ศัพท์ | (n) vocabulary, See also: word, term, glossary, terminology, Syn. คำศัพท์, คำยาก, Example: พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์รวบรวมศัพท์ที่ใช้อยู่ในสาขาคอมพิวเตอร์, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำยากที่ต้องแปลหรืออธิบายเพิ่มเติม |
ศัพท์สูง | (n) high level lexicon, See also: advanced lexicon, Example: ผู้อ่านน้อยคนนักที่จะสละเวลาค้นหาคำแปลศัพท์สูง ว่ามีความหมายอย่างไร, Count Unit: ศัพท์, คำ, Thai Definition: คำศัพท์ที่ใช้ในระดับภาษาสูง มักใช้ในงานวรรณคดี หรือวรรณกรรม เป็นต้น |
ศัพท์แสง | (n) vocabulary, See also: words, jargon, lingo, terms, Syn. คำศัพท์, ศัพท์, คำยาก, Example: เราต้องเรียนรู้ศัพท์แสงทางคอมพิวเตอร์ไว้บ้าง, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำยากที่ต้องแปลหรืออธิบายเพิ่มเติม |
ศัพท์หมวด | (n) glossary, Syn. คำศัพท์หมวด, Count Unit: คำ, ศัพท์ |
ศัพท์เฉพาะ | (n) terminology, See also: technical terms, Ant. ศัพท์ทั่วไป |
ศัพท์เฉพาะ | (n) technical term, Syn. คำศัพท์เฉพาะ, Example: ผู้เขียนต้องศึกษาศัพท์เฉพาะเหล่านี้มาเป็นอย่างดีแล้ว, Count Unit: คำ, ศัพท์ |
ศัพท์บัญญัติ | (n) terminology, Example: เจ้าหน้าที่ตรวจสอบการใช้ศัพท์บัญญัติให้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำที่กำหนดให้ใช้จากคำที่แปลมาจากภาษาอื่น |
ศัพท์เทคนิคเฉพาะ | (n) jargon, Syn. ศัพท์เฉพาะ, คำเฉพาะ, Example: พ่อแม่ครูอาจารย์ไม่มีข้อมูลความรู้ความเข้าใจในศัพท์เทคนิคเฉพาะของการเล่นพนันบอล, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำที่ใช้เฉพาะภายในกลุ่มบุคคลในวงการใดวงการหนึ่งที่บุคคลอื่นอาจไม่เข้าใจ |
Thesaurus | ศัพท์สัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Controlled vocabulary | ศัพท์ควบคุม, ศัพท์บังคับ, Example: ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม (Controlled vocabulary) หมายถึง การกำหนดให้คำศัพท์คำหนึ่งทำหน้าที่ควบคุมคำศัพท์หลายคำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน เพื่อให้มีความเป็นมาตรฐาน ลดความกำกวม เป็นช่องทางหนึ่งในการจัดการความรู้ เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงเนื้อหาหรือช่วยในการสืบค้นให้มีประสิทธิภาพ กล่าวคือ คำศัพท์บังคับคำเดียวสามารถเข้าถึงเอกสารได้จำนวนมาก แม้ว่าจะเอกสารนั้นจะเขียนด้วยศัพท์ภาษาที่แตกต่างกัน การใช้ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมนี้ เป็นการใช้ภาษาดรรชนี (Indexing language) ซึ่งแตกต่างจากภาษาหรือคำที่ผู้เขียนกำหนดขึ้นเอง ซึ่งเรียกว่า ภาษาธรรมชาติ (Natural language) ซึ่งมักจะปรากฏให้เห็นว่า มีคำเกิดขึ้นที่หลากหลาย ไม่เป็นแบบแผนเดียวกัน คำศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ถูกใช้ในการกำหนดเป็นหัวเรื่อง ศัพท์สัมพันธ์ (อรรถาภิธาน) แทกโซโนมี ฯลฯ <p>ข้อดีของศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม <p>การกำหนดให้ใช้ศัพท์บังคับ/ศัพท์ควบคุม ในการเป็นตัวแทนเนื้อหาของสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการกำหนดคำที่เป็นตัวแทนของเนื้อหา เพื่อมิให้เนื้อหาเดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์กระจัดกระจายไปตามคำศัพท์ที่มิได้เกิดจากการควบคุม ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการสืบค้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น หัวเรื่องภาษาอังกฤษของ Library of Congress Subject Headings จะมีการกำหนดคำที่ใช้แตกต่างกันระหว่างอเมริกาและอังกฤษ เช่น คำว่า color จะมีการกำหนดว่าให้ใช้คำว่า color ไม่ใช้ colour ซึ่งเมื่อสืบค้น ด้วยคำว่า color จะได้เนื้อหาที่มีการเขียนทั้งคำว่า color และ colour ได้อย่างครบถ้วน หรือคำว่า apartments จะถูกกำหนดให้ใช้ในการเป็นตัวแทนของเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว แต่จะไม่ใช้คำว่า flats <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมช่วยแก้ปัญหาคำพ้องรูป ซึ่งเป็นศัพท์ที่เขียนเหมือนกันแต่มีการใช้ต่างกัน (Homographs) เช่น คำว่า pool ความหมายหนึ่ง หมายถึง บ่อน้ำ สระน้ำ อีกความหมายหนึ่ง หมายถึง เกมชนิดหนึ่ง ดังนั้น ในการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะมีคำขยายเพื่อให้ชัดเจนว่าหมายถึงเรื่องนั้น เช่น Pool (Game) หรือคำว่า เงาะ ซึ่งหมายถึง ผลไม้ชนิดหนึ่ง หรือชนกลุ่มน้อยก็ได้ คำว่า เงาะ ในการเป็นคำศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จึงหมายถึง ชื่อผลไม้ แต่ถ้าจะหมายถึง ชนกลุ่มน้อย จะมีการกำหนดให้ใช้เป็น เงาะ (กลุ่มชาติพันธุ์) <p>ศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม ถูกนำมาใช้ในลักษณะที่เป็นหัวเรื่อง (Subject headings) หรือศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) หัวเรื่องที่เป็นที่รู้จักกันดี คือ Library of Congress Subject Headings, Sear Subject Headings, Medical Subject Headings, Art & Architecture Thesaurus และ ERIC Thesaurus เป็นต้น <p>ตัวอย่าง Library of Congress Subject Headings ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำลักษณะของศัพท์สัมพันธ์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการกำหนดหัวเรื่องด้วย ทำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของคำศัพท์ได้ดีขึ้น แม้ว่าจะไม่มีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชานั้นๆ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120527-Controlled-Vocab.jpg" alt="Controlled Vocabulary"> <p>ในประเทศไทยมีการกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุมใช้เป็นคู่มือหัวเรื่องสำหรับการลงรายการทรัพยากรสารสนเทศภาษาไทย เช่นเดียวกัน เช่น หัวเรื่องและวิธีการกำหนดหัวเรื่องสำหรับวัสดุสารนิเทศภาษาไทยของสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และหัวเรื่องสำหรับหนังสือภาษาไทย ซึ่งจัดทำโดย คณะทำงานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ในภายหลังได้มีการปรับปรุงการกำหนดคำศัพท์บังคับนี้เป็นแบบศัพท์สัมพันธ์เช่นเดียวกับของ Library of Congress Subject Headings <p>การกำหนดศัพท์บังคับหรือศัพท์ควบคุม จะดำเนินการโดยนักวิชาชีพ เช่น บรรณารักษ์ และนักเอกสารสนเทศ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา <p>บรรณานุกรม: <p>Library of Congress Classification Web. [ Online ] Available: http://classificationweb.net. Accessed: 2012-05-27. <p>ประดิษฐา ศิริพันธ์. “การใช้ศัพท์บังคับในการสืบค้นข้อสนเทศ”. หน้า 65-73 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง Thesaurus Construction. กรุงเทพฯ : สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Thesaurus | ศัพท์สัมพันธ์, Example: รายการคำศัพท์ หรือ บัญชีคำศัพท์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ให้ใช้ว่า อรรถาภิธาน หมายถึง หนังสืออ้างอิงที่รวบรวมคำศัพท์ที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมาไว้ในกลุ่มเดียวกัน แต่ก็มักจะเห็นมีการใช้คำว่า ศัพท์สัมพันธ์ อยู่ด้วยเช่นกัน <p>องค์ประกอบของอรรถาภิธาน <p>อรรถาภิธาน จะให้รายการคำศัพท์ตามลำดับอักษร ควบคุมคำที่มีความหมายเหมือนกัน คำพ้องหรือคำที่เขียนเหมือนกัน แต่ความหมายแตกต่างกัน มีรายการแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างศัพท์ในกลุ่มลำดับชั้น โดยทั่วไปมีองค์ประกอบ ดังนี้ <p>1. คำหลักของชุด (descriptor) ที่ใช้ในสาขาวิชานั้น <p>2. คำที่กำหนดให้ใช้และไม่กำหนดให้ใช้ รวมทั้งแนะนำว่า คำใดให้ใช้ได้ และใช้แทนคำอะไรบ้าง ซึ่งมักจะเป็นคำที่มีความหมายพ้องกับคำหลักหรือคำที่มีความหมายใกล้เคียงกับคำหลัก แต่ไม่ใช้และได้กำหนดให้ใช้คำหลักแทน (จะใช้สัญลักษณ์ว่า UF หมายถึง Used For) เช่น <p> Distance education <p> UF Open learning <p>3. ข้อความอธิบายคำหลัก หรือคำนิยาม หรือขอบเขตของคำศัพท์ที่ใช้ (ใช้สัญลักษณ์คือ SN หมายถึง Scope Note) เพื่อให้มีความชัดเจนเกี่ยวกับคำศัพท์นั้นๆ เช่น <p>Distance learning <p> SN Systematic use of techbiques line correspondence, radio, television and the Internet to reach off-campus students <p>4. คำที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้อง (relationship) กับคำหลัก <p>4.1 คำที่เป็นคำต้นสกุลของคำหลัก (Top Term) ใช้สัญลักษณ์คือ TT) <p>4.2 คำที่มีความหมายกว้างกว่าคำหลัก (Broader Term ใช้สัญลักษณ์ คือ BT) <p>4.3 คำที่มีความหมายแคบกว่าคำหลัก (Narroe Term ใช้สัญลักษณ์คือ NT) <p>4.4 คำที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับคำหลัก (Related Term) ที่ไม่ใช่คำที่มีความหมายกว้างกว่าหรือแคบกว่า (ใช้สัญลักษณ์คือ RT) <p>ตัวอย่าง <p>Distance education <p>SN Systematic use of techbiques line correspondence, radio, television and the Internet to reach off-campus students <p>UF Open learning <p>NT Virtual universities <p>RT Correspondence courses <p> Educational media <p> Electronic learning <p> Open universities <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1231-20110828-thesaurus.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Terminology | ศัพท์บัญญัติ [TU Subject Heading] |
Thesauri | ศัพท์สัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
ศัพท์ | [sap] (n) EN: word ; dictionary entry ; vocabulary ; glossary ; word list ; terminology FR: mot [ m ] ; terme [ m ] ; vocabulaire [ m ] ; glossaire [ m ] |
ศัพท์กฎหมาย | [sap kotmāi] (n, exp) EN: legal terms |
ศัพท์การกีฬา | [sap kānkīlā] (n, exp) FR: vocabulaire du sport [ m ] |
ศัพท์ธุรกิจ | [sap thurakit] (n, exp) EN: business terms |
ศัพท์บัญญัติ | [sap banyat] (n, exp) EN: invented word ; coined word ; prescribed words ; terminology |
ศัพท์พ้อง | [sap phøng] (n) EN: synonym FR: synonyme [ m ] |
ศัพท์พื้นฐาน | [sap pheūnthān] (n, exp) EN: basic vocabulary |
ศัพท์วิทยาศาสตร์ | [sap witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific term FR: terme scientifique [ m ] |
ศัพท์สูง | [sap sūng] (n, exp) EN: difficult word ; rare word FR: mot difficile [ m ] ; mot rare [ m ] |
ศัพท์หมวด | [sap mūat] (n, exp) EN: glossary ; lexicon ; classified words ; classified terms |
PDA | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC |
cell phone | (n) คำย่อของ cellular phone (โทรศัพท์มือถือ), See also: cellular phone, mobile phone |
cellular phone | (n) โทรศัพท์มือถือ, See also: cell phone, mobile phone |
LOL | (phrase, slang) ย่อมาจาก Laughing Out Loud หมายถึง กำลังหัวเราะอย่างดัง, เป็นศัพท์แสลงยุคอินเทอร์เน็ต |
AFAIK | (phrase, slang) ย่อมาจาก As Far As I Know หมายถึง เท่าที่ข้าพเจ้าทราบนั้น, เป็นศัพท์แสลงยุคอินเทอร์เน็ต |
IMHO | (phrase, slang) ย่อมาจาก In My Humble Opinion หมายถึง ในความเห็นอันต่ำต้อยของข้าพเจ้านั้น..., เป็นศัพท์แสลงยุคอินเทอร์เน็ต |
computer | (n) คณิตกร (ศัพท์บัญญัติในภาษาไทย) |
siphon | (n) การยักย้ายหรือตักตวงผลประโยชน์จากรัฐหรือจากบริษัทมาเป็นของตัวเอง(ในทางธุรกิจ-การเงิน) มักใช้ทับศัพท์ว่า ไซฟ่อน |
phone booth | (n) ตู้โทรศัพท์หยอดเหรียญ |
collect call | (n) โทรศัพท์เรียกเก็บเงินปลายทาง |
abusage | (อะบิว' เซจ) n. การใช้ศัพท์อย่างฟุ่มเฟือย, ศัพท์ที่ผิดหรือไม่เหมาะสม |
acceptation | (แอคเซพเท' เชิน) n. การเห็นด้วย, ความเชื่อ, ความหมายที่ยอมรับกันของศัพท์หรือวลีหรืออื่น, Syn. approval, belief |
acoustic coupler | ตัวคู่ต่อทางเสียงหมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนี่งที่ใช้เป็นตัวเปลี่ยนสัญญาณจากดิจิตอลของคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณโทรศัพท์ หรือจากสัญญาณโทรศัพท์เป็นสัญญาณดิจิตอลของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้มีการสื่อสารกันได้ ใช้วางอยู่กับเครื่องโทรศัพท์ มีลักษณะเป็นโมเด็มชนิดหนึ่ง ดู MODEM ประกอบ |
adjectival | (แอคจิคไท' เวิล) adj. เกี่ยวกับหรือใช้เป็นคุณศัพท์ (of an adjective) |
adjective | (แอด' เจคทิฟว) n., adj. คำคุณศัพท์, ศัพท์ที่ขยายคำนาม, เครื่องประกอบ, ประกอบ |
adnoun | (แอค' นาวน) คุณศัพท์เป็นคำนาม |
americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน |
anarthrous | (แอนอา' ธรัส) adj. ไร้ข้อต่อมไร้คุณศัพท์ (having no joints) |
answer mode | ภาวะตอบรับหมายถึง ภาวะที่โมเด็ม (modem) หรืออุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สายโทรศัพท์ส่งเสียงแสดงว่าพร้อมที่จะรับคำสั่ง (แปลว่าให้เริ่มส่งข้อมูลได้) |
archaicism | (อาร'์ คีอิส'ึม, อาร์เค'อิส'ซึม) n. สิ่งที่โบราณ (ศัพท์, ภาษา, ธรรมเนียม) , การใช้สิ่งที่โบราณ. -archaist n., archaistic adj. (archaic word, usage, etc.) |
adjectival | (adj) เกี่ยวกับคำคุณศัพท์ |
adjective | (n) คำคุณศัพท์ |
CALL call girl | (n) นางทางโทรศัพท์ |
call | (vt) ร้อง, ร้องเรียก, เรียกหา, มาหา, เยี่ยมเยียน, โทรศัพท์ |
cant | (n) ศัพท์เฉพาะ |
contraction | (n) การหดตัว, การเกร็ง, การจำกัดให้แคบ, คำย่อ, ศัพท์ย่อ |
define | (vt) จำกัดความ, กำหนดเขต, จำกัดวง, บัญญัติศัพท์ |
definition | (n) คำนิยาม, คำจำกัดความ, คำอธิบาย, การบัญญัติศัพท์, ความชัดเจน |
derivation | (n) การได้รับมา, การสร้างคำ, แหล่งที่มา, ความเป็นมา, รากศัพท์ |
diction | (n) วิธีพูดและเขียน, การออกเสียง, คำศัพท์ |
aller | (ind-pron) ทั้งหมด (สรรพนามในรูปของ Genetiv) เช่น in aller Form, หรือใช้เน้นคำคุณศัพท์ในการเปรียบเทียบขั้นสูงสุด เช่น das Beste aller Zeiten สิ่งที่เยี่ยมที่สุดในทุกสมัย |
doch | ใช้เน้นว่าเชื่อเช่นนั้น เช่น Du weißt doch meine Telefonnummer, nicht wahr? เธอรู้เบอร์โทรศัพท์ของฉัน ไม่ใช่หรือ |
gleichzeitig | (adj, adv) ในขณะเดียวกัน, ในเวลาเดียวกัน เช่น Er kann telefonieren und gleichzeitig auch lesen. เขาสามารถโทรศัพท์ในเวลาเดียวกันก็อ่านหนังสือไปด้วยได้, Syn. zur gleichen Zeit |
günstig | (adj) เป็นผลดี, ให้ประโยชน์, ให้คุณ, ที่พอดี, ที่พอควร, เช่น (1) günstiger Zeitpunkt ช่วงเวลาที่เหมาะสม, (2) Es ist doch günstig, wenn wir zwei Telefone im Haus haben. มันเป็นการดีนะ ถ้าเรามีโทรศัพท์สองเครื่องภายในบ้าน |
Handy | (n) |das, pl. Handys/Handies| โทรศัพท์มือถือ, โทรศัพท์เคลื่อนที่, See also: Related: Telefon |
rosa | (adj) ที่มีสีชมพู เช่น ein rosa Hemd เสื้อเชิ้ตสีชมพู (สังเกตว่าคำคุณศัพท์ rosa ไม่ผันรูปตามคำนาม เป็นข้อยกเว้น) |
nachdem | (konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| หลังจาก เช่น Nachdem ich mit dir telefoniert habe, arbeite ich weiter. หลังจากที่ฉันโทรศัพท์กับเธอ ฉันทำงานต่อ |
Wort | (n) |das, pl. Wörter| คำ, คำศัพท์ (คำเดี่ยวที่ไม่ได้สอดคล้องกัน) เช่น Wieviele Wörter fehlen dir noch in dem Kreuzworrätsel. เธอยังขาดอีกกี่คำในปริศนาอักษรไขว้ |
weiterleiten | (vt) |leitet weiter, leitete weiter, hat weitergeleitet, etw.(A)| ส่งต่อ(อีเมล, ข่าว, ข้อมูล), โอนสาย(โทรศัพท์) เช่น Telefonate weiterleiten โอนสายโทรศัพท์ |
funktionsfähig | (adj, adv) ที่สามารถทำงานได้, ซึ่งสามารถปฏิบัติการได้ เช่น Das schnurlose Telefon kann mehrere Stunden funktionsfähig benutzt werden. โทรศัพท์ไร้สายนี้สามารถใช้การได้หลายชั่วโมง |