โวหาร | (n) diction |
โวหาร | (n) eloquence, See also: words, diction, rhetoric, oratory, Syn. สำนวนโวหาร, Example: หลายฝ่ายแสดงความคิดเห็นด้วยลักษณะของบัณฑิต ด้วยโวหารนุ่มนวล, Count Unit: โวหาร, Thai Definition: ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน, Notes: (บาลี) |
สำนวนโวหาร | (n) literary style, See also: flowery language, Syn. โวหาร, Example: หนังสือเล่มนี้ได้รับความนิยม เพราะผู้เขียนใช้สำนวนโวหารที่เข้าใจง่าย, Count Unit: สำนวน, Thai Definition: ถ้อยคำที่เรียบเรียง |
อุปมาโวหาร | (n) figure of speech, See also: metaphor, simile, Thai Definition: สำนวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่างๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ |
กัปปิยโวหาร | (n) suitable speech, Count Unit: คำ, Thai Definition: ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะแก่กาละเทศะ |
กัปปิยโวหาร | (n) proper speech for a monk, See also: monk's utterable words, Example: สาธุชนพึงใช้กัปปิยโวหารกับภิกษุสงฆ์, Count Unit: คำ, Thai Definition: โวหารที่ควรแก่ภิกษุ |
ปฏิภาณโวหาร | (n) impromptu rhetoric, See also: improvisation (rhetoric), extemporization, Syn. เล่นสำนวน, ชั้นเชิงโวหาร, Example: เขามีปฏิภาณโวหาร, Thai Definition: การกล่าวเหมาะด้วยเหตุผลในทันที |
กัปปิยโวหาร | น. โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตราว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ. |
เทศนาโวหาร | น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนาของพระ. |
บรรยายโวหาร | น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการชี้แจงหรืออธิบาย. |
ปฏิภาณโวหาร | (ปะติพานนะ-, ปะติพาน-) น. การกล่าวเหมาะด้วยเหตุผลในทันที. |
พรรณนาโวหาร | น. สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ. |
โวหาร | น. ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด เช่น มีโวหารดี, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน เช่น อย่ามาตีโวหาร เขาชอบเล่นโวหาร. |
สมณโวหาร | น. ถ้อยคำที่ควรแก่สมณะ เช่น อาตมา ฉันจังหัน กัปปิยภัณฑ์. |
สาธกโวหาร | น. สำนวนเขียนที่มีการยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น. |
อกัปปิยโวหาร | น. ถ้อยคำที่ไม่ควรใช้พูด. |
อุปมาโวหาร | น. สำนวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ. |
เกล้า | (เกฺล้า) น. หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่างสูง) เช่น มารดาบังเกิดเกล้า. |
คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. |
เจ้าถ้อยหมอความ | น. ผู้ที่ชอบเอากฎหมายมาอ้าง, ผู้มักใช้โวหารพลิกแพลงไปในทางกฎหมาย. |
ติดตลก | ก. เอาตัวตลกมาเล่นแทรกเพื่อให้ตัวละครหรือคนร้องพัก, ใช้สำนวนโวหารหรือแสดงท่าทางชวนให้คนหัวเราะขบขัน. |
ตีสำนวน | ก. พูดใช้สำนวนโวหารเป็นเชิงอวดฉลาด. |
ถ่อง | ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย (ลอ). |
บทอัศจรรย์ | น. บทร้อยกรองตามธรรมเนียมนิยมในวรรณคดี พรรณนาเพศสัมพันธ์ของชายหญิง มักกล่าวให้เป็นที่เข้าใจโดยใช้โวหารเป็นสัญลักษณ์หรืออุปมาอุปไมยเป็นต้น. |
ภาพพจน์ | (พาบพด) น. ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. |
วาทศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคำสำนวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่น พูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. |
วาทศิลป์ | น. ศิลปะในการใช้ถ้อยคำสำนวนโวหารให้ประทับใจ. |
ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. |
สำนวน | น. ถ้อยคำที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สำนวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สำนวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สำนวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ |
สุนทร, สุนทร- | (-ทอน, -ทอนระ-, -ทอระ-) ว. งาม, ดี, ไพเราะ, เช่น วรรณคดีเป็นสิ่งสุนทร, มักใช้เข้าสมาสกับคำอื่น เช่น สุนทรพจน์ สุนทรโวหาร. |
ballad | (แบล'เลิด) n. บทกวีบาทชนิดหนึ่ง, เพลงที่มีใจความเป็นการบรรยายโวหาร, เพลงลูกทุ่ง, เพลงพื้นเมือง, See also: balladic adj. ดูballad |
casuist | (แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง |
casuistic | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ |
casuistical | (แคซซูอิส'ทิค, -คัล) adj. เจ้าคารม, เล่นสำนวนโวหาร -n.เกี่ยวกับการใช้หลักธรรมจริยา, ซึ่งตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะ |
casuistry | (แคซ'ซูอิสทรี) n. การใช้หลักศีลธรรมจรรยาในการตัดสินปัญหา, การใช้หลักศีลธรรมจรรยาที่ผิด, การเล่นสำนวนโวหาร, การเล่นลิ้น |
euphuism | (ยู'ฟิวอิสซึม) n. สำนวนโวหารหรือถ้อยคำที่สละสลวยหรือหยดย้อยเกินไป, See also: euphuist n. ดูeuphuism euphuistic adj. ดูeuphuism euphuistical adj. ดูeuphuism |
forensic | (ฟอเรน'ซิค) adj. (เกี่ยวกับ) กฎหมาย, ศาลยุติธรรม, การเล่นสำนวนโวหาร, See also: forensics n. วิชาเกี่ยวกับศิลปะแห่งการพูดหรือเขียนเพื่อจูงใจคน forensicality n. forensicsally adv. |
locution | (โลคิว'เชิน) n. สำนวน, สำนวนโวหาร, วิธีการพูด, Syn. manner, accent, discourse |
orate | (โอเรท', ออเรท', ออ'เรท) vi., vt. กล่าวคำปราศรัย, กล่าวคำโวหาร, แสดงสุนทรพจน์ |
oration | (โอเร'เชิน) n. คำโวหาร, คำปราศรัย, คำสุนทรพจน์, การแสดงสุนทรพจน์, ศิลปะแห่งการพูด, Syn. address |
oratory | (ออ'ระโทรี) n. ศิลปะการแสดงสุนทรพจน์, คำสุนทรพจน์, คำโวหาร, คำปราศรัย |
phrase | (เฟรส) n. วลี, กลุ่มคำศัพท์, ถ้อยคำ, โวหาร, คำพูด, คำคม, คำพังเพย, สำนวน, คำคุยโว, การใช้ถ้อยคำ vt. ใช้ถ้อยคำ, แสดงโวหาร, ประจบ, Syn. expressioin, catchword, word |
phraseologist | (เฟรสซีออล'โลจิสทฺ) n. ผู้ที่ชอบใช้สำนวนโวหาร, เจ้าโวหาร |
phraseology | (เฟรสซีออล'โลจี) n. สำนวน, โวหาร, ลักษณะการใช้ถ้อยคำหรือวลี, ภาษาเฉพาะ, ถ้อยคำ, การใช้ถ้อยคำ, ถ้อยคำทั้งหลายที่ใช้ประจำ., See also: phraseological adj. |
quip | (ควิพ) n. คำคม, คำเยาะเย้ย, สำนวน, โวหาร, คำตบลตะแลง, การพูดคำดังกล่าว, การกระทำที่แปลกประหลาด, สิ่งที่แปลกประหลาด., See also: quipster n., Syn. jest, gibe, sally |
quirk | (เควิร์ค) n. การเล่นสำนวน, การเล่นโวหาร, การกระทำหรือคำพูดที่ตลบตะแลง, พฤติการณ์ที่ประหลาด, การบิดหรือโค้งอย่างฉับพลัน, หางตัวอักษร, การเขียนตัวอักษรเล่นหาง, มุมแหลม vt. เล่นสำนวน, ถากถาง, เขียนตัวอักษรแบบเล่นหาง |
rhetoric | (เรท'เทอริค) n. ศิลปะการใช้ถ้อยคำ, วาทศิลป์, เชิงสำนวน, ศิลปะในการพูดชักจูงใจคน, เชิงคุยโว, เชิงโวหาร, Syn. expressiveness, bombast |
sharp-tongued | adj. ปากจัด, ปากร้าย, เสียดสี, เหน็บแนม, มีคารมคมคาย, เจ้าโวหาร |
silver-tongued | adj. ชักชวน, ชักจูง, พูดคล่อง, เจ้าสำนวนโวหาร |
style | (สไทลฺ) n. ชนิด, รูปแบน, ลักษณะ, ท่าทาง, สำนวน, โวหาร, ทำนอง, ท่วงทำนอง, วิธีการ, วิธีการเขียน, แบบอย่าง, ลีลา, คำขนานนาม, ปากกาสมัยโบราณสำหรับเขียนบนแผ่นขี้ผึ้ง, สิ่งที่คล้ายปากกาดังกล่าว, เข็มเครื่องเล่นจานเสียง, เข็มนาฬิกาแดด, วิธีการจับเวลา, แกนดอกไม้, เดือย, หนาม, |
casuist | (n) คนเจ้าคารม, คนเจ้าโวหาร |
eloquence | (n) ความมีคารมคมคาย, โวหารดี, การพูดเก่ง, การพูดคล่องแคล่ว |
eloquent | (adj) มีคารมคมคาย, มีโวหารดี, พูดเก่ง, พูดคล่องแคล่ว |
forensic | (adj) ทางวาทศิลป์, ทางกฎหมาย, เกี่ยวกับการเล่นสำนวนโวหาร |
idiom | (n) โวหาร, สำนวน, ภาษาเฉพาะถิ่น, ลักษณะเฉพาะ |
idiomatic | (adj) เป็นสำนวน, เป็นโวหาร, เป็นลักษณะเฉพาะ |
oration | (n) การกล่าวปราศรัย, การแสดงสุนทรพจน์, โวหาร |
oratorical | (adj) ในเชิงโวหาร, เกี่ยวกับการแสดงสุนทรพจน์ |
phrase | (n) วลี, กลุ่มคำ, สำนวน, โวหาร, คำคม |
phrase | (vt) ใช้ถ้อยคำ, ใช้โวหาร |
phraseology | (n) การใช้ถ้อยคำ, สำนวนโวหาร, ภาษาเฉพาะ |
quirk | (n) การเขียนเล่นหาง, การเหไป, การเล่นสำนวน, การเล่นโวหาร |
rhetorical | (adj) เชิงโวหาร, เกี่ยวกับวาทศิลป์ |