machete | (มะชีท) n. มีดขนาดใหญ่ |
machinate | (แมค'คะเนท) v. วางแผน, คิดเล่ห์เพทุบาย. |
machination | (แมคชะเน'เชิน) n. การวางแผน, การวางเล่ห์เพทุบาย, แผน, เล่ห์เพทุบาย |
machine | (มะชีน') n. เครื่องจักร, เครื่อง, จักร, อุปกรณ์, ระบบที่ซับซ้อน, ระบบการทำงาน, การปฏิบัติงาน, กิจกรรมของพรรคหรือองค์การ. vt. กระทำด้วยเครื่อง, เตรียมด้วยเครื่อง. |
machine gun | ปืนกล |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
machine-gun | (มะชีน'กัน) vt. ยิงด้วยปืนกล., See also: machine-gunner n. ผู้ยิงด้วยปืนกล |
machinery | (มะชีน'นะรี) n. เครื่องจักร, เครื่องกล, กลุ่มเครื่องกล, ระบบ, |
machinist | (มะชีน'นิสทฺ) n. ช่างเครื่อง |
machismo | (มาชิช'โม) n. ความมีลักษณะเป็นชาย, ความแข็งขัน |
Machiavel | ตัวละครทุศีล, ตัวละครแบบมาเคียเวลลี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
machine | ตัวจักร, เครื่องจักร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
machine | ๑. เครื่องกล๒. เครื่องจักร๓. -กล [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
machine address; absolute address | เลขที่อยู่สัมบูรณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine code | รหัสเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ computer code และ machine instruction code ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine cycle | รอบของเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine error | ความผิดพลาดของเครื่อง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine instruction | คำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ instruction ๒ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
machine instruction | คำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ instruction ๒ ] [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
machine instruction code | รหัสคำสั่งเครื่อง [ มีความหมายเหมือนกับ computer code และ machine code ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Machiavellianism (Psychology) | คตินิยมแบบแมคเคียเวลลี (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Machine | เครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
machine | เครื่องกล, เครื่องจักร, อุปกรณ์ที่ให้ความสะดวก หรือช่วยผ่อนแรงในการทำงาน เช่น รอก แม่แรง เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Machine code | รหัสเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Machine design | การออกแบบเครื่องจักรกล [TU Subject Heading] |
Machine instruction | คำสั่งเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Machine learning | การเรียนรู้ของเครื่อง [TU Subject Heading] |
Machine Management | การจัดการด้านเครื่องมือ [การแพทย์] |
Machine parts | ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล [TU Subject Heading] |
MAchine Readable Cataloging | การลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
เครื่องจักร | (n) machine, See also: machinery, engine |
ภาษาเครื่อง | (n) machine language, Example: ข้อเสียของภาษาเครื่องคือ ภาษาของแต่ละเครื่องจะไม่เหมือนกัน ทั้งนี้แล้วแต่การออกแบบระบบเครื่องว่าจะเป็นแบบใด, Thai Definition: ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและขึ้นบนจอภาพได้โดยตรง |
ควายเหล็ก | (n) tractor, See also: machine for lowing field, Example: ปัจจุบันมีการใช้ควายเหล็กในการไถนาเป็นส่วนใหญ่, Thai Definition: ยานยนต์ขับเคลื่อนที่มีกำลังมาก ใช้ลากไถแทนกำลังของสัตว์ |
เครื่องแปลภาษา | (n) machine translation system |
เครื่องยนต์กลไก | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, Example: มนุษย์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไปผลิตเครื่องยนต์กลไกที่จะให้ความสะดวกสบายกับตัวเอง |
เครื่องกล | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, mechanical device, Syn. เครื่องกลไก, เครื่องจักรกล, เครื่องจักร, เครื่องยนต์, Example: ร่างกายของมนุษย์เรานั้นเปรียบเสมือนเครื่องกลชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสูง, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: เครื่องมือที่อำนวยความสะดวกในการส่งถ่ายแรงจากจุดหนึ่งเพื่อไปใช้ทำประโยชน์ในการเอาชนะความต้านทาน ณ จุดอื่นได้ เช่น รอก คาน ลิ่ม |
เครื่อง | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, mechanical device, Syn. เครื่องยนต์, เครื่องกล, เครื่องยนต์กลไก, Example: เครื่องของรถคันสีขาวไม่ค่อยดีเท่าไรควรนำไปซ่อมบำรุงได้แล้ว, Count Unit: เครื่อง |
เครื่องกลไก | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, mechanical device, Syn. เครื่องกล, เครื่องจักร, เครื่องยนต์, เครื่องจักรกล, Example: ลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของละครดึกดำบรรพ์คือการจัดฉากให้สมจริงและใช้เครื่องกลไกประกอบการจัดฉากนั้น, Count Unit: เครื่อง |
เครื่องจักร | (n) machinery, See also: engine, machine, motor, Syn. เครื่องยนต์, เครื่องกล, เครื่องจักรกล, Example: เราลงทุนซื้อเครื่องจักรมาเพื่อทำการผลิตให้รวดเร็วและทันสมัยมากขึ้น, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: กลอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องเพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
เครื่องจักรกล | (n) machinery, See also: machine, engine, motor, Syn. เครื่องจักร, เครื่องกล, เครื่องยนต์, Example: การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มต้นด้วยการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องจักรกลเข้ามาขยายแรงงาน, Count Unit: เครื่อง, Thai Definition: กลอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องเพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
อ้ายนั่น | [āi nan] (n, exp) FR: ce machin [ m ] ; ce truc [ m ] |
อัน | [an] (n) EN: piece ; slice ; flake ; part ; lump ; chunk ; bit ; portion ; item FR: machin [ m ] ; truc [ m ] |
อวตาร | [awatān] (x) EN: incarnation of Vishnu ; Vishnu ; Rama ; Ramachandra |
บดอาหาร | [bot āhān] (v, exp) FR: mâcher ; mastiquer |
ช่างยนต์ | [chang yon] (n) EN: mechanic ; machinist ; mechanical engineer FR: mécanicien [ m ] ; mécano [ m ] (fam.) ; machiniste [ m ] |
ชิ้นส่วนของเครื่องจักร | [chinsuan khøng khreūangjak] (n, exp) EN: machine part |
ดีดพิมพ์ | [dītphim] (v, exp) FR: taper à la machine |
เดินจักร | [doēnjak] (v) EN: sew with a machine FR: coudre à la machine |
หิ้วท้อง | [hiuthøng] (v) EN: go with an empty stomach ; put up with hunger FR: avoir l'estomac dans les talons (fam.) |
หิ้วท้อง | [hiuthøng] (adv) EN: in hunger ; with gnawing stomach |
mach | (n) Austrian physicist and philosopher who introduced the Mach number and who founded logical positivism (1838-1916), Syn. Ernst Mach |
machaeranthera | (n) wildflowers of western North America, Syn. genus Machaeranthera |
machete | (n) a large heavy knife used in Central and South America as a weapon or for cutting vegetation, Syn. panga, matchet |
machiavelli | (n) a statesman of Florence who advocated a strong central government (1469-1527), Syn. Niccolo Machiavelli |
machiavellian | (n) a follower of Machiavelli's principles |
machiavellian | (adj) of or relating to Machiavelli or the principles of conduct he recommended |
machiavellianism | (n) the political doctrine of Machiavelli: any means (however unscrupulous) can be used by a ruler in order to create and maintain his autocratic government |
machicolate | (v) supply with projecting galleries |
machicolation | (n) a projecting parapet supported by corbels on a medieval castle; has openings through which stones or boiling water could be dropped on an enemy |
machilidae | (n) jumping bristletails, Syn. family Machilidae |
Machaeranthera | n. A genus of wildflowers of Western North America. Syn. -- genus Machaeranthera. [ WordNet 1.5 ] |
Machairodus | { ‖‖ } n. [ NL., fr. Gr. ma`chaira dagger + 'odoy`s tooth. ] (Paleon.) A genus of extinct mammals allied to the cats, and having in the upper jaw canine teeth of remarkable size and strength; -- hence called saber-toothed tigers. [ 1913 Webster ] Variants: Machaerodus |
Machete | ‖n. [ Sp. ] A large heavy knife resembling a broadsword, often two or three feet in length, -- used by the inhabitants of Spanish America as a hatchet to cut their way through thickets, and for various other purposes. J. Stevens. Syn. -- matchet. [ 1913 Webster ] |
Machiavellian | , n. One who adopts the principles of Machiavelli; a cunning and unprincipled politician. [ 1913 Webster ] Variants: Machiavelian |
Machiavellian | a. [ From Machiavel (also called Machiavelli), an Italian writer, secretary and historiographer to the republic of Florence. ] Of or pertaining to Machiavelli, or to his supposed principles for conduct of government, as enunciated in his tract The Prince; politically cunning; characterized by duplicity, political expediency, unscrupulous cunning, or bad faith; crafty. [ 1913 Webster +PJC ] Variants: Machiavelian |
Machiavellianism | { } n. [ Cf. F. machiavélisme; It. machiavellismo. ] The supposed principles of Machiavelli, or practice in conformity to them; political artifice, intended to favor arbitrary power. [ 1913 Webster ] Variants: Machiavelism |
Machicolated | a. [ LL. machicolatus, p. p. of machicolare, machicollare. See Machicolation. ] Having machicolations. “Machicolated turrets.” C. Kingsley. [ 1913 Webster ] |
Machicolation | n. [ Cf. LL. machicolamentum, machacolladura, F. mâchicolis, mâchecoulis; perh. fr. F. mèche match, combustible matter + OF. coulis, couleis, flowing, fr. OF. & F. couler to flow. Cf. Match for making fire, and Cullis. ] [ 1913 Webster ] 1. (Mil. Arch.) An opening between the corbels which support a projecting parapet, or in the floor of a gallery or the roof of a portal, for shooting or dropping missiles upon assailants attacking the base of the walls. Also, the construction of such defenses, in general, when of this character. See Illusts. of Battlement and Castle. [ 1913 Webster ] 2. The act of discharging missiles or pouring burning or melted substances upon assailants through such apertures. [ 1913 Webster ] |
Machicoulis | ‖n. [ F. mâchicoulis. ] (Mil. Arch.) Same as Machicolation. [ 1913 Webster ] |
machilid | n. A wingless insect living in dark moist places, as under tree trunks; they make erratic leaps when disturbed; called also jumping bristletail. Syn. -- jumping bristletail. [ WordNet 1.5 ] |
机 | [jī, ㄐㄧ, 机 / 機] machine; opportunity; secret #192 [Add to Longdo] |
机制 | [jī zhì, ㄐㄧ ㄓˋ, 机 制 / 機 製] machine processed; machine made; mechanism #1,023 [Add to Longdo] |
机械 | [jī xiè, ㄐㄧ ㄒㄧㄝˋ, 机 械 / 機 械] machine; machinery; mechanical #2,684 [Add to Longdo] |
机器 | [jī qì, ㄐㄧ ㄑㄧˋ, 机 器 / 機 器] machine #3,651 [Add to Longdo] |
机电 | [jī diàn, ㄐㄧ ㄉㄧㄢˋ, 机 电] machinery and power-generating equipment #9,409 [Add to Longdo] |
楠 | [nán, ㄋㄢˊ, 楠] Machilus nanmu #9,626 [Add to Longdo] |
机床 | [jī chuáng, ㄐㄧ ㄔㄨㄤˊ, 机 床 / 機 床] machine tool; a lathe #12,336 [Add to Longdo] |
机枪 | [jī qiāng, ㄐㄧ ㄑㄧㄤ, 机 枪 / 機 槍] machine gun #13,276 [Add to Longdo] |
马赫 | [Mǎ hè, ㄇㄚˇ ㄏㄜˋ, 马 赫 / 馬 赫] Mach (name); Ernst Mach (1838-1916), German physicist; Mach (aeronautics), unit of speed based on speed of sound = 1 Mach = 1224 km per hr #16,633 [Add to Longdo] |
母机 | [mǔ jī, ㄇㄨˇ ㄐㄧ, 母 机 / 母 機] machine tool; mother ship #73,459 [Add to Longdo] |
町(P);街 | [まち(P);ちょう(町), machi (P); chou ( machi )] (n) (1) town; block; neighbourhood; neighborhood; (2) street; road; (3) (町, ちょう only) 109.09 m; (4) (町, ちょう only) 0.99 hectares; (P) #68 [Add to Longdo] |
型 | [かた(P);がた, kata (P); gata] (n) (1) model; type (e.g. of machine, goods, etc.); (2) (がた when a suffix) (See 朝型) type; style; pattern; (3) mold (mould); template; model; (4) kata (standard form of a movement, posture, etc. in martial arts, sport, etc.); (5) form (i.e. customary procedure); (6) size (i.e. clothing, shoes); (7) (obsc) (See 品種) (taxonomical) form; (P) #203 [Add to Longdo] |
機 | [はた, hata] (n) (1) chance; opportunity; (2) machine; (3) aircraft; (ctr) (4) counter for aircraft; (5) counter for remaining lives (in video games) #270 [Add to Longdo] |
設置 | [せっち, secchi] (n, vs) (1) establishment; institution; (2) installation (of a machine or equipment); (P) #482 [Add to Longdo] |
間違い | [まちがい, machigai] (n) (1) (See ミス・1) mistake; error; blunder; (2) accident; mishap; trouble; (3) improper conduct (e.g. between man and woman); indiscretion; (P) #559 [Add to Longdo] |
間違え | [まちがえ, machigae] (n) mistake #628 [Add to Longdo] |
台 | [だい, dai] (n, n-suf) (1) stand; rack; table; (2) support; (3) belt; (ctr) (4) counter for machines, incl. vehicles; (n) (5) setting (e.g. in jewellery); (n, n-suf, ctr) (6) (See 代・だい・2, 代・だい・6) level (e.g. price level); range (e.g. after physical units); period (of time, e.g. a decade of one's life); (P) #686 [Add to Longdo] |
マーク | [ma-ku] (n, vs) (1) mark; (2) (abbr) markup; (3) { comp } Mach (OS kernel); (P) #1,153 [Add to Longdo] |
機械(P);器械(P) | [きかい, kikai] (n) (1) machine; mechanism; (2) (often 器械) instrument; appliance; apparatus; (P) #1,604 [Add to Longdo] |
機器(P);器機 | [きき, kiki] (n) machinery and tools; (P) #2,088 [Add to Longdo] |
アソシエーション制御プロトコル機械 | [アソシエーションせいぎょプロトコルきかい, asoshie-shon seigyo purotokoru kikai] Association Control Protocol Machine [Add to Longdo] |
キャッシュコーナ | [きゃっしゅこーな, kyasshuko-na] automatic teller machine [Add to Longdo] |
コピー機器 | [コピーきき, kopi-kiki] copier, copy machine [Add to Longdo] |
セションプロトコル機械 | [せしょんぷろとこるきかい, seshonpurotokorukikai] session protocol machine, SPM [Add to Longdo] |
チャネルプロトコル機械 | [チャネルぷろとこるきかい, chaneru purotokorukikai] channel protocol machine, CPM [Add to Longdo] |
データ処理機械 | [データしょりきかい, de-ta shorikikai] data processing machine [Add to Longdo] |
トランザクション処理プロトコル機械 | [とらんざくしょんしょりぷろとこるきかい, toranzakushonshoripurotokorukikai] Transaction Processing Protocol Machine, TPPM [Add to Longdo] |
プロトコル機械 | [ぷろとこるきかい, purotokorukikai] Protocol Machine, PM [Add to Longdo] |
ホストマシン | [ほすとましん, hosutomashin] host machine [Add to Longdo] |
マーク | [まーく, ma-ku] markup, Mach [Add to Longdo] |
作る | [もぐる, moguru] machen, anfertigen [Add to Longdo] |
待ちぼうけ | [まちぼうけ, machibouke] vergebliches_Warten [Add to Longdo] |
待ち兼ねる | [まちかねる, machikaneru] nicht_warten_koennen, nicht_erwarten_koennen [Add to Longdo] |
待ち合わせる | [まちあわせる, machiawaseru] aufeinander_warten [Add to Longdo] |
待合室 | [まちあいしつ, machiaishitsu] Warteraum, Wartesaal [Add to Longdo] |
町 | [まち, machi] Stadt, Viertel [Add to Longdo] |
街 | [まち, machi] Strasse [Add to Longdo] |
街角 | [まちかど, machikado] Strassenecke [Add to Longdo] |
間違い | [まちがい, machigai] Irrtum, Fehler, Unfall [Add to Longdo] |