*ก่อการ* แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


121 ผลลัพธ์ สำหรับ *ก่อการ*
ภาษา
หรือค้นหา: ก่อการ, -ก่อการ-

มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ก่อการ(v) start, See also: launch, initiate, Syn. ริเริ่ม, Example: ผู้ร้ายวางแผนการที่จะก่อการคืนนี้
ก่อการร้าย(v) terrorize, See also: cause terrorism, cause violence, Example: ชาวซิกพยายามใช้ปากีสถานเป็นฐานที่มั่น ลอบเข้าไปก่อการร้ายในรัฐปัญจาบของอินเดีย
การก่อการร้าย(n) rebellion, Syn. การจราจล, Example: การก่อการร้ายข้ามชาติทำให้เราต้องเสียเลือดเนื้ออย่างมาก
ผู้ก่อการจลาจล(n) rioter, See also: rebel, revolutionary, Syn. ผู้ก่อความไม่สงบ, ผู้ก่อการร้าย, Example: ตำรวจยิงแก๊สน้ำตาใส่กลุ่มผู้ก่อการจลาจล เพื่อให้หยุดทำลายทรัพย์สินของรัฐ, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: บุคคลที่ทำความวุ่นวายหรือความปั่นป่วนให้เกิดขึ้นในบ้านเมือง

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก่อการก. ริเริ่มการ.
ก่อการร้ายน. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ.
ผู้ก่อการร้ายน. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ.
บริคณห์สนธิน. เอกสารก่อตั้งบริษัทจำกัดซึ่งผู้เริ่มก่อการบริษัท เข้าชื่อกันจัดทำขึ้นตามข้อกำหนดของกฎหมายในการจัดตั้งบริษัทจำกัด เรียกว่า หนังสือบริคณห์สนธิ.
โยงใยก. เกี่ยวเนื่อง เช่น ตำรวจจับผู้ร้ายได้ทำให้โยงใยไปถึงหัวหน้าผู้ก่อการร้าย เรื่องนี้มีปัญหาโยงใยไปถึงอีกเรื่องหนึ่ง.
สถานการณ์ฉุกเฉินน. สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย การรบหรือการสงคราม.
เสี้ยนศึกน. ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย.
หัวหอกน. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่นำผู้อื่นไปก่อนในการต่อสู้หรือการพัฒนาสังคมเป็นต้น เช่น ส่งทหารพรานเป็นหัวหอกไปค้นหาผู้ก่อการร้าย.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
promoterผู้เริ่มก่อการ, ผู้ก่อตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
revoltการก่อการกำเริบ, การลุกขึ้นต่อต้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revoltการก่อการกำเริบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
separation layer; abscission layerชั้นก่อการร่วง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
abscission layer; separation layerชั้นก่อการร่วง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
mutinyการก่อการกำเริบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
mutinyการก่อการกำเริบ (ในกองทัพ, ในเรือ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
insurgencyการก่อการกำเริบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
insurgencyการก่อการกำเริบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
insurgentผู้ก่อการกำเริบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
insurrectionการก่อการกบฏ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
insurrectionการก่อการกบฏ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
tetanigenous๑. -ก่อบาดทะยัก๒. -ก่อการหดเกร็ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
terrorismระบบก่อการร้าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
terrorismการก่อการร้าย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
terroristผู้ก่อการร้าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
uprisingการก่อการกำเริบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Mutagenesisฤทธิ์ก่อการกลายพันธุ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Mutagenic agentสิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา [นิวเคลียร์]
Mutagenสิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา, Example: [นิวเคลียร์]
Bioterorismการก่อการร้ายทางชีวภาพ [TU Subject Heading]
Domestic terrorismการก่อการร้ายภายในประเทศ [TU Subject Heading]
September 11 Terrorist Attacks, 2001การโจมตีโดยผู้ก่อการร้าย 11 กันยายน ค.ศ. 2001 [TU Subject Heading]
State-sponsored terrorismการใช้อำนาจรัฐก่อการร้าย [TU Subject Heading]
Terrorismการก่อการร้าย [TU Subject Heading]
Terrorism and mass mediaการก่อการร้ายกับสื่อมวลชน [TU Subject Heading]
Terrorism in mass mediaการก่อการร้ายในสื่อมวลชน [TU Subject Heading]
Terrorism victims' familiesครอบครัวของผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading]
Terroristsผู้ก่อการร้าย [TU Subject Heading]
Victims of terrorismผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading]
War on Terrorism, 2001-สงครามตอบโต้การก่อการร้าย ค.ศ. 2001- [TU Subject Heading]
Cobra Goldการฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต]
Commission on Human Rightsคณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต]
Consular office Declared ?Non grata?เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต]
CSIเป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต]
international terrorismการก่อการร้ายสากล [การทูต]
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Bioterrorismการก่อการร้ายชีวภาพ, การก่อการร้ายชีวภาพ การก่อการร้ายที่ข่มขู่หรือตั้งใจใช้สารชีวภาพ เช่น เชื้อโรคต่างๆ เช่น แบคทีเรียหรือไวรัส) หรือชีวพิษ, Example: การก่อการร้าชีวภาพ สร้างความกลัวให้กับกลุ่มคนเป้าหมายหรือสังคมโดยรวม โดยสิ่งต่างๆ เหล่านี้อาจได้มาจากธรรมชาติหรืออยู่ในรูปที่ดัดแปลงโดยมนุษย์ก็ได้ และอาจใช้ในรูปฝุ่น ผง หรือทำให้ปนเปื้อนไปกับอาหารหรือน้ำ เป็นต้น [เทคโนโลยีชีวภาพ]
Irritating Effectก่อการระคายเคือง [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ก่อการ[køkān] (v) EN: start ; launch ; initiate ; promote ; originate  FR: initier ; susciter
ก่อการร้าย[køkān rāi] (v, exp) EN: terrorize ; cause terrorism ; cause violence  FR: causer des violences
ผู้ก่อการ[phū køkān] (n, exp) EN: founder of an enterprise ; originator
ผู้ก่อการ[phū køkān] (n, exp) EN: promoter of the revolution of B.E. 2475 ; revolutionary
ผู้ก่อการจลาจล[phū køkān jalājon] (n, exp) EN: rioter
ผู้ก่อการร้าย[phūkøkānrāi] (n) EN: insurgent ; terrorist ; rioter ; bandit
ผู้ก่อการจลาจล[phū kø kānjalājon] (n, exp) EN: rioter ; rebel ; revolutionary
ผู้ก่อการยุ่งยาก[phū kø kān yungyāk] (n, exp) FR: agitateur [ m ] ; agitatrice [ f ]
ผู้เริ่มก่อการ[phū roēm køkān] (n, exp) EN: promoter

Longdo Approved EN-TH
international terrorists(n) กลุ่มผู้ก่อการร้ายข้ามชาติ
international terrorists(n) กลุ่มผู้ก่อการร้ายสากล
al-Qaida(n) กลุ่มผู้ก่อการร้ายอัลกออิดะ
al Qaedaกลุ่มผู้ก่อการร้ายอัลกออิดะ

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
car bomb(n) ระเบิดที่ใส่ไว้ในรถเพื่อนำไปก่อการร้าย
instigator(n) ผู้ก่อการ, See also: ผู้เริ่มต้น, ผู้ยุยง
mischief-maker(n) ผู้ก่อการร้าย, See also: ผู้ทำความชั่ว, Syn. devil
mischief-making(n) การก่อการร้าย, See also: การทำความชั่ว, Syn. mischief
mob(vt) ก่อการจลาจล, See also: ชุลมุนวุ่นวาย, โจมตีอย่างรุนแรง, Syn. crowd
mutineer(n) ผู้ก่อการกบฏ, See also: ผู้ก่อการกระด้างกระเดื่อง, ผู้ที่ลุกฮือขึ้นต่อต้าน, ผู้ที่ก่อการกำเริบ
mutinously(adv) ซึ่งก่อการจลาจล, See also: ซึ่งก่อความไม่สงบ
mutiny(vi) ก่อการจลาจล, See also: ก่อการกบฏ, ต่อต้านอำนาจ
nihilism(n) การก่อการร้าย, See also: การปฏิวัติ, Syn. terrorism
Pentagon(n) ตึกกระทรวงกลาโหมรูปห้าเหลี่ยมของอเมริกา, See also: ถูกผู้ก่อการร้ายถล่มเมื่อ 11 กันยายน พ.ศ.2544
rebel(n) ผู้ก่อการกบฏ, See also: ผู้ทรยศ, ผู้ก่อกบฏ, Syn. mutineer, revolter
rebellious(adj) ซึ่งก่อการกบฏ, See also: ขบถ, ดื้อรั้น, หัวรั้น, Syn. disobedient, mutinous
riot(vi) ก่อการจลาจล, See also: ก่อความไม่สงบ, Syn. rampage, revolt
rioter(n) ผู้ก่อการจลาจล, Syn. rebel, mutinee, brawler
strike(vi) หยุดงานประท้วง, See also: ก่อการจลาจล, Syn. mutiny, revolt, walk out
terror(n) การเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดความรุนแรงเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง, See also: การก่อการร้าย
terrorism(n) การใช้ความรุนแรงเพื่อข้อเรียกร้องทางการเมือง, See also: ลัทธิก่อการร้าย, Syn. disorder, lawlessness, nihilism
terrorist(n) ผู้ก่อการร้าย, Syn. destroyer, dictator, hijacker
terrorist(adj) ซึ่งก่อการร้าย

Hope Dictionary
founder(เฟา'เดอะ) n. ผู้ก่อตั้ง, ผู้ก่อการ, ผู้สร้าง, ช่างหล่อ v. ล้มลง, อับปาง, ล้มเหลว, ทำให้ล้มลง, , Syn. collapse, -A. endure
insurgent(อินเซอ'เจินทฺ) n. ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อการกบฏ, adj. จลาจล, กบฏ, ลุกลาม, เป็นระลอก, Syn. rebellious
mob(มอบ) n. ฝูงชนอลหม่านหรือก่อการจลาจล, สัตว์, ฝูงชน, มวลชน, แก๊งอาชญากร. adj. เกี่ยวกับฝูงชนที่กำลังอลหม่าน vt. ชุลมุนวุ่นวาย, โจมตีอย่างรุนแรง, ก่อการจลาจล, Syn. gathering, crowd
mutineer(มิว'ทะเนียร์) n. ผู้ก่อการกบฏ, ผู้ขัดขืน
mutiny(มิว'ทะนี) n. การกบฏ, การขัดขืน vi. ก่อการกบฏ, ขัดขืน, Syn. rebellion
nihilism(ไน'อะลิสซึม) n. ลัทธิยกเลิกกฎหมายและองค์กรบริหารทั้งหลาย, คนสงสัยอย่างยิ่งยวด, ลัทธิทำลาย, สภาวะที่ไร้กฎหมาย มีการก่อการร้ายและการปฏิวัติอื่น ๆ , การทำลายสิ้นเชิง., See also: nihilist n., adj. nihilistic adj.
promote(พระโมท') vt. สนับสนุน, ส่งเสริม, เลื่อน, กระตุ้น, ก่อการ, ก่อตั้ง., See also: promotable adj., Syn. further, upgrade
promoter(พระโม'เทอะ) n. ผู้สนับสนุน, ผู้ส่ง-เสริม, ผู้ก่อการ, ผู้กระตุ้น, สารกระตุ้นฤทธิ์ทางเคมี
promotion(พระโม'เชิน) n. การสนับสนุน, การส่งเสริม, การเลื่อน (ตำแหน่ง ฐานะหรือระดับ) , การให้กำลังใจ, การก่อการ, การก่อตั้ง., See also: promotional adj. promotive adj.
rebel(เรบ'เบิล) n. กบฏ adj. กบฏ, ขัดขืน, หัวรั้น, จลาจล, หัวดื้อ. vi. ก่อการกบฏ, ขัดขืน, ต่อต้าน, Syn. insurrectionist, resist
rebellion(ริเบล'เยิน) n. การกบฏ, การจลาจล, การก่อการจลาจล
rebellious(รีเบล'เยิส) adj. เป็นกบฏ, ซึ่งก่อการกบฏ, ซึ่งก่อการจลาจล, ขัดขืน, ทรยศ, พยศ, ไม่เชื่อฟัง, See also: rebelliousness n., Syn. defiant, mutinous
revolting(รีโวล'ทิง) adj. น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, เป็นกบฏ, เอาใจออกห่าง, ซึ่งก่อการกำเริบ, Syn. disgusting
rioter(ไร'เอิทเทอะ) n. ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความไม่สงบ, ผู้สำมะเลเทเมา
rise(ไรซ) (rose, risen, rising, rises } vi., n. (การ) ลุกขึ้น, ยืนขึ้น, ตื่นขึ้น, ยืนตรง, ลุกขึ้นต่อสู้, เจริญเติบโต, ปรากฎขึ้น, ลอยขึ้น, ผุดขึ้น, กำเนิดขึ้น, ฟูขึ้น, เลื่อนขึ้น, เพิ่มขึ้น, สูงขึ้น, นูนขึ้น, ก่อการกบฏ, กระตุ้น, ราคาสูงขึ้น, ฟื้นขึ้นจากความตาย, ปิดการประชุม vt. ทำให้ลุกขึ้น
riser(ไร'เซอะ) n. ผู้ตื่นขึ้น, ผู้ลุกขึ้น, ผู้ก่อการจลาจล, แผ่นกระดานของบันไดที่ตั้งขึ้น, เครื่องที่เลื่อนขึ้นเลื่อนลง
sedition(ซีดิช'เชิน) n. การปลุกปั่นให้ก่อความไม่สงบหรือก่อการกบฏ, การจราจล, การต่อต้านรัฐบาล, Syn. rebellion, mutiny, defiance
terrorism(เท'เรอะริสซึม) n. ลัทธิก่อการร้าย, See also: terrorist ผู้ก่อการร้าย
thug(ธัก) n. อันธพาล, วายร้าย, ผู้ร้าย, ผู้ก่อการร้าย, ผู้ชิงทรัพย์, ฆาตกร, See also: thuggery n. thuggish adj.

Nontri Dictionary
agitator(n) ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ปลุกปั่น, ผู้ยุแหย่, ผู้ก่อกวน
insurgent(n) กบฏ, อาการกำเริบ, ผู้ก่อการจลาจล
junto(n) พรรคการเมือง, พรรคพวก, คณะปกครอง, คณะผู้ก่อการร้าย
mob(vt) ห้อมล้อม, กลุ้มรุมทำร้าย, ก่อการจลาจล, ชุลมุนวุ่นวาย
mutineer(n) กบฏ, ผู้ก่อการจลาจล, ผู้แข็งข้อ, ผู้ขัดขืน
mutineer(vi) กบฏ, กำเริบ, ก่อการจลาจล, แข็งข้อ, ขัดขืน
mutinous(adj) เป็นกบฏ, กำเริบ, ซึ่งก่อการจลาจล, แข็งข้อ, ขัดขืน
mutiny(n) การกบฏ, การก่อการจลาจล, การแข็งข้อ
rebel(n) การจลาจล, กบฏ, ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ขัดขืน, ผู้ทรยศ
rebellion(n) การก่อการจลาจล, การกบฏ, การทรยศ, การขัดขืน
rebellious(adj) ซึ่งก่อการจลาจล, เป็นกบฏ, ทรยศ
revolutionist(n) ผู้ก่อการปฏิวัติ
rioter(n) ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความวุ่นวาย, ผู้ก่อความไม่สงบ
terrorism(n) การทำให้ตกใจกลัว, ลัทธิก่อการร้าย

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
perpetrator(n) ผู้ก่อการ

Longdo Approved JP-TH
テロ[てろ, tero] (n) การก่อการร้าย, See also: テロリズム
テロリズム[てろりずむ, terorizumu] (n) การก่อการร้าย, See also: テロ

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
戦隊[せんたい, sentai] (n) ขบวนการ, กลุ่มปฏิบัติการ, กลุ่มก่อการ

Longdo Approved DE-TH
Freilassung(n) |die, pl. Freilassungen| การปลดปล่อย, การไถ่ตัว, การไถ่เชลย เช่น Selbst die Terrorgruppe setzte sich offenbar für ihre Freilassung ein. กลุ่มผู้ก่อการร้ายเองก็ยังขอร้องให้มีการปล่อยตัวของเธอ

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 0.7993 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม