63 ผลลัพธ์ สำหรับ armentor
/อ่า (ร) เหมิ่น โท้ (ร)/     /AA0 R M AH0 N T AO1 R/     /ɑːrməntˈɔːr/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: -armentor-, *armentor*

เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น mentor

CMU Pronouncing Dictionary
armentor
 /AA0 R M AH0 N T AO1 R/
/อ่า (ร) เหมิ่น โท้ (ร)/
/ɑːrməntˈɔːr/
mentor
 /M EH1 N T AO2 R/
/เม้น โท (ร)/
/mˈentˌɔːr/
mentor
 /M EH1 N T ER0/
/เม้น เถ่อ (ร)/
/mˈentɜːʴ/
mentors
 /M EH1 N T ER0 Z/
/เม้น เถ่อ (ร) สึ/
/mˈentɜːʴz/
mentors
 /M EH1 N T AO2 R Z/
/เม้น โท (ร) สึ/
/mˈentˌɔːrz/
mentor's
 /M EH1 N T AO2 R Z/
/เม้น โท (ร) สึ/
/mˈentˌɔːrz/
mentored
 /M EH1 N T ER0 D/
/เม้น เถ่อ (ร) ดึ/
/mˈentɜːʴd/
mentoring
 /M EH1 N T ER0 IH0 NG/
/เม้น เถ่อ (ร) หริ่ง/
/mˈentɜːʴɪŋ/
mentorship
 /M EH1 N T ER0 SH IH2 P/
/เม้น เถ่อ (ร) ชิ ผึ/
/mˈentɜːʴʃˌɪp/

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
mentor(n) ผู้ให้คำปรึกษา, See also: ที่ปรึกษา, Syn. guide, coach, trainer, adviser
mentorship(n) การให้คำปรึกษา

Hope Dictionary
mentor(เมน'เทอะ, -ทอร์) n. ที่ปรึกษาที่ชาญฉลาดและไว้ใจได้ menu (เมน'นู, เม'นู) n. รายชื่ออาหาร, รายการอาหาร, อาหารดังกล่าว
tormentor(ทอร์เมน'เทอะ) n. ผู้ทรมาน, ตัวมาร, สิ่งที่ทรมาน, เครื่องหมาย, ม่านปีกทั้งสองข้างของเวที, ส้อมขนาดยาว

Nontri Dictionary
tormentor(n) ผู้ทรมาน, ตัวมาร, เครื่องทรมาน

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Mentoring in businessการแนะนำทางธุรกิจ [TU Subject Heading]
Mentoring systemระบบพี่เลี้ยง, Example: ระบบพี่เลี้ยงเป็นระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานที่มีประสบการณ์ มากกว่ากับพนักงานที่มีประสบการณ์น้อย โดยพี่เลี้ยงหรือผู้ที่มีประสบการณ์สูงจะทำหน้าที่ในการคำปรึกษา แนะนำ ผู้สอนงาน และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพในการทำงานให้กับพนักงานที่อ่อนประสบการณ์ <p>ระบบพี่เลี้ยงถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือของการจัดการความรู้ในแง่ของการถ่าย ทอดความรู้ระหว่างผู้ที่ประสบการณ์มากกว่าและเพื่อนร่วมงานที่มีประสบการณ์ น้อยกว่า เพื่อให้แน่ใจได้ว่า ความรู้ยังคงอยู่ในองค์กรตลอดเวลา และเป็นการดักจับความรู้ก่อนที่จะสูญหายหรือออกไปเป็นผู้แข่งขัน เนื่องจาก วิธีการถ่ายทอดความรู้ที่ดีที่สุด ก็คือ การที่บุคคลได้พูดคุยกับอีกคนหนึ่ง ดังนั้น การพูดคุยในระบบพี่เลี้ยง แท้จริงแล้ว ก็คือ การติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนร่วมงานที่ประสบการณ์มากกว่าอีกคนหนึ่งนั่น เอง การถ่ายทอดความรู้จำนวนมากจึงเกิดขึ้น เป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับองค์กรในปัจจุบัน ที่จะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพนักงาน การให้ความรู้ลื่นไหลไปยังทั่วทั้งองค์กร ซึ่งจะนำไปสู่ความอยู่รอดขององค์กรและธุรกิจ <p>ระบบพี่เลี้ยงได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพสูงและนิยมใช้กัน มากในหลายๆ ปีที่ผ่านมา เป็นช่องทางที่ดีสำหรับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กร เนื่องจากระบบพี่เลี้ยงเป็นรูปแบบหนึ่งของการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่มีจุดประสงค์พื้นฐานในการสร้างปฏิสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการระหว่างพี่ เลี้ยง (Mentor) กับพนักงานที่ถูกสอนงาน <p> การทำหน้าที่พี่เลี้ยง อาจเริ่มตั้งแต่ การทำหน้าที่พี่เลี้ยงของพนักงานใหม่ เพื่อให้พนักงานใหม่สามารถปรับตัวเข้ากับองค์กร เพื่อนร่วมงานและสภาพแวดล้อมการทำงาน ไม่เกิดความรู้สึกโดดเดี่ยว หรือเข้ากันไม่ได้กับเพื่อนร่วมงาน เป็นการป้องกันการลาออกจากองค์กร ให้พนักงานใหม่มีความรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กร ลักษณะการทำงาน และนำไปสู่การมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร <p> การทำหน้าที่ให้กับพนักงานที่ถูกสอนงานจะเป็นการสร้างกลุ่มคนที่มีความ สามารถ มีศักยภาพได้เร็วกว่าพนักงานปกติ เป็นการจูงใจพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานดีและมีศักยภาพในการทำงานสูงให้คง อยู่กับหน่วยงาน เป็นการกระตุ้นให้พนักงานสร้างผลงานมากขึ้น พร้อมที่จะทำงานหนักและท้าทายมากขึ้น เป็นการสร้างบรรยากาศของการนำเสนอผลงานใหม่ๆ หรือความคิดนอกกรอบมากขึ้น ซึ่งการทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับพนักงานที่ถูกสอนงานหรือลูกน้อง ขึ้นอยู่กับผลการปฏิบัติงานของลูกน้อง ถ้าลูกน้องมีผลการปฏิบัติงานที่สูงกว่ามาตรฐาน หัวหน้าจะรับบทบาทการเป็นพี่เลี้ยง (Mentoring) หากลูกน้องมีผลการปฏิบัติงานตรงตามมาตรฐาน หัวหน้างาน จะรับบทบาทเป็นผู้สอนงาน (Coaching) และหากลูกน้องมีผลการปฏิบัติงานต่ำกว่ามาตรฐาน หัวหน้างานจะรับบทบาทเป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counsleing) <p> บทบาทและความรับผิดชอบของพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p><p>1. ลงทะเบียนเป็นผู้รับการสอนงาน <p><p>2. เรียนรู้และทักษะจากพี่เลี้ยง <p><p>3. เสาะหาและพัฒนาทักษะใหม่และความสามารถที่ต้องการมีในอนาคต <p><p>4. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง <p><p>5. มีการริเริ่มในการบริหารความสัมพันธ์ <p><p>6. รักษาความลับ <p><p>7. เป็นผู้รับและมีการตอบสนองด้วยความคิดใหม่ <p><p>8. ฟังและซักถาม <p><p>9. มีเครือข่ายภายในและภายนอกองค์กร <p><p>10. มีการสื่อสารอย่างเปิดเผยและซื่อสัตย์ <p><p>11.มีการแลกเปลี่ยน ความคิดและสิ่งอื่นๆตามความเหมาะสม <p><p>12.เข้าร่วมการพัฒนาอย่างเป็นทางการ <p><p>13.ทำงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามความสามารถของตนเอง <p><p>14.แนะนำความคิดใหม่ๆให้กับพี่เลี้ยง <p><p>15.เคารพความแตกต่าง <p><p>16.ทำงานตามวัตถุประสงค์ที่ถูกตั้งโดยพี่เลี้ยง <p> บทบาทและความรับผิดชอบของพี่เลี้ยง <p><p>1. สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและเคารพให้กับพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p><p>2. รักษาความลับ <p><p>3 ดูแลพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน ดูแลเสมือนเป็นทรัพยากรอันมีค่า <p><p>4. สอนกลยุทธ์ ค่านิยม วิสัยทัศน์ และวัฒนธรรมองค์กรเป็นอันดับแรก <p><p>5. ยอมรับความสัมพันธ์ในระยะยาว <p><p>6. ปฏิบัติในฐานะที่เป็นเสียงของกรรมการและช่วยพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับ การสอนงาน ในการชี้นำและเข้าถึงวัตถุประสงค์ที่จะสามารถไปถึงได้ <p><p>7. ลงทุนในเรื่องเวลาและพลังงานในการพัฒนาอย่างเข้มแข็งและความสัมพันธ์กับพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p><p>8. แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทักษะ ความรู้ กลยุทธ์ และบทเรียนที่เหมาะสม <p><p>9. ส่งเสริมให้มีวิจารณญาณ มุมมอง และการตอบสนองที่สร้างสรรค์ต่อพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p><p>10. เผชิญหน้ากับพฤติกรรมและทัศนคติในทางลบ <p><p>11. ส่งเสริมให้มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ต่อวัฒนธรรมองค์กร <p><p>12. เป็นต้นแบบที่ดีและสอนด้วยตัวอย่าง <p><p>13. ให้คำแนะนำ ความช่วยเหลือ เมื่อถูกร้องขอจากพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน ตามความเหมาะสม <p><p>14. สนับสนุนและให้คำแนะนำอย่างฉลาดตามความเหมาะสม <p><p>15. เคารพความแตกต่างของแต่ละบุคคล <p><p>16. เสนอให้พนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน ได้รับการพัฒนาความเป็นมืออาชีพ <p><p>17. เข้าร่วมการพัฒนาบุคลากร <p> บทบาทและความรับผิดชอบขององค์กร <p> ในหลายๆองค์กร ระบบพี่เลี้ยงมักจะล้มเหลว เพราะองค์กรขาดการส่งเสริม เป็นหน้าที่ขององค์กรที่จะให้มีจัดกระบวนการของการรับสมัครพี่เลี้ยงที่มี ศักยภาพและเสนอโอกาสให้ทั้งพี่เลี้ยงและพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอน งาน นอกเหนือจากนี้ องค์กรควรจะฝึกหัดและสนับสนุนระบบพี่เลี้ยง มีการฝึกอบรม และมีการให้คำแนะนำต่อพี่เลี้ยงและพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p> ปัจจัยที่ทำให้ระบบพี่เลี้ยงล้มเหลว <p><p>1. ขาดความผูกพันและขาดการให้คำปรึกษา เมื่อพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน ไม่มีความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมกับการวางแผนและการปฏิบัติหรือการนำไป ประยุกต์ใช้ระบบพี่เลี้ยง ระบบพี่เลี้ยงจะล้มเหลว โดยเฉพาะเมื่อจะมีการจัดการเพียงฝ่ายเดียว <p><p>2. ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารเป็นทักษะที่มีความสำคัญมากที่สุดในการทำให้ระบบพี่เลี้ยงดำเนิน ไปด้วยดี กลยุทธ์ในการทำให้ระบบพี่เลี้ยงเป็นไปด้วยดีจะต้องมีการติดต่อสื่อสารทั่ว ทั้งองค์กร การขาดการติดต่อสื่อสาร การขาดการแลกเปลี่ยนความรู้ การตอบสนองต่อกลยุทธ์ของระบบพี่เลี้ยง เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ระบบพี่เลี้ยงล้มเหลว <p><p>3. ขาดการฝึกอบรมที่ไม่เพียงพอ การขาดการฝึกอบรม การฝึกอบรมที่ไม่เพียงพอ และการขาดการสนับสนุนอื่นๆ ที่จะทำให้ระบบพี่เลี้ยงดำเนินไปได้ <p><p>4. มีการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ระบบพี่เลี้ยงต้องการการเปลี่ยนแปลงในการบริหาร ผู้บริหารจำนวนมาก มักจะยังคงต่อต้านโปรแกรมของระบบพี่เลี้ยง ผู้บริหารเหล่านี้รู้สึกว่าถูกยกเลิกอำนาจถ้ามีการใช้ระบบพี่เลี้ยง <p><p>5. คัดเลือกพี่เลี้ยงที่ไม่เหมาะสม หลายบริษัทเลือกพี่เลี้ยงผิด โดยคิดว่าพนักงานที่มีประสบการณ์มากจะเป็นพี่เลี้ยงที่ดีที่สุด พี่เลี้ยงควรเป็นผู้ที่คนที่มีทักษะ มีวิสัยทัศน์ที่ดีในองค์กร ในทุกฝ่ายงาน และในทุกฟังก์ชั่นการทำงาน <p><p>6. แยกโครงการพี่เลี้ยงออกมาจากการพัฒนาบุคลากร ไม่เป็นการดีที่จะบูรณาการเข้ากับการพัฒนาบุคลากรของฝ่ายบุคคล โครงการของระบบพี่เลี้ยงควรถูกจับแยกออกมา เพื่อจะได้สร้างหรือริเริ่มโดยผู้บริหารผู้มองเห็นผลประโยชน์ของระบบพี่ เลี้ยง <p> ปัจจัยที่ทำให้ระบบพี่เลี้ยงประสบผลสำเร็จ <p><p>1. การยอมรับในองค์กร ต้องมีการทำความเข้าใจกันอย่างชัดเจนว่า โครงการพี่เลี้ยงเป็นสิ่งที่ต้องการในองค์กร ผลประโยชน์ของโครงการพี่เลี้ยงควรจะได้รับการเสนอเป็นจุดเด่น ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับอาวุโส เพราะไม่เพียงแต่เรื่องเงินทุนสนับสนุน แต่ยังสามารถที่จะแสดงให้องค์กรเห็นว่า จะทำให้เกิดผลประโยชน์ในการพัฒนาทางอาชีพของคนในองค์กรอีกด้วย <p><p>2. คุณลักษณะของพี่เลี้ยงที่เหมาะสม การตัดสินว่าใครจะมีความเหมาะสมในการทำหน้าที่พี่เลี้ยง ผู้บริหารควรจะให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ในการมีส่วนร่วมในกำหนดคุณลักษณะ ความเป็นพี่เลี้ยงและประเมินความสำเร็จของบทบาทและหน้าที่ของพี่เลี้ยง <p><p>3. การจับคู่ได้อย่างเหมาะสม การจับคู่ระหว่างพี่เลี้ยงและพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงานนี้มี ความสำคัญ บางครั้งพี่เลี้ยงที่สามารถให้คำปรึกษาได้ควรมีประสบการณ์ในเรื่องที่อยู่ใน ความสนใจของพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน สิ่งหนึ่งที่ต้องตระหนักถึงก็คือความขัดแย้งเป็นการส่วนตัว <p><p>4. การฝึกอบรมกลุ่มพี่เลี้ยง การฝึกอบรมพี่เลี้ยงสามารถเพิ่มโอกาสของความสำเร็จได้ถึง 40% แต่อย่างไรก็ตามทุกบทบาทควรได้รับการฝึกเพื่อให้เข้าใจถึงความเคลื่อนไหว ของระบบพี่เลี้ยงและบทบาท ความรับผิดชอบของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง <p><p> 5. การสื่อสาร การสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญของระบบพี่เลี้ยง การขาดการสื่อสาร การขาดการแลกเปลี่ยนความรู้ และการขาดการตอบสนองเกี่ยวกับกลยุทธ์ของความเป็นพี่เลี้ยงเป็นสาเหตุสำคัญ ของความล้มเหลวในระบบพี่เลี้ยง <p><p>6. การยอมรับในความหลากหลาย เป็นลักษณะสำคัญของความสำเร็จของระบบพี่เลี้ยง หมายความว่า พี่เลี้ยงต้องทราบว่าวิธีใด/เรื่องใดที่จะส่งผลกระทบถึงภูมิหลังของความ สัมพันธ์ระหว่างพี่เลี้ยงและพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน นอกจากนี้ พี่เลี้ยงต้องเข้าใจในภูมิหลังของพนักงานใหม่/พนักงานที่ได้รับการสอนงาน <p><p>7. การติดตามและการประเมินผล เช่นเดียวกับโครงการอื่นๆ ที่ต้องมีการติดตามและประเมินผลเพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ <p>บรรณานุกรม <p>Mavuso, Michael Abby. 2007. Mentoring as a Knowledge Management Tool in Organisations. Thesis (M.Phil.) -- Stellenbosch University, 2007. <p>อ่านเพิ่มเติม <p>http://www.mentoringgroup.com/html/archive.html <p>Zachary, Lois J. 2000. The Mentor's Guide: Facilitating Effecting Learning Relationships. Wiley : Jossey-Bass. [การจัดการความรู้]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
That's bad enough but they've also lost the opportunity to find out about their mentor and I'm sure that hurts them much more than anything else. ที่ไม่ดีพอ ... ... แต่พวกเขาได้สูญเสียยังมีโอกาสที่จะหาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ให้คำปรึกษาของพวกเขา ... ... และฉันแน่ใจว่าพวกเขาเจ็บมากขึ้นกว่าสิ่งอื่น Teenage Mutant Ninja Turtles (1990)
Well, considering I've never seen anyone get it right, including my mentor, Dr. Leaky at M.I.T. - คือครูไม่เคยเห็นใครทำถูกมาก่อน แม้แต่ครูของครู ดร.ลี้คกี้ที่เอ็มไอที Rushmore (1998)
Oh, no, it's Fran. She's my mentor. โอ้ นั่น ฟราน ที่ปรึกษาฉัน Just Like Heaven (2005)
You'll have a mentor, who you'll work with weekly, to give you a little perspective. นายจะมีที่ปรึกษา ที่ทำงานด้วยตลอดอาทิตย์ ให้นายมีมุมมองใหม่ Cell Test (2005)
People like us usually do not mentor others, because I do not wish to pass on my skills so easily to anyone. โดยปกติคนอย่างพวกเราจะไม่สอนใคร เพราะไม่อยากถ่ายทอดทักษะให้คนอื่นให้ง่าย ๆ Smile Again (2006)
Our man in the ukraine.He was bennet's friend, his mentor. คนของเราในยูเครน เขาเคยเป็น เพื่อนของ เบนเน็ท พี่เลี้ยงเขา Chapter Seven 'Out of Time' (2007)
To his mentor in the ukraine. กับที่ปรึกษาของเขาในยูเครน Chapter Nine: Cautionary Tales (2007)
You're my mentor. Please let me get revenge. คุณเป็นที่ปรึกษาของผม ได้โปรดช่วยสอนผมด้วย Eiga: Kurosagi (2008)
Casey trained with Bennett for a long time, and when you have a mentor like that, a real trust develops between you, and Casey feels betrayed. เคซี่ฝึกกับเบนเน็ตต์ มานานมาก แล้วเมื่อคุณอยู่กับ พี่เลี้ยงแบบนั้น ความไว้เนื้อเื่ชื่อใจกัน ก็เพิ่มพูน Chuck Versus the Sensei (2008)
You know, Mercy, it seems to me... like Lex may have been a little bit more than a mentor. เขาอุทิศชีวิตเพื่อความสงบสุขของโลก รู้อะไรมั๊ย เมอร์ซี่, ผมเองก็เหมือนกัน Committed (2008)
Please be my mentor, Sir. กรุณาเป็นที่ปรึกษาให้ผมด้วยครับ, ท่าน. Episode #1.9 (2008)
A former mentor of mine once told me a story ที่ปรึกษาคนแรกของฉันเคยเล่าเรื่องหนึ่ง The Price (2008)

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
mentorMentor in the public eye.
mentorTo be always ready for war, said Mentor, is the surest way to avoid it.
mentorYou have been a great mentor to me.

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
กุนซือ[kunseū] (n) EN: consultant ; advisor ; adviser ; manager ; strategist ; coach  FR: conseiller [ m ] ; manageur = manager [ m ] ; coach [ m ] (anglic.) ; mentor [ m ]
แม่พิมพ์[maēphim] (n) EN: teacher ; instructor ; tutor ; master/mistress ; mentor ; schoolteacher ; educator
พี่เลี้ยง[phīlīeng] (n) EN: trainer ; mentor ; coach

CMU Pronouncing Dictionary
mentor
 /M EH1 N T AO2 R/
/เม้น โท (ร)/
/mˈentˌɔːr/
mentor
 /M EH1 N T ER0/
/เม้น เถ่อ (ร)/
/mˈentɜːʴ/
mentors
 /M EH1 N T ER0 Z/
/เม้น เถ่อ (ร) สึ/
/mˈentɜːʴz/
mentors
 /M EH1 N T AO2 R Z/
/เม้น โท (ร) สึ/
/mˈentˌɔːrz/
mentor's
 /M EH1 N T AO2 R Z/
/เม้น โท (ร) สึ/
/mˈentˌɔːrz/
mentored
 /M EH1 N T ER0 D/
/เม้น เถ่อ (ร) ดึ/
/mˈentɜːʴd/
mentoring
 /M EH1 N T ER0 IH0 NG/
/เม้น เถ่อ (ร) หริ่ง/
/mˈentɜːʴɪŋ/
mentorship
 /M EH1 N T ER0 SH IH2 P/
/เม้น เถ่อ (ร) ชิ ผึ/
/mˈentɜːʴʃˌɪp/

Oxford Advanced Learners Dictionary
mentor
 (n) /m e1 n t oo r/ /เม้น โถ่ (ร)/ /mˈentɔːr/
mentors
 (n) /m e1 n t oo z/ /เม้น ถ่อ สึ/ /mˈentɔːz/

WordNet (3.0)
mentor(n) a wise and trusted guide and advisor, Syn. wise man
mentor(v) serve as a teacher or trusted counselor

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Mentor

n. [ From Mentor, the counselor of Telemachus, Gr. Me`ntwr, prop., counselor. Cf. Monitor. ] A wise and faithful counselor or monitor. [ 1913 Webster ]

Mentorial

a. [ From Mentor. ] Containing advice or admonition. [ 1913 Webster ]


DING DE-EN Dictionary
Mentor { m }; Mentorin { f }mentor [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
[し, shi] (n) (1) teacher; master; one's mentor; (n, suf) (2) religious leader; (suf) (3) specialist; (n) (4) (arch) five-battalion brigade comprising 2500 men (Zhou-dynasty Chinese army) #908 [Add to Longdo]
インプリメンタ[inpurimenta] (n) implementor [Add to Longdo]
ドキュメントライブラリ[dokyumentoraiburari] (n) { comp } document library [Add to Longdo]
メンター[menta-] (n) (1) mentor; (n, vs) (2) mentoring [Add to Longdo]
画面取り込み[がめんとりこみ, gamentorikomi] (n) { comp } screen capture [Add to Longdo]
作成者[さくせいしゃ, sakuseisha] (n) implementor; author [Add to Longdo]
作成者語[さくせいしゃご, sakuseishago] (n) { comp } implementor-name [Add to Longdo]
指導者[しどうしゃ, shidousha] (n) leader; guide; mentor; coach [Add to Longdo]
糸面取り[いとめんとり, itomentori] (n) light chamfering (engineering) [Add to Longdo]
庇護者[ひごしゃ, higosha] (n) guardian; mentor; protector [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
画面取り込み[がめんとりこみ, gamentorikomi] screen capture [Add to Longdo]
作成者[さくせいしゃ, sakuseisha] implementor, author [Add to Longdo]
作成者語[さくせいしゃご, sakuseishago] implementor-name [Add to Longdo]

Time: 0.0491 seconds, cache age: 1.536 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/