248 ผลลัพธ์ สำหรับ *ก่อให้เกิด*
ภาษา
หรือค้นหา: ก่อให้เกิด, -ก่อให้เกิด-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ก่อให้เกิด | (v) cause, See also: produce, lead to, create, result in, bring about, Example: จำนวนคนว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้นทุกขณะอาจจะก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม, Thai Definition: ทำให้เกิด, เป็นเหตุให้เกิด |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระจองอแง | ว. เสียงเด็กที่ร้องไห้ ก่อให้เกิดความรำคาญ, ใช้เรียกลูกเด็กเล็กแดงหรือที่ยังต้องอุ้มต้องจูงอยู่ว่า ลูกกระจองอแง. |
กลไก | กระบวนการต่อเนื่องที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยา เช่น กลไกการย่อยอาหาร กลไกของการสร้างอาหารของพืชโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง. |
ก่อกวน | ก. ก่อให้เกิดความรำคาญหรือไม่สงบ. |
ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. |
กอดเก้าอี้ | ก. ยึดตำแหน่ง, ไม่ยอมละตำแหน่ง, เช่น ไม่ว่างานของเขาจะล้มเหลวและก่อให้เกิดความเสียหายเพียงใด เขาก็กอดเก้าอี้แน่น ไม่ยอมลาออก. |
การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. |
ความคิด | ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหาความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์ |
คอยล์ | น. อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งซึ่งใช้ประกอบกับเครื่องยนต์ของรถยนต์ ทำหน้าที่แปลงไฟฟ้าแรงตํ่าจากแบตเตอรี่ให้เป็นไฟฟ้าแรงสูง เพื่อก่อให้เกิดประกายไฟฟ้าที่เขี้ยวหัวเทียน. |
เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. |
เครื่องบิน | น. อากาศยานชนิดหนึ่งซึ่งหนักกว่าอากาศ ลอยตัวอยู่ได้ด้วยการให้พลังงานกลแก่อากาศโดยรอบก่อให้เกิดแรงพยุงขึ้นโต้ตอบกับความโน้มถ่วงของโลกและใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อน. |
แคลเซียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบ มีสูตรเคมี (C6H11NHSO3)2Ca. 2H2O ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. |
จลนพลศาสตร์ | (จะละนะพนละ-, จนละนะพนละ-) น. สาขาหนึ่งของพลศาสตร์ ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของเทหวัตถุที่เป็นของแข็ง และแรงที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่นั้นด้วย. |
จลนศาสตร์ | (จะละนะ-, จนละนะ-) น. สาขาหนึ่งของพลศาสตร์ ว่าด้วยการเคลื่อนที่ของเทหวัตถุที่เป็นของแข็ง โดยไม่คำนึงถึงแรงที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนที่นั้น. |
เจี๊ยว ๑ | ก. ส่งเสียงดังเซ็งแซ่ก่อให้เกิดความรำคาญ โดยมากเป็นเสียงผู้หญิงหรือเด็ก, เจี๊ยวจ๊าว ก็ว่า |
เจี๊ยว ๑ | ว. อาการที่ส่งเสียงดังเซ็งแซ่ก่อให้เกิดความรำคาญ โดยมากเป็นเสียงผู้หญิงหรือเด็ก, เจี๊ยวจ๊าว ก็ว่า. |
เจี๊ยวจ๊าว | ก. ส่งเสียงดังเซ็งแซ่ก่อให้เกิดความรำคาญ โดยมากเป็นเสียงผู้หญิงหรือเด็ก, เจี๊ยว ก็ว่า. |
เจี๊ยวจ๊าว | ว. อาการที่ส่งเสียงดังเซ็งแซ่ก่อให้เกิดความรำคาญ โดยมากเป็นเสียงผู้หญิงหรือเด็ก, เจี๊ยว ก็ว่า. |
โซเดียมไซคลาเมต | น. ชื่อสารประกอบเคมี มีสูตร C6H11NHSO3Na ลักษณะเป็นผงสีขาว ละลายนํ้าได้ มีรสหวานกว่านํ้าตาลทรายมาก ใช้เป็นตัวให้ความหวานในเครื่องดื่ม มีหลักฐานว่าสารนี้ก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้. |
นิรโทษกรรม | (นิระโทดสะกำ) น. ในทางแพ่ง หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น แต่กฎหมายยกเว้นให้ ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน เช่น การกระทำการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย การกระทำตามคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมาย |
ปฏิกรณ์ | น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู. |
ผิวหนัง | ชื่อโรคชนิดหนึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นที่ส่วนต่าง ๆ ของผิวหนัง. |
ผู้ประกันตน | น.ผู้ซึ่งจ่ายเงินสมทบอันก่อให้เกิดสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายประกันสังคม. |
ผู้สร้างสรรค์ | น. ผู้ทำหรือผู้ก่อให้เกิดงาน โดยความคิดริเริ่มของตนเอง. |
ผูกพัน | ก่อให้เกิดพันธะที่จะต้องปฏิบัติตาม |
เผอเรอกระเชอก้นรั่ว | ว. เลินเล่อ ไม่ระวังดูแลให้รอบคอบ ก่อให้เกิดความเสียหาย. |
พิพิธภัณฑ์, พิพิธภัณฑสถาน | (พิพิดทะพัน, -พันทะสะถาน) น. สถานที่เก็บรวบรวมและแสดงสิ่งต่าง ๆ ที่มีความสำคัญด้านวัฒนธรรมหรือด้านวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา และก่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจ. |
ฟักตัว | ก. ก่อให้เกิดให้เป็นขึ้นอย่างแพร่หลาย. |
ไฟ | ผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มแก๊สที่กำลังลุกไหม้ ทำให้ไหม้สิ่งต่าง ๆ ได้ |
ไฟฉาย | น. เครื่องทำความสว่าง ประกอบด้วยอุปกรณ์สำคัญ คือ จานฉายรูปโค้งสำหรับสะท้อนแสงและหลอดไฟฟ้า ซึ่งบรรจุอยู่ในเรือนกรอบกับสิ่งให้พลังงานที่ก่อให้เกิดแสงสว่าง มีหลายชนิด ชนิดที่ถือติดตัวไปมาได้ มักทำเป็นรูปทรงกระบอก. |
ไฟฟ้า | น. พลังงานรูปหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มีสมบัติแสดงอำนาจคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดพลังงานอื่น เช่น ความร้อน แสงสว่าง การเคลื่อนที่. |
มนุษยสัมพันธ์ | (มะนุดสะยะ-, มะนุดสำพัน) น. ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน. |
ยาเสพติด | น. ยาหรือสารเคมีซึ่งเมื่อเสพหรือฉีดเข้าสู่ร่างกายติดต่อกันชั่วระยะเวลาหนึ่งก็จะติด ก่อให้เกิดพิษเรื้อรัง ทำให้ร่างกายและจิตใจเสื่อมโทรม เช่น ฝิ่น กัญชา เฮโรอีน ยานอนหลับ สุรา. |
ระเบิดน้ำตา | น. ลูกระเบิดซึ่งบรรจุสารเคมีที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองแก่เยื่อตา ทำให้นํ้าตาไหล ลืมตาไม่ขึ้นอยู่ชั่วขณะ. |
ระเบิดไอพิษ | น. ลูกระเบิดที่บรรจุสารพิษซึ่งเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นแล้ว จะกลายเป็นไอหรือควันที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายและอาจทำให้ถึงแก่ความตายได้. |
โรคระบบประสาท | น. โรคของสมองและไขสันหลัง มิได้เกี่ยวข้องกับจิตใจ เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบตันหรือแตก โรคเหล่านี้ก่อให้เกิดภาวะวิกลจริตได้ในบางครั้งบางคราว. |
โรคสมอง | น. โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติใด ๆ แก่สมอง. |
ละห้อย | ว. อาการที่พูดเว้าวอนด้วยน้ำเสียงอ่อย ๆ ก่อให้เกิดความสงสารเห็นอกเห็นใจ เช่น เสียงละห้อย |
ลูกระเบิด | น. สิ่งที่มีรูปร่างต่าง ๆ บรรจุดินระเบิดหรือสารเคมีบางอย่าง เมื่อเกิดการระเบิด บางชนิดมีอำนาจในการทำลาย เช่น ลูกระเบิดทำลาย ลูกระเบิดสังหาร บางชนิดก่อให้เกิดไฟไหม้ เช่น ลูกระเบิดเพลิง บางชนิดก่อให้เกิดอาการระคายเคืองแก่เยื่อตา เช่น ลูกระเบิดน้ำตา. |
สันติวิธี | น. วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี. |
สาดน้ำรดกัน | ก. กล่าวให้ร้ายซึ่งกันและกัน, ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กันและกัน. |
สิทธิเหนือพื้นดิน | น. ทรัพย์สิทธิอย่างหนึ่งที่เจ้าของที่ดินก่อให้เกิดเป็นคุณแก่บุคคลอื่นโดยให้บุคคลนั้นมีสิทธิเป็นเจ้าของโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง หรือสิ่งเพาะปลูก บนดินหรือใต้ดินนั้น โดยไม่ตกเป็นเจ้าของที่ดิน. |
หมัน ๓ | ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เช่น งานนี้ทำไปก็เป็นหมัน. |
อยู่ดีไม่ว่าดี | ว. แทนที่จะอยู่เฉย ๆ กลับทำสิ่งที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตน เช่น อยู่ดีไม่ว่าดีขอลูกเขามาเลี้ยง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
offences relating to public security | ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disturbance of the peace | การก่อให้เกิดการวุ่นวาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
force theory of the state | ทฤษฎีอำนาจก่อให้เกิดรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
formation of contract | การก่อให้เกิดสัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Knowledge broker | นายหน้าความรู้, นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่เชื่อมโยงคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์อย่างแคล่วคล่องมากขึ้น ซึ่งความรู้ได้นี้จะเป็นความรู้ในคนหรือความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) เป็นหลัก [การจัดการความรู้] |
Bone marrow syndrome | กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ [นิวเคลียร์] |
Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
pollution | มลพิษ, มลภาวะ, มลพิษ - พิษเกิดจากความมัวหมองหรือความสกปรก <p>มลภาวะ - ความมัวหมอง หรือความสกปรก ไม่แสดงว่ามีพิษ เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดความเสียหาย น้ำตามลำคลองหรืออากาศโดยทั่ว ๆ ไปก็สกปรกแต่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสียหาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactive contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้, Example: [นิวเคลียร์] |
Radappertization | การทำปลอดจุลินทรีย์ด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค หรือ จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย เพื่อให้อาหารนั้นเก็บรักษาได้นานหลายเดือนหรือเป็นปีที่อุณหภูมิห้อง อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับผู้ป่วย และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ (ดู food irradiation ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Oxygen enhancement ratio | อัตราส่วนการเสริมผลของออกซิเจน, โออีอาร์, อัตราส่วนเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่มีผลต่อเซลล์หรือสิ่งมีชีวิตเมื่อไม่มีและมีออกซิเจน ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน <br> OER = ปริมาณรังสีเมื่อไม่มีออกซิเจน / ปริมาณรังสีเมื่อมีออกซิเจน </br> <br>(ดู radiosensitizer ประกอบ)</br>, Example: [นิวเคลียร์] |
Nuclear safety | ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์, มาตรการสำหรับป้องกันหรือลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากสถานปฏิบัติการ หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ รวมทั้งมาตรการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายหลังเกิดอุบัติเหตุ, Example: [นิวเคลียร์] |
Nuclear incident | อุบัติการณ์นิวเคลียร์, เหตุการณ์ที่เกิดขัดข้องในโรงงานนิวเคลียร์ ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ไม่รุนแรงเท่าอุบัติเหตุนิวเคลียร์ (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Ionizing radiation | รังสีชนิดก่อไอออน, รังสีหรืออนุภาคใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตอนที่มีความเร็วสูง รังสีเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต <br>(ดู beta particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Hematopoietic syndrome | กลุ่มอาการทางระบบเลือด, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่าง กายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
หัวเกรียน | ใช้เรียกการกระทำที่ดูไร้สาระ ทำแล้วไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อะไรขึ้นมา หรือใช้เรียก พวกที่ก่อกวนคนอื่นหรือทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน [ศัพท์วัยรุ่น] |
direct action | การกระทำโดยตรง, รังสีถ่ายเทพลังงานโดยตรงให้กับชีวโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น ดีเอ็นเอ และโปรตีน แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น [นิวเคลียร์] |
Relative Biological Effect | ผลทางชีววิทยาสัมพัทธ์, การเปรียบเทียบปริมาณรังสีของรังสีชนิดหนึ่งกับรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60 ที่ก่อให้เกิดผลทางชีววิทยาเหมือนกัน ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน $ RBE = \frac{ ปริมาณรังสีจากรังสีเอกซ์ 250 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ หรือรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 }{ ปริมาณรังสีจากรังสีชนิดอื่น } $ [นิวเคลียร์] |
Indirect action | การกระทำโดยอ้อม, การที่รังสีถ่ายเทพลังงานให้กับโมเลกุนของน้ำ มีผลให้เกิดอนุมูลเสรี ซึ่งมีความไวในการทำปฏิกิริยาทางเคมีกับชีวโมเลกุล แล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโมเลกุลนั้น [นิวเคลียร์] |
Offenses against public safety | ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน [TU Subject Heading] |
Uncollectible accounts | หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ [TU Subject Heading] |
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] |
ionisingradiation | รังสีชนิดก่อไอออน, คือ พลังงานในรูปแม่เหล็กไฟฟ้า หรืออนุภาครังสีใดๆ ที่สามารถก่อให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนได้ ทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในตัวกลางที่ผ่านไป เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสีแกมมา รังสีเอกซ์ อนุภาคนิวตรอน อิเล็กตรอนที่มีความเร็วสูง โปรตรอนที่มีความเร็วสูง รังสีชนิดนี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต [พลังงาน] |
irradiated food | อาหารฉายรังสี, คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใดจึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศ จะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสีและวันเดือนปีที่ฉายรังสี [พลังงาน] |
radappertization | การทำให้ปลอดจากเชื้อจุลินทรีย์ด้วยรังสี, คือ การนำอาหารประเภทเนื้อสัตว์ หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท ไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์ หรืออิเล็กตรอน ด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคหรือจุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย ยังผลให้อาหารนั้นเก็บได้นานหลายเดิอน หรือเป็นปี โดยไม่ต้องใช้ความเย็น เช่น การทำอาหารแช่แข็ง หรือใช้ความร้อน เช่น การทำอาหารกระป๋อง ตัวอย่างอาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับคนไข้ และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ [พลังงาน] |
source | ต้นกำเนิดรังสี (แหล่งกำเนิดรังสี), หมายถึง วัสดุหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถก่อให้เกิดการแผ่รังสีชนิดที่ก่อไอออนออกมา ไม่ว่าจะเป็นการแผ่รังสีด้วยการแปลงนิวเคลียสของตัวเองหรือด้วยวิธีอื่นๆ ตัวอย่างเช่น สารกัมมันตรังสีและเครื่องกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ [พลังงาน] |
no regret option | ทางเลือกในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ, Example: เป็นการกำหนดทางเลือกในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม [เศรษฐศาสตร์] |
Biological weapon | อาวุธชีวภาพ, อาวุธชีวภาพ คือ เชื้อโรค (แบคทีเรีย ไวรัส หรือ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดโรค) หรือสารชีวภาพที่สิ่งมีชีวิตสร้างขึ้น เช่น ชีวพิษ ซึ่งเป็นอาวุธเพื่อสังหารหรือทำให้ฝ่ายตรงข้ามหมดความสามารถในการสู้รบ, Example: นอกจากนี้ บางครั้งยังรวมถึงอาวุธที่ออกแบบให้ใช้ปล่อยสารชีวภาพ เช่น จรวดนำวิถีหรือระเบิดอีกด้วย พบว่ามีผู้ใช้คำว่า Bioweapon Bioweaponeering Bioarms Biological Warfare หรือ Germ Warfare ในความหมายว่า อาวุธชีวภาพอีกด้วย [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Coagulum content | ปริมาณยางจับเป็นก้อน หมายถึง ปริมาณของสารที่ตกค้างอยู่บนตัวกรองสเตนเลสที่ทดสอบ สารเหล่านี้ประกอบด้วยเศษยางจับตัวและสารอื่นที่เจือปนมากับน้ำยาง ค่านี้มีความสำคัญต่อกระบวนการผลิตที่เข้มงวด เช่น ในการผลิตเส้นด้ายยางยืด ถ้าน้ำยางมีค่า coagulum content สูงอาจก่อให้เกิดปัญหาการอุดตันที่ปลายหลอดในระหว่างกระบวนการผลิตได้ [เทคโนโลยียาง] |
Masterbatch | ของผสมระหว่างยางและสารเคมีต่างๆ ที่รู้ปริมาณที่แน่นอนผสมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับใช้เป็นวัตถุดิบในการเตรียมการผสมขั้นตอนสุดท้ายในการผลิตเป็น ผลิตภัณฑ์ มาสเตอร์แบทซ์อาจจะใช้เพื่อความสะดวกในการผลิตหรือเพื่อเพิ่มสมบัติของ ผลิตภัณฑ์หรือทั้งสองอย่าง เช่น ใช้ในกรณีที่สารเคมีกระจายในยางได้ไม่ดี หรือในกรณีที่มีการใช้สารเคมีนั้นน้อยมาก อาจจะก่อให้เกิดการผิดพลาดได้ง่าย ถ้าสารเคมีฟุ้งกระจายหายไป [เทคโนโลยียาง] |
Vulcanisation or Vulcanization | วัลคาไนเซชัน คือ กระบวนการทางเคมีที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ทำให้ยางคงรูปและมีความยืดหยุ่นสูงขึ้น ซึ่งกระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่ไม่สามารถผันกลับได้ (irreversible process) ดังนั้น จึงเป็นสาเหตุทำให้ยางไม่สามารถนำกลับมารีไซเคิลได้ [เทคโนโลยียาง] |
Carcinogenesis | การก่อให้เกิดมะเร็ง [การแพทย์] |
Carcinogenic Agents | สารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง [การแพทย์] |
Cells, Inflammatory | เซลล์ที่เกี่ยวกับการอักเสบ, เซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ, เซลล์ที่ทำให้เกิดการอักเสบ, เซลล์ที่ก่อให้เกิดการอักเสบ [การแพทย์] |
Does More Good Than Harm | ก่อให้เกิดผลดีมากกว่าผลเสีย [การแพทย์] |
Fever Producing Agents | สารที่ก่อให้เกิดอาการไข้ [การแพทย์] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
soil pollution | มลพิษทางดิน, ภาวะของดินที่มีสิ่งสกปรก สารที่เป็นพิษ หรือเชื้อโรคเจือปนอยู่ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สิ่งมีชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
air pollution | มลพิษทางอากาศ, สภาวะของอากาศที่ไม่บริสุทธิ์ มีสิ่งปะปนซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพของมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antibiotic | ยาปฏิชีวนะ, สารที่สกัดได้จากเชื้อราหรือแบคทีเรียบางชนิด ในปัจจุบันนี้สามารถสังเคราะห์ได้จากสารเคมีหลายชนิด สามารถยับยั้งการเติบโตหรือฆ่าเชื้อได้อย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดประโยชน์ในวงการแพทย์ย่างมาก เช่น เพนิซิลลิน สเตร็ปโตไมซิน เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
visual pollution | มลพิษของทัศนียภาพ, สภาวะแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความรำคาญ หรือ อาจเกิดอันตรายต่อการมองเห็น เช่น ป้ายโฆษณาที่ติดไม่เป็นระเบียบหรือขาดการบำรุงรักษา หมอกควัน แสงที่จ้าเกินควร เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
noise pollution | มลพิษทางเสียง, เสียงรบกวนที่ก่อให้เกิดความรำคาญ ถ้าระดับความเข้มของเสียงเกิน 80 เดซิเบล อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tornado | พายุทอร์เนโด, พายุที่เกิดจากการหมุนเวียนของอากาศภายใต้เมฆ มีลักษณะคล้ายงวงช้างยื่นปลายงวงลงมาจากฐานเมฆ ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 160-480 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็นพายุที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวง เกิดมากในออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
wiki | วิกิ, รูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลที่บุคคลต่างๆ ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญเฉพาะเรื่อง สามารถมีส่วนร่วมในการเป็นผู้ให้ข้อมูลใหม่ หรือเป็นผู้ปรับปรุงข้อมูลที่มีอยู่เดิมให้ถู่มกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น รายละเอียดของข้อมูลที่เผยแพร่ก่อให้เกิดประโยชน์กับบุคคลทั่วไป หรือก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spyware | สปายแวร์, โปรแกรมที่ถูกออกแบบมาให้คอยติดตาม บันทึกข้อมูลส่วนบุคคล รายงานข้อมูลการใช้งานของผู้ใช้แต่ละคนบนอินเทอร์เน็ต หรือทำการเปลี่ยนการตั้งค่าของโปรแกรมบราวเซอร์ใหม่ ซึ่งก่อให้เกิดความรำคาญ และ ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ช้าลง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pollution | มลพิษ, สภาพหรือสารที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งแวดล้อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
work safety | ความปลอดภัยในการทำงาน, การทำงานเพื่อสร้างชิ้นงานอย่างปลอดภัย โดยเลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือให้เหมาะสมกับประเภทและลักษณะการใช้งาน รวมถึงการจัดเก็บอุปกรณ์อย่างเหมาะสม ปฏิบัติงานอย่างระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการกระทำที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุและความเสียหาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
reduce | ใช้น้อย, ลดการใช้, ลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดขยะหรือมลพิษน้อย เช่น หลีกเลี่ยงการเลือกซื้อสินค้าชนิดที่ใช้ครั้งเดียว ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้งานต่ำ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้บรรจุภัณฑ์ห่อหุ้มหลายชั้น เลือกซื้อสินค้าหรื [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hazardous waste | ขยะอันตราย, ขยะที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรายชนิดต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อันจะก่อให้เกิดความแตกแยก | [an ja køhaikoēt khwām taēkyaēk] (adj) EN: divisive |
ก่อให้เกิด | [køhaikoēt] (v, exp) EN: cause ; produce ; lead to ; create ; result in ; bring about ; engender FR: provoquer ; causer ; susciter ; produire ; engendrer |
ก่อให้เกิดหนี้สิน | [køhaikoēt nīsin] (v, exp) EN: incur debts ; run up debts |
Longdo Approved EN-TH
NPL | (abbrev) หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ หรือหนี้เสีย ย่อมาจาก Non-Performing Loan, See also: Non-Performing Loan |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bane | (n) สิ่งที่ก่อให้เกิดความตายหรือความเสียหาย, Syn. bugaboo, nuisance |
beget | (vt) ก่อให้เกิด, See also: ทำให้กำเนิด, Syn. create |
begot | (adj) ซึ่งก่อให้เกิด |
begot | (vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 2 ของ beget) |
begotten | (vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 3 ของ beget) |
bind | (n) สิ่งที่ก่อให้เกิดความไม่สะดวกสบาย, See also: สิ่งที่น่ารำคาญ, Syn. nuisance |
carcinogen | (n) สารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง |
casus belli | (n) เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดสงคราม, See also: ต้นเหตุของความขัดแย้ง |
cause | (vt) ทำให้เกิด, See also: ก่อให้เกิด, Syn. do, make |
cloud | (vt) ก่อให้เกิดปัญหา |
controversial | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้ง, See also: เกี่ยวกับการโต้เถียง, Syn. arguable, controvertible, debatable |
cruel | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดความเจ็บปวด, See also: ร้ายแรง |
call forth | (phrv) ทำให้เกิด, See also: เป็นสาเหตุของ, นำมาซึ่ง, ก่อให้เกิด, Syn. bring about |
conjure up | (phrv) ทำให้เกิด(บางสิ่ง) ในใจ, See also: ก่อให้เกิด, ผุดขึ้นในใจ |
danger | (n) คนหรือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย |
detriment | (n) สิ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บ (คำทางการ) |
detrimental | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสียหาย, Syn. harmful, injurious, painful, Ant. beneficial, useful, healthful |
devastating | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมาย, See also: ซึ่งทำลายล้าง, Syn. calamitous, disastrous, desolating |
differential | (adj) ซึ่งมีความแตกต่างกัน, See also: ก่อให้เกิด |
effect | (vt) ก่อให้เกิด, See also: ทำให้เกิด, บังเกิดผล, ออกฤทธิ์, Syn. bring about, cause |
emotive | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดอารมณ์, Syn. evocative, moving |
engender | (vt) ก่อให้เกิด, See also: ทำให้มีขึ้น, Syn. create, generate |
firebrand | (n) ผู้ปลุกระดม, See also: นักปลุกระดม, ผู้ก่อให้เกิดการจลาจล, Syn. rabble-rouser, instigator |
ingenerate | (vt) ทำให้เกิด (คำโบราณ), See also: กำเนิด, ก่อให้เกิด, Syn. innate, inborn |
instigate | (vt) กระตุ้น, See also: ก่อให้เกิด, ยุยง |
intrigue | (vt) ก่อให้เกิดความสนใจ, Syn. interest, attract, fascinate |
invite | (vt) ทำให้เกิด, See also: ก่อให้เกิด, เป็นเหตุให้มีบางสิ่งที่ไม่ดี, Syn. provoke, encourage, ask for |
invoke | (vt) ก่อให้เกิด, Syn. evoke, call |
lead | (vt) ก่อให้เกิด, Syn. induce, cause |
make | (vt) ก่อให้เกิด, See also: ทำให้เป็น, Syn. bring about |
operate | (vi) ก่อให้เกิดผล |
pacifier | (n) คนที่ทำให้เกิดความสงบ, See also: ผู้ทำให้สงบ, สิ่งที่ก่อให้เกิดความสงบ, Syn. dummy |
plaguy | (adj) ซึ่งรบกวน, See also: ซึ่งก่อกวน, ซึ่งก่อให้เกิดปัญหา, Syn. plaguey |
plaguy | (adv) อย่างรบกวน, See also: อย่างก่อกวน, อย่างก่อให้เกิดปัญหา, Syn. plaguey, plaguily |
productive | (adj) ที่ก่อให้เกิดผล |
productively | (adv) อย่างก่อให้เกิดผล, See also: อย่างมีประสิทธิภาพ |
putridity | (n) การเน่าเปื่อย (ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น), Syn. decay, filty |
putridness | (n) การเน่าเปื่อย (ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น) |
radicalism | (n) ลัทธิที่ยึดหลักความรุนแรง, See also: ลัทธิหัวรุนแรง, นโยบาย, ความเชื่อที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและสัง, Ant. conservatism |
ruffle | (n) สิ่งรบกวนใจ, See also: สิ่งน่ารำคาญ, สิ่งที่ก่อให้เกิดความรำคาญ, Syn. annoyance, irritation |
terror | (n) คนหรือสิ่งที่ก่อให้เกิดความกลัวสุดขีด |
terror | (n) การเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดความรุนแรงเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง, See also: การก่อการร้าย |
unleash | (vt) ก่อให้เกิดผลรุนแรง |
wasteful | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดความสิ้นเปลือง, See also: ซึ่งก่อให้เกิดความหมดเปลือง, ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหาย |
well-intentioned | (adj) ซึ่งเจตนาดี (แต่มักจะก่อให้เกิดผลที่ไม่ค่อยดีตามมา), Syn. well-meaning |
Hope Dictionary
accelerate | (แอคเซล' เลอเรท) vt. เร่ง, ก่อให้เกิด, เร่งให้เกิดขึ้น, เพิ่มขึ้น. -acceleration n. -accelerator n., Syn. hasten, spur |
apple ii | (แอปเปิลทู) เป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิล ทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และ แอปเปิล ทรี (Apple III) ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอช ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสูงมากในปัจจุบัน |
bring | (บริง) { brought, brought, bringing, brings } vt. เอามาให้, นำมาให้, พามา, นำมาสู่, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, นำออกมาแสดง, นำเสนอ, ชักชวนขายได้ -Id. (bring about ทำให้เกิด) -Id. (bring around (round)) ชักชวน, โน้มน้าว -Id. (bring forth ทำให้เกิด, นำเสนอ) -Id. (bring in ยอมแพ้) |
catch { caught | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
catches } | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
catcing | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
caught | (แคทชฺ) vt., vi. จับ, จับไว้, คว้า, ตะครุบ, เกาะ, ฉวย, คล้องไว้, รับไว้, ต้านไว้, อุ้ม, รีบไป, พบโดยบังเอิญ, พบว่า, รับเชื้อ, ติดเชื้อ, ติดไฟ, ตีถูก, ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เข้าใจ, Syn. take, see, contract |
causable | (คอส'ซะเบิล) adj. ซึ่งก่อให้เกิดขึ้นได้ |
causative | (คอส'ซะทิฟว) adj. เป็นเหตุ, ทำให้เกิดผล, กลายเป็นสาเหตุ, ก่อให้เกิดขึ้น |
cause | (คอซ) { caused, causing, causes) n. สาเหตุ, จุดประสงค์, มูลฟ้อง, สิ่งจำเป็นสำหรับชีวิต vt. ทำให้เกิดขึ้น, ก่อให้เกิด, ให้, ทำให้, Syn. motive |
create | (ครีเอท') { created, creating, creates } vt. สร้าง, สร้างสรรค์, ประดิษฐ์ขึ้น, ก่อให้เกิดขึ้น, ทำให้เกิดขึ้น, แต่งตั้ง vt. ทำในสิ่งที่เป็นการสร้างสรรค์ adj. ซึ่งสร้างขึ้น, See also: createdness n. ดูcreate, Syn. make, originate |
engender | (เอนเจน'เดอะ) vt. ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด -vi. บังเกิด., See also: engenderer n. ดูengender engenderment n. ดูengender, Syn. produce |
facilitate | (ฟะซิล'ลิเทท) vt. ทำให้ง่ายขึ้น, ทำให้สะดวก, สนับสนุน, ส่งเสริม, ก่อให้เกิด., See also: facilitation n. facetiousness adj. facilitator n., Syn. expedite |
find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search |
generation | (เจนเนอเร'เชิน) n. การกำเนิด, การก่อให้เกิด, การแพร่พันธุ์, ยุค, สมัย, ปูน, ชั้นอายุ, รุ่น., See also: generational adj. |
incur | (อินเคอร์') vt. ก่อให้เกิด, ทำให้เกิด, ประสบ, ได้รับ., See also: incurable adj., Syn. acquire |
inspiration | (อินสพะเร'เชิน) n. การดลใจ, การเร้าใจ, การกระตุ้น, การดลบันดาล, การก่อให้เกิด, สิ่งดลใจ, ผู้ดลใจ, แรงดลใจ, แรงดลใจจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์, ผลของการที่ถูก ดลใจ, ภาวะที่ถูกดลใจ, การหายใจเข้า, Syn. stimulus, motive |
invite | (อินไวทฺ') vt. เชื้อเชิญ, เชิญ, ขอร้อง, ร้องขอ, ก่อให้เกิด, นำมาซึ่ง. vi. เชิญ, นำมาซึ่ง., See also: inviter n., Syn. call for, ask |
invoke | (อินโวค') vt. เรียกผี, ปลุกผี, ขอร้อง, อุทธรณ์, วิงวอน, ก่อให้เกิด, นำมาซึ่ง., See also: invocable adj. invoker n., Syn. call |
modifier keys | แป้นดัดแปรหมายถึง แป้นอักขระบางแป้นที่ไม่ใช้ตามลำพังตัวเอง หรือถ้าใช้ ก็จะไม่มีผลอย่างใดเลย เช่น แป้น Ctrl, Shift, Alt แต่เมื่อกำหนดใช้ร่วมกับแป้นอักขระอื่นแล้ว จะก่อให้เกิดเป็นคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามได้ เช่น ถ้ากดแป้น ALT+F จะเป็นการเรียกเมนู File ในระบบวินโดว์ ส่วนเครื่องแมคอินทอชจะมีแป้น Option ที่ทำหน้าที่คล้ายแป้น ALT เช่น ถ้ากดแป้น Option+C ก็จะเป็นการสั่งคัดลอก (copy) |
originate | (อะริจ'จะเนท) vi. บังเกิดจาก, เริ่มจาก. vt. ริเริ่ม, ก่อให้เกิด., See also: originable adj. origination n. originator n., Syn. initiate, create |
procure | (โพรเคียว'เออะ) n. จัดหา, หามาให้, ล่อลวง, หาผู้หญิงมาเป็นโสเภณี, นำมาซึ่ง, ก่อให้เกิด. vi. จัดหาหญิงโสเภณีมาให้ทำประเวณี, แนะนำหญิงโสเภณี., See also: procurable adj. procurement n., Syn. gain, win, contrive |
produce | (พระดิวซฺ') v. ให้กำเนิด, ผลิต, ก่อ, ก่อให้เกิด, จัดหา, แสดง, เสนอn. ผลิตผล, ผลิตภัณฑ์, ลูก, See also: producibility n. producible, produceable adj., Syn. yield |
provocation | (พรอฟวะเค'เชิน) n. การยุแหย่, การยุยง, การกระตุ้น, การปลุกปั่น, การยั่ว, การก้าวร้าว, การก่อให้เกิด, สิ่งที่ยุแหย่ (ยุยง, กระตุ้น...) |
provoke | (พระโวค') vt. ยุแหย่, กระตุ้น, ปลุกปั่น, ก้าวร้าว, ก่อให้เกิด, ยั่ว, See also: provoking adj. |
start | (สทาร์ท) vi.เริ่ม, เริ่มต้น, ตั้งต้น, ลงมือ, ทำการ, ตั้งตัว, ยืน, โผล่, กระตุก, กระโดด, สะดุ้งตกใจ, ปรากฎออกมาอย่างฉับพลัน, คลาย, หลวม, ร่วมแข่ง. vt. เริ่มต้น, ตั้งต้น, ก่อให้เกิด, ทำให้ตกอกตกใจ, ทำให้คลาย, ทำให้หลวม, เสนอ, ให้สัญญาณการเริ่มแข่ง. n. การเริ่ม, การเริ่มต้น |
stir | (สเทอร์) vt. กวน, คน, แกว่ง, ไกว, ค่อย ๆ เคลื่อน, เขย่า, แหย่, ขยับ, คุ้ย, เขี่ย, ปลุก, ปลุกเร้า, กระตุ้น, ทำให้ตื่นเต้น, ก่อให้เกิด. vi. ขยับ, เคลื่อนไปมา, ดำเนินการ, หมุนเวียน, แพร่หลาย, มีอารมณ์. n. การกวน (คน, แกว่ง, ไกว...) , เสียงกวน, ความตื่นเต้น, ความโกลาหล, ความรู้สึก, อารมณ์ |
Nontri Dictionary
cause | (vt) ก่อให้เกิด, เป็นชนวน, เป็นสาเหตุ, เป็นต้นเหตุ |
do | (vt) กระทำ, ทำ, ปฏิบัติ, จัดการ, ก่อให้เกิด, แสดงท่า, มีอาการ |
engender | (vt) ทำให้เกิด, ก่อให้เกิด, เพาะ, บังเกิด |
incendiary | (adj) ก่อให้เกิดเพลิง, ซึ่งก่อความไม่สงบ |
involve | (vt) รวมอยู่ด้วย, พาดพิงถึง, นำไปสู่, ก่อให้เกิด, พัวพัน, มีผลต่อ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
add up to | รวมทั้งสิ้น, รวมเป็น, ก่อให้เกิด |
add up to | (phrv) รวมทั้งสิ้น, รวมเป็น, ก่อให้เกิด, Syn. amount to |
Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด |
Arousable | : ตื่นจากการนอนหลับ : เพื่อปลุกระดมหรือกระตุ้นให้เกิดการกระทํา : เพื่อกระตุ้น (ใครบางคน) ทางเพศ : เพื่อทําให้เกิดความเร้าอารมณ์ทางเพศใน (ใครบางคน) : เพื่อก่อให้เกิด การตอบสนองที่กระตุ้นโดยสิ่งเร้า |
Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง |
Helicobacter pylori | ประเภทรูปเกลียวของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดแผลและการอักเสบในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็ก |
Host range | (n) ช่วงของพืชที่เชื้อโรคหรือปริสิตสามารถก่อให้เกิดโรคได้ |
make a difference | (phrase) ก่อให้เกิดความแตกต่าง |
plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช |
plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
生じる | [しょうじる, shoujiru] TH: ก่อให้เกิด EN: to be generated |
招く | [まねく, maneku] TH: ก่อให้เกิด |
生む | [うむ, umu] TH: ก่อให้เกิด |
起こす | [おこす, okosu] TH: ก่อให้เกิด EN: to cause |
Longdo Approved DE-TH
verursachen | (vt) |verursachte, hat verursacht| ก่อให้เกิด เป็นต้นตอ เช่น Der Verkehr in Bangkok hat die Luftverschmutzung verursacht. การจราจรในกรุงเทพทำให้อากาศเป็นพิษ, See also: führen zu, zur Folge haben, hervorrufen |
hervorrufen | (vt) |ruft hervor, hat hervorgerufen| ก่อให้เกิด, เป็นผลให้เกิด, See also: verursachen, führen zu |
zur Folge haben | (vt) เป็นผลให้, ก่อให้เกิด เช่น Der Krieg hat 10, 000 tote Menschen zur Folge., See also: verursachen, hervorrufen |
etw. führen zu etw. | นำไปสู่, ก่อให้เกิด เช่น Starker Regen können zur Überschwemmung führen. ฝนที่ตกหนักสามารถนำไปสู่น้ำท่วมได้, Syn. verursachen |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.1432 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม