Mepazine | เมพาซิ่น [การแพทย์] |
Magazine | นิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Magazine covers | ปกนิตยสาร [TU Subject Heading] |
Magazine design | การออกแบบนิตยสาร [TU Subject Heading] |
Magazine format television programs | รายการนิตยสารทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading] |
Magazine illustration | ภาพประกอบวารสาร [TU Subject Heading] |
magazine | (n) นิตยสาร, See also: วารสาร, หนังสือรายเดือน, หนังสือรายสัปดาห์, แม็กกาซีน, Syn. mag, journal, periodical |
magazine | (n) กล่อง, See also: ที่ใส่กระสุน, Syn. cartridge holder, cartrigde clip |
magazine | (แมก'กะซีน) n. นิตยสาร, ห้องเก็บดินปืนหรือวัตถุระเบิดอื่น ๆ , กล่องใส่กระสุนในปืนอัตโนมัติ, กระสุนปืนรวมทั้งแก๊ป, ปลอกกระสุนและหัวตะกั่ว, See also: magazinish adj. magaziny adj. |
powder magazine | n. รังเพลิง, โรงเก็บกระสุนดินปืน, ซองระเบิด |
magazine | (n) นิตยสาร, วารสาร, หนังสือพิมพ์รายเดือน, คลังกระสุน, ซองปืน |
magazine | นิตยสาร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Magazine | นิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Magazine covers | ปกนิตยสาร [TU Subject Heading] |
Magazine design | การออกแบบนิตยสาร [TU Subject Heading] |
Magazine format television programs | รายการนิตยสารทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading] |
Magazine illustration | ภาพประกอบวารสาร [TU Subject Heading] |
นิตยสาร | (n) magazine, See also: journal, periodical, Syn. แมกกาซีน, Example: ร้านทำผมร้านนี้รับนิตยสารประเภทที่เกี่ยวกับผู้หญิงเป็นประจำ, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือพิมพ์ที่ออกเป็นรายคาบ เช่น นิตยสารรายสัปดาห์ นิตยสารรายเดือน, Notes: (สันสกฤต) |
แหนบ | (n) magazine, Syn. ซองปืน, Count Unit: แหนบ, Thai Definition: ซองบรรจุกระสุนปืน |
เล่ม | [lem] (n) EN: [ classifier : books, magazines ; knives, forks, spoons ; oxcarts ; wheels ; barrows ] FR: [ classificateur : livres, magazines ; couteaux, fourchettes, cuillères ; charrettes à boeufs ; roues ; brouettes, charrettes à bras ] |
เล่มนี่มีอะไร | [lem nī mī arai] (xp) EN: what's inside this issue ? FR: que trouve t-on dans ce magazine ? ; quel est le contenu de ce numéro ? |
แม็ค = แม็ก | [maek] (n) EN: magazine ; mag (inf.) FR: magazine [ m ] |
หน้า | [nā] (n) EN: [ classifier : pages (books, magazines, newspapers) ] FR: [ classificateur : pages de livres, magazines et journaux ] |
แหนบ | [naēp] (n) EN: magazine |
หนังสือรายเดือน | [nangseū rāideūoen] (n, exp) EN: monthly ; monthly magazine FR: mensuel [ m ] ; périodique [ m ] |
หนังสือรายปักษ์ | [nangseū rāipak] (n, exp) EN: fortnightly ; fortnightly magazine FR: bimensuel [ m ] |
หนังสือรายสัปดาห์ | [nangseū rāisapdā] (n, exp) EN: weekly ; weekly magazine FR: hebdomadaire [ m ] ; magazine [ m ] |
นิตยสาร | [nittayasān] (n) EN: magazine ; journal ; periodical FR: magazine [ m ] ; revue [ f ] ; périodique [ m ] ; publication [ f ] |
นิตยสารฉบับที่ ... | [nittayasān chabap thī ...] (n, exp) FR: magazine numéro ... [ m ] ; revue numéro ... [ f ] ; périodique numéro ... [ m ] |
magazine | |
magaziner | |
magazines | |
magazine's | |
magazines' | |
magaziner's |
magazine | |
magazines |
magazine | (n) a periodic publication containing pictures and stories and articles of interest to those who purchase it or subscribe to it, Syn. mag |
magazine | (n) product consisting of a paperback periodic publication as a physical object |
magazine | (n) a business firm that publishes magazines, Syn. magazine publisher |
magazine | (n) a light-tight supply chamber holding the film and supplying it for exposure as required, Syn. cartridge |
magazine | (n) a storehouse (as a compartment on a warship) where weapons and ammunition are stored, Syn. powder store, powder magazine |
magazine article | (n) an article published in a magazine |
magazine rack | (n) a rack for displaying magazines |
Magazine | n. [ F. magasin, It. magazzino, or Sp. magacen, almagacen; all fr. Ar. makhzan, almakhzan, a storehouse, granary, or cellar. ] [ 1913 Webster ]
|
Magazine | v. t. |
Magazine camera | . (Photog.) A camera in which a number of plates can be exposed without reloading. [ Webster 1913 Suppl. ] |
Magaziner | n. One who edits or writes for a magazine. [ R. ] Goldsmith. [ 1913 Webster ] |
Magazine rack | n. A rack or stand for displaying magazines{ 4 }. [ WordNet 1.6 ] |
杂志 | [杂 志 / 雜 誌] magazine #2,042 [Add to Longdo] |
暗盒 | [暗 盒] magazine; cassette #101,577 [Add to Longdo] |
Magazin { n }; Zeitschrift { f } | Magazine { pl }; Zeitschriften { pl } | magazine | magazines [Add to Longdo] |
部 | [べ, be] (n, n-suf) (1) (higher than a 課) department (in an organization); division; bureau; (2) club; (3) part; component; element; (4) category; (ctr) (5) counter for copies of a newspaper or magazine; (P) #104 [Add to Longdo] |
雑誌 | [ざっし, zasshi] (n) journal; magazine; periodical; (P) #854 [Add to Longdo] |
誌 | [し, shi] (n-suf, ctr) (abbr) (See 雑誌) magazine; (P) #887 [Add to Longdo] |
蔵(P);倉(P);庫 | [くら, kura] (n) warehouse; cellar; magazine; granary; godown; depository; treasury; elevator; (P) #2,054 [Add to Longdo] |
マガジン | [magajin] (n) magazine; (P) #2,626 [Add to Longdo] |
購読 | [こうどく, koudoku] (n, vs, adj-no) paid subscription (e.g. magazine); (P) #7,773 [Add to Longdo] |
同誌 | [どうし, doushi] (n) same magazine #13,223 [Add to Longdo] |
読み切り;読切り | [よみきり, yomikiri] (n, adj-no) (1) finishing reading; (2) non-serialised stories (e.g. in magazines); complete novel; (3) (See 句読) punctuation #15,281 [Add to Longdo] |
季刊 | [きかん, kikan] (n, adj-no) quarterly (e.g. magazine); (P) #16,093 [Add to Longdo] |
本誌 | [ほんし, honshi] (n) this magazine #16,562 [Add to Longdo] |
雑誌記事 | [ざっしきじ, zasshikiji] journal article, magazine article [Add to Longdo] |