงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการ มีผู้ตรวจรับรองคุณภาพทางวิชาการ เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์. |
วิชาการ | น. วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวิชาการ การประชุมวิชาการ. |
สละสลวย | (สะหฺละสะหฺลวย) ว. ที่กล่าวหรือเรียบเรียงได้เนื้อถ้อยกระทงความ และมีสำนวนกลมกลืนไพเราะระรื่นหู (ใช้แก่ถ้อยคำสำนวน) เช่น บทความนี้มีสำนวนสละสลวย. |
สำนวน | ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่น อิเหนามีหลายสำนวน บทความ ๒ สำนวน. |
สำบัดสำนวน | น. สำนวน, คารมพลิกแพลง, เช่น เขาพูดมีสำบัดสำนวนมาก บทความของเขาเต็มไปด้วยสำบัดสำนวน. |
ห้วน, ห้วน ๆ | ว. สั้น ๆ, ไม่มีหางเสียง, เช่น พูดห้วน ๆ, มีลักษณะที่จบลงอย่างรวบรัด เช่น บทความเรื่องนี้จบลงอย่างห้วน ๆ. |
หั่นแหลก | ก. ตัดลงอย่างมาก เช่น บทความนี้ถูกหั่นแหลก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
article | บทความ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
article | ๑. มาตรา (ในกฎหมาย), ข้อ๒. ข้อบังคับ, กฎ๓. บท๔. บทความ, ข้อความ๕. ของ, สิ่งของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
advertorial | บทความโฆษณา [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
journal papers | บทความวิชาการวารสาร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Unsigned article | บทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Unsigned article | บทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Impact factor | ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี, Example: Impact factor คือ ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี โดยเปรียบเทียบกับจำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา หรือหมายถึง ความถี่ที่บทความในวารสารนั้นจะได้รับการอ้างถึง หรือถูกนำไปใช้ <p> วิธีคำนวณหาค่า Impact Factor ในรอบ 2 ปี มีดังนี้ <p> A= จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2003 ที่อ้างอิงถึงบทความปี 2001-2002 <p> B= จำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในปี 2001-2002 โดยวารสารนั้น <p> C= A/B = Impact factor ปี 2003 ของวาสารชื่อนั้น หรือจำนวนครั้งโดยเฉลี่ย ที่บทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนั้นในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา (2001-2002) และได้รับการอ้างอิงในปี 2003 <p> ตัวอย่างเช่น ค่า Impact factor ปี 2003 ของวารสาร Science หมายความว่า มีการตีพิมพ์บทความในวารสาร Science ในปี 2001-2002 และถูกนำมาอ้างอิงในปี 2003 มีจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยเกิดขึ้นเท่าไร พบว่าวารสารที่ดีจะมีค่า Impact factor สูง ดังนั้น Impact factor เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ เปรียบเทียบ และ จัดอันดับวารสาร (Journal Ranking) ช่วยประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการจัดหาและบอกรับวารสารของห้องสมุด และยังสามารถใช้ประเมินคุณภาพของสถาบันการศึกษาได้ด้วย เนื่องจากค่า Impact Factor สามารถบอกถึงคุณภาพของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารของนักวิจัยจากแต่ละสถาบันได้เป็นอย่างดี Impact factor นี้คิดขึ้นโดย ยูจีน การ์ฟิลด์ (Eugene Garfield) ผู้ก่อตั้ง Institute for Scientific Information (ISI) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา <p> การจัดอันดับวารสารของวารสารจากทั่วโลก มีการใช้ค่า Impact Factor รวมทั้งค่าอื่นๆ เช่น Cited Half-Life และ Immediacy Index มาพิจารณาประกอบกัน โดยได้รวบรวมและสรุป ไว้ใน Journal Citation Report (JCR) เป็นประจำทุกปี ซึ่งจัดทำโดย Institute Scientific Information (ISI) ตั้งแต่ปี 1975 จนถึงปัจจุบัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Articles | บทความ [การแพทย์] |
Preprint | บทความหรือเอกสารทางวิชาการก่อนตีพิมพ์หรือเผยแพร่โดยผ่านกระบวนการประเมิน, Example: ในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Preprint ถือว่าเป็นฉบับร่างหรือเป็นฉบับก่อนที่ตีพิมพ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของผลงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์หรือเผยแพร่อย่างสมบูรณ์โดยผ่านกระบวนการประเมินโดยคณะกรรมการ (peer review) เนื่องจากในกระบวนการพิมพ์วารสารทางวิชาการต้องผ่านกระบวนการประเมินจากคณะกรรมการ ซึ่งใช้เวลาหลายสัปดาห์ หลายเดือน หรือบางทีอาจจะเป็นปี นับตั้งแต่การส่งผลงานนั้นเข้ามา ความต้องการในการเผยแพร่เอกสารออกไปโดยเร็วจึงรู้จักกันว่าเป็นฉบับ preprint โดยต้นฉบับก็ยังดำเนินการประเมินต่อไป บางสำนักพิมพ์อนุญาตให้นำเอกสารหรือบทความฉบับ Preprint เผยแพร่อย่างเสรีได้ในระบบ Open Access <p> <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120824-Preprint.jpg" width="540" higth="100" alt="Preprint"> <p> จากรูปเป็นกระบวนการพิมพ์ ซึ่งจะเห็นว่า preprint อยู่ในส่วนต้นก่อนจะได้รับการเผยแพร่ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>Waaijiers, Ieo and Wesseling, Michel. 2009. "Publish and Publish and Cherish With Non-proprietary Peer Review Systems" Ariadne 59. http://www.ariadne.ac.uk/issue59/waaijers <p>Preprint. 2012. http://www.openaccess.be/default.aspx?PageId=589. Accessed. 24-12-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Postprint | บทความหรือเอกสารทางวิชาการที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่หลังจากผ่านกระบวนการประเมิน, Example: ในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ Postprint ถือว่าเป็นเอกสารหรือบทความที่ได้รับการประเมินแล้ว แต่อาจจะยังมิได้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายของการพิมพ์ แต่ในแง่ของเนื้อหานั้น psorprint ถือว่าเป็นบทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการพิมพ์ สำนักพิมพ์มักจะคงการพิมพ์และรูปแบบตามที่สำนักพิมพ์กำหนด บางสำนักพิมพ์อนุญาตให้เผยแพร่ Postprint อย่างเสรีได้ในระบบ Open Access <p> <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120824-Preprint_0.jpg" width="540" higth="100" alt="Postprint"> <p>จากรูปเป็นกระบวนการพิมพ์ ซึ่งจะเห็นว่า postprint อยู่ในส่วนท้ายก่อนจะได้รับการเผยแพร่ <p>รายการอ้างอิง <p>Waaijiers, Ieo and Wesseling, Michel. 2009. "Publish and Publish and Cherish With Non-proprietary Peer Review Systems" Ariadne 59. http://www.ariadne.ac.uk/issue59/waaijers <p>Postprint. 2012. http://www.openaccess.be/default.aspx?PageId=588. Accessed. 24-12-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Signed article | บทความที่มีชื่อผู้เขียนกำกับ, Example: <b>บทความที่มีชื่อผู้เขียนกำกับ (Signed article)</b> เป็นรายการในหนังสืออ้างอิงประเภทที่ประกอบด้วยบทความจำนวนมาก ๆ เช่น สารานุกรม อักขรานุกรมชีวประวัติ อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ที่มีผู้ร่วมเขียนบทความในหนังสือนี้เป็นจำนวนมาก และต้องการแสดงหลักฐานกำกับให้ทราบแน่ชัดว่า บทความใดใครเป็นผู้เขียน จึงลงชื่อผู้เขียนกำกับไว้ โดยทั่วไปจะให้ไว้ที่ตอนเริ่มต้นหรือตอนท้ายสุดของเนื้อหา อาจใช้ชื่อย่อ โดยมีบัญชีรายชื่อผู้เขียนทั้งหมดไว้ส่วนหนึ่งต่างหาก ซึ่งบัญชีรายชื่อนี้อาจอยู่ท้ายเล่ม หรือบางเล่มแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับผู้เขียนบทความนั้นไว้ที่ท้ายบทความเลยก็ได้ บทความในลักษณะนี้เป็นประโยชน์ในการอ้างอิงมากขึ้น เพราะทำให้ผู้อ่านบทความนั้นทราบแน่ชัดเกี่ยวกับผู้เขียนบทความนั้นโดยตรง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บทความ | [botkhwām] (n) EN: article ; paper ; dissertation FR: article [ m ] ; texte [ m ] ; papier [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
schmooze | (vi) การพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ เช่น ในงานเลี้ยง เดิมคำนี้มักจะมีความหมายในเชิงลบ สื่อถึงคนที่คุยเก่ง แต่อาจเพื่อหาประโยชน์บางอย่างให้ตัวเอง แต่ในปัจจุบันก็มีความหมายในทางกลางๆ ไม่ได้เชิงลบเสมอไป ดูบทความอธิบายคำว่า schmooze ที่ https://dict-blog.longdo.com/whats-all-this-schmoozing-about-in-english/ |
TL;DR | (phrase, slang) ย่อมาจาก too long; didn't read เป็นคำศัพท์ที่ใช้กันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อระบุว่า ข้อความที่ตามมาจะเป็นการสรุปเนื้อหาสั้นๆ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาอ่านทั้งบทความ (ซึ่งมักจะต้องใช้เวลานาน) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
article | (n) บทความ, Syn. essay, editorial, item |
cutting | (n) บทความที่ตัดจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, Syn. clipping |
digest | (n) หนังสือที่รวบรวมบทความ |
digest | (n) หนังสือรวบรวมบทความหรือเรื่องราวสั้นๆ |
editorialize | (vi) เขียนบทบรรณาธิการ, See also: ลงบทความ, ใส่ข้อคิดเห็น |
essay | (n) ความเรียง, See also: ข้อเขียน, บทความ, เรียงความ, Syn. article, composition |
feature | (n) สารคดีพิเศษ, See also: บทความพิเศษ, Syn. article, column, editorial, letters to the editor |
monograph | (n) บทความเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ, See also: เอกสาร, ข้อเขียน, หนังสือ, Syn. treatise, dissertation, essay, report |
paragraph | (vt) เขียนข่าวหรือบทความย่อหน้าสั้นๆ |
passage | (n) ตอน, See also: ส่วนบทความ, ข้อความ, บทความ, ท่อนเพลง |
piece | (n) เรื่องในหนังสือพิมพ์, See also: บทความ |
rhapsody | (n) คำพูดหรือบทความที่ดูกระตือรือล้น (มักใช้รูปพหูพจน์ rhapsodies), Syn. exaggeration |
screed | (n) ข้อเขียนยืดยาวและไม่น่าสนใจ, See also: บทความยืดยาวและไม่น่าสนใจ |
squib | (n) คำพูดหรือบทความล้อเลียน, See also: คำพูดหรือบทความประชดประชัน, Syn. pasquinade, satire |
theme | (n) บทความ, See also: งานเขียนสั้นๆ, Syn. composition, essay, paper, report |
thesis | (n) หัวข้อของบทความ |
treatise | (n) บทความ |
write-up | (n) บทวิจารณ์ (เกี่ยวกับละคร, หนัง, เพลง), See also: บทความ เกี่ยวกับละคร, หนัง, เพลง, Syn. critique, notice, review |
Hope Dictionary
anticlimax | (แอนทีไคล' แมคซฺ) n. เหตุการณ ์ (ข้อสรุป, บทความ, การพูด, เนื้อหา) ที่สำคัญน้อยกว่าที่คาดหมายอย่างกระทันหัน, การเปลี่ยนความเข้มข้นหรือความสำคัญของเรื่องราวดังกล่าวอย่างทันที. -anticlimac- |
argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion |
article | (อาร์'ทิเคิล) n. สิ่งของ, ชิ้น, สินค้า, บทความ, มาตรา, ข้อ, ข้อบังคับ, รายการ, คำนำหน้านาม. -vt. กล่าวหา, ฟ้อง, ทำให้ข้อบังคับผูกมัด, Syn. item, object, piece, essay |
authorship | (ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน |
causerie | (โคซะรี') n. การสนทนา, บทความสั้น ๆ |
commentary | (คอม'มันทะรี) n. ข้อคิดเห็น, คำวิจารณ์, บทความแสดงข้อคิดเห็น, สิ่งที่ใช้อธิบาย, See also: commentaries n. บันทึกเหตุการณ์, บันทึกข้อเท็จจริง commentarial adj. ดูcommentary |
dissert | (ดิเซิร์ท') vi. สนทนา, ปาฐกถา, บรรยาย, สาธก, เขียนปริญญานิพนธ์, เขียนบทความ |
dissertation | n. ปริญญานิพนธ์ (โดยเฉพาะของปริญญาเอก) , การสนทนา, การบรรยาย, การเขียนบทความ, See also: dissertational adj. ดูdissertation dissertationist n. ดูdissertation, Syn. treatise, thesis |
editorial | (เอดดิโท'เรียล) n., adj. (เกี่ยวกับ) บทบรรณาธิการ, บทนำ, บทความ., See also: editorialist n. |
paragraph | (แพ'ระกราฟ) n. วรรค, ตอน, ข้อความสั้น ๆ , ข่าวสั้น, บทสั้น. vt. แบ่งออกเป็นวรรคหรือตอน, ย่อหน้า vi. เขียนบทความสั้น |
puff | (พัฟ) n. กลุ่มควัน (หมอก, ไอ) , การพ่น, เสียงพ่น, สิ่งที่พ่นออก, ปุย, ปอย, ก้อนนูน, แป้งหรือปุยผัดหน้า, ผ้าห่ม, บทความสั้น ๆ ที่เป็นการยกยอ vi. พ่นควัน, พัดเป็นพัก ๆ , หอบ, ฮือ, พองตัว, โป่งออก vt. เป่า, พัด, ผาย, สูบ, สูด, อวดดี, ยกย่อง, ทำให้เป็นปุย., See also: puffingly |
sketchbook | n. สมุดร่างภาพ, สมุดสำหรับเขียนหวัด ๆ , สมุดบทความสั้น ๆ |
summary | (ซัม'มะรี) n. สรุป, ใจความสำคัญ, ใจความรวบรัด, บทความย่อ, สาระสำคัญ, จุด สำคัญ. adj. สรุป, รวบรัด, ใจความสำคัญ, โดยสังเขป, รวดเร็ว, โดยตรง., See also: summarily adv. summariness n., Syn. compendium, brief, condensation |
summing-up | (ซัม'มิงอัพ) n. ข้อสรุป, บทความสรุป pl. summingsup |
thesis | (ธี'ซิส) n. วิทยานิพนธ์, ข้อวินิจฉัย, ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, บทความวิจัย, บทความ pl. theses |
treatise | (ทรี'ทิส) n. บทความ, ความเรียง, เรื่องราว, หนังสือ, ตำรา, Syn. thesis, monograph, study, disquisition |
write-up | (ไรทฺ'อัพ) n. ข้อเขียน, เรื่องราวที่เขียนไว้, บทความสรรเสริญ, การเพิ่มมูลค่าของรายการในบัญชีให้สูงกว่าความเป็นจริง |
Nontri Dictionary
article | (n) บทความ, สิ่งของ, คำนำหน้านาม |
columnist | (n) คนเขียนบทความ, คอลัมนิสต์ |
context | (n) ปริบท, บทความ, ท้องเรื่อง, อรรถาธิบาย, สิ่งแวดล้อม |
editorial | (adj) เกี่ยวกับบรรณาธิการ, เกี่ยวกับบทความ, เกี่ยวกับบทบรรณาธิการ |
editorial | (n) หน้าบรรณาธิการ, บทนำ, บทความ, บทบรรณาธิการ |
preamble | (n) คำนำ, อารัมภกถา, บทความเบื้องต้น, พระราชปรารถ |
thesis | (n) วิทยานิพนธ์, ข้อสมมุติ, เรื่องแต่ง, ข้อวินิจฉัย, บทความ |
treatise | (n) เอกสาร, หนังสือ, ตำรา, บทความ, ความเรียง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
節 | [ふし, fushi] บทหรือเนื้อหาหรือตอนในบทความหรือในหนังสือ Section |
文案 | [ぶんあん, bun'an] (n) ฉบับร่าง (ของบทความต่างๆ) |
文意 | [ぶんい, bun'i] ใจความสำคัญ (ของประโยคหรือบทความ) |
文意 | [ぶんい, bun'i] ใจความสำคัญ (ของประโยคหรือบทความ) |
文章 | [文章, bunshou] บทความ |
投稿 | [とうこう, toukou] ส่ง(ต้นฉบับให้สำนักพิมพ์) , ปล่อย, ลง(ภาพ วิดิโอ หรือบทความ ลงอินเตอร์เน็ต) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
記事 | [きじ, kiji] TH: บทความ |
前書き | [まえがき, maegaki] TH: บทนำในบทความ หนังสือ เอกสาร EN: preface |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.4108 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม