133 ผลลัพธ์ สำหรับ *ตุลาการ*
ภาษา
หรือค้นหา: ตุลาการ, -ตุลาการ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตุลาการ | (n) judge, See also: justice, Thai Definition: ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
อำนาจตุลาการ | (n) judicial power, Example: พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจตุลาการผ่านทางศาล, Notes: (กฎหมาย) |
อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, See also: umpire, Example: เธอจะเสนอเรื่องให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด, Thai Definition: บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีในสัญญาอนุญาโตตุลาการตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้ขาด, Notes: (กฎหมาย) |
อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, Example: เขาเป็นอนุญาโตตุลาการคนหนึ่งของข้อพิพาทนี้, Thai Definition: บุคคลที่คู่กรณีตกลงกันตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นคนกลางชี้ขาดในข้อพิพาท |
สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ | (n) Office of the Judicial Affairs |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. |
อนุญาโตตุลาการ | น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท. |
กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. |
-การ ๒ | น. ผู้ทำ, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคำบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคำอื่นที่ไม่ใช่คำศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ. |
ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. |
ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. |
ผู้พิพากษาสมทบ | น. บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้งตามกฎหมายจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษ ให้เป็นองค์คณะร่วมกับผู้พิพากษาซึ่งเป็นข้าราชการตุลาการ มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดี เช่น ผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัว ผู้พิพากษาสมทบในศาลแรงงาน. |
พิพากษา | ก. ตัดสินคดีโดยศาล, เรียกตุลาการผู้ทำหน้าที่ตัดสินดังกล่าว ว่า ผู้พิพากษา, เรียกคำตัดสินนั้น ว่า คำพิพากษา. |
แมยิสเตร็ด | น. ผู้ทำหน้าที่ตุลาการในศาลชั้นต้นของต่างประเทศซึ่งอาจจะเป็นผู้พิพากษาอาชีพหรืออาสาสมัครก็ได้. |
ศาล | (สาน) น. องค์กรฝ่ายตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี, ผู้พิพากษาหรือตุลาการซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. |
ศาลหลวง | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลาลูกขุนนอก ก็เรียก. |
ศาลาลูกขุนนอก | น. ที่พิจารณาตัดสินคดีความของคณะตุลาการตั้งอยู่นอกพระราชวังหลวง, ศาลหลวง ก็เรียก. |
สุภา | น. ตุลาการ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
power, judicial | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lord Chancellor; Lord High Chancellor | ประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
award | คำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
award | ๑. คำตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ๒. รางวัลเกียรติคุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arbitrament | คำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arbitration | การใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arbitration clause | ข้อกำหนดการใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arbitration, compulsory | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judiciary | ฝ่ายตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judiciary | ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice in eyre | ตุลาการจร [ ดู itinerant justices ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial authority | เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicature | องค์การฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial | เกี่ยวกับฝ่ายตุลาการ, เกี่ยวกับการศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial function | ตำแหน่งฝ่ายตุลาการ, อำนาจหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial power | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judicial power | อำนาจตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quasi-arbitrator | คล้ายอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Military Judicial Commission | คณะกรรมการตุลาการทหาร (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
compulsory arbitration | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constitutional tribunal | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
constitutional tribunal | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Commission, Judicial Service | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
itinerant justices | ตุลาการจร [ ดู justice in eyre ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immunity, judicial | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tribunal, constitutional | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tribunal, constitutional | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Arbitration | อนุญาโตตุลาการ, Example: การระงับข้อพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution) วิธีหนึ่ง โดยการที่คู่กรณีตกลงเสนอข้อพิพาทให้บุคคลหรือคณะบุคคลที่เรียกว่า “อนุญาโตตุลาการ” ทำหน้าที่พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทนั้น และคู่กรณีตกลงที่จะเห็นด้วยตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ สำนักงานได้จัดให้มีกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการตามนโยบายของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่เห็นสมควรให้มีมาตรการคุ้มครองสิทธิของผู้ลงทุนซึ่งเป็นลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากมีผู้ลงทุนได้รับความเสียหายจากการที่ผู้ประกอบการดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งการที่ผู้ลงทุนจะได้รับการชดเชยความเสียหายดังกล่าวอาจมีภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจนไม่คุ้มกับความเสียหายที่ได้รับ หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทั่วไป จึงได้เพิ่มช่องทางให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกในการเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ประกอบการผ่านวิธีอนุญาโตตุลาการ ซึ่งเป็นวิธีการระงับข้อพิพาทที่สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม และประหยัดค่าใช้จ่าย โดยกำหนดกระบวนการระงับข้อพิพาทเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก คือ กระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นระหว่างผู้ลงทุนกับผู้ประกอบการดังกล่าว ผู้ลงทุนต้องดำเนินการร้องเรียนตามกระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบการก่อน ขั้นตอนที่สอง คือ กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการของสำนักงาน โดยในกรณีที่ไม่สามารถระงับข้อพิพาทได้ในขั้นตอนแรก เช่น ลูกค้าและผู้ประกอบการไม่สามารถตกลงกันได้ หรือผู้ประกอบการไม่ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนภายในระยะเวลาที่กำหนด เป็นต้น คู่กรณีสามารถเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ โดยผ่านการตกลงด้วยความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์หรือกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือเข้ามาโดยผลของกฎหมายผ่านการแสดงความประสงค์เป็นหนังสือของลูกค้าไปยังผู้ประกอบการหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ ไม่ว่าในกรณีใด ผู้ร้องสามารถเลือกที่จะให้สำนักงานเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ หากคู่กรณียังไม่สามารถตกลงกันได้จึงจะเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการต่อไป [ตลาดทุน] |
Arbitration agreements, Commercial | อนุญาโตตุลาการการค้า [TU Subject Heading] |
Arbitration and award | อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Arbitration and award, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน [TU Subject Heading] |
Arbitration, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Arbitrators | อนุญาโตตุลาการ [TU Subject Heading] |
Compensation for judicial error | ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] |
Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Award (1958) | อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับและใช้บังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (ค.ศ. 1958) [TU Subject Heading] |
Judicial error | ความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] |
Judicial ethics | จรรยาบรรณของตุลาการ [TU Subject Heading] |
Judicial independence | ความเป็นอิสระแห่งอำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] |
Judicial power | อำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] |
award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] |
arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [การทูต] |
Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อำนาจตุลาการ | [amnāt tulākān] (n, exp) EN: judicial power ; judiciary power ; judiciary FR: pouvoir judiciaire [ m ] |
อนุญาโตตุลาการ | [anuyātōtulākān] (n) EN: arbitrator ; umpire FR: arbitre [ m ] |
ฝ่ายตุลาการ | [fāi tulākān] (n, exp) EN: judiciary |
การบริหารงานตุลาการ | [kān børihān ngān tulākān] (n, exp) EN: judicature |
คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ | [khamchīkhāt khøng anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitration award |
กฎหมายอนุญาโตตุลาการ | [kotmāi anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitrator |
ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judge ; arbitrator ; arbiter ; adjudicator ; body of judges ; bench FR: juge [ m ] ; magistrat [ m ] ; magistrature [ f ] |
ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judicial service ; justice ; judiciary FR: système judiciaire [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
arbitration | (n) อนุญาโตตุลาการ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bench | (n) บัลลังก์ของตุลาการ |
judge | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Syn. arbiter, justice, magistrate |
judiciary | (n) คณะตุลาการ, See also: คณะผู้พิพากษา |
justice | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Ant. judge, magistrate |
surrogate | (n) ตุลาการท้องถิ่น (ในบางรัฐ), Syn. judge |
Hope Dictionary
arbiter | (อาร์'บิเทอะ) n. ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, คนชี้ขาด, ผู้กำชะตาชีวิต, อนุญาโตตุลาการ (judge) |
arbitrage | (อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ |
arbitrament | (อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ |
arbitrate | (อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede) |
arbitration | (อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน. |
bench | (เบนชฺ) { benched, benching, benches } n. ม้านั่ง, บัลลังก์ (ตุลาการ) , ผู้พิพากษา, ศาล, ม้านั่งยาวสำหรับหลายคนนั่ง vt. วาง (ม้านั่ง) ตั้งไว้, วางแสดง, ทำให้นั่งอยู่ที่นั่ง |
chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ |
chancellor | (ชาน'ซะเลอ) n. เสนาบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, เอกอัครราชทูต, ตุลาการใหญ่, See also: chancellorship n. |
judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge |
juror | (จัว'เรอะ) n. ลูกขุน, ตุลาการ, กรรมการตัดสิน, ผู้ให้คำปฏิญาณ |
jury | (จัว'รี) n. คณะลูกขุน, คณะตุลาการ, คณะกรรมการผู้พิจารณา การให้รางวัลและการตัดสิน adj. ใช้ชั่วคราว, ชั่วคราว |
justiciar | (จัสทิช'ชีเออะ) n. เจ้าหน้าที่ตุลาการชั้นสูง, See also: justiciarship n. |
justiciary | (จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ |
squire | (สไคว'เออะ) n. (ในอังกฤษ) ผู้ดีบ้านนอก, คหบดีบ้านนอก, ผู้รับใช้นักรบสมัยก่อน, นาย, ทนายความ, ตุลาการ, ผู้เอาอกเอาใจสตรี, เจ้าหน้าที่รักษาความสงบ. vt. รับใช้นักรบ, ปรน-นิบัติ, เอาอกเอาใจ., Syn. valet, attendant, page |
tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
Nontri Dictionary
arbiter | (n) ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, ผู้ชี้ขาด |
judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ |
judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี |
jury | (n) คณะตุลาการ, คณะลูกขุน |
juryman | (n) ตุลาการ, ลูกขุน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
award | (n) คำตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (ศัพท์กฎหมาย) |
judicial conference | (n) สภาตุลาการของสหรัฐ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.3712 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม