แสดงความคิดเห็น | (v) voice/give one's opinion, See also: show/express one's opinion, Syn. ให้ความคิดเห็น, Example: กองทัพบกเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกองทัพ ทั้งทางจดหมายและโทรศัพท์ |
การแสดงความคิดเห็น | (n) opinion, See also: voice, view, idea, point of view, Syn. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, การเสนอความคิดเห็น, Example: รัฐบาลยอมรับการแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ |
จิตวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบจิตวิสัย, อัตนัย ก็ว่า. |
บทความ | น. ข้อเขียนซึ่งเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร สารานุกรม เป็นต้น. |
บทบรรณาธิการ | น. ข้อเขียนที่บรรณาธิการหรือนักเขียนชั้นนำเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นอันเป็นจุดยืนของหนังสือนั้น ๆ. |
ปรนัย | (ปะระ-, ปอระ-) ว. เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบปรนัย, คู่กับ อัตนัย, วัตถุวิสัย ก็ว่า. |
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น | ก. ผลัดกันแสดงความคิดเห็นในการประชุมเป็นต้น. |
วัตถุวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. |
สงวนท่าที, สงวนทีท่า | ก. ไม่แสดงท่าทีให้ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อไม่ให้ผู้อื่นรู้ความคิดของตน เช่น เขาสงวนท่าทีไม่ยอมแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม, ระมัดระวังกิริยาวาจาไม่ให้ใครดูถูก เช่น ก่อนจะทักทายใคร ควรสงวนทีท่าไว้บ้าง. |
เสียงเงียบ | น. กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด. |
อภิปราย | (อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. |
อัตนัย | ว. ที่เปิดโอกาสให้แสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัวได้, เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบอัตนัย, คู่กับ ปรนัย, จิตวิสัย ก็ว่า. |
เออ ๆ คะ ๆ | ก. รับฟังโดยไม่ขัดคอ, รับฟังไปตามเรื่องตามราวโดยไม่แสดงความคิดเห็น, เช่น ฉันก็เออ ๆ คะ ๆ ไปอย่างนั้นแหละ. |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Consensus, High | เนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์] |
การแสดงความคิดเห็น | [kān sadaēng khwām khit-hen] (n, exp) EN: opinion ; voice ; view ; idea ; point of view FR: opinion [ f ] ; point de vue [ m ] |
แสดงความคิดเห็น | [sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: voice/give one's opinion ; show/express one's opinion FR: exprimer son opinion ; faire entendre sa voix ; exprimer son point de vue |
แสดงความคิดเห็น | [theū wisāsa sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: make bold to express one's view ; venture an opinion |
mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ |
Cancel Culture | [แคน'เซิล คัล'เชอะ] (n) การแบนหรือคว่ำบาตรคนดัง ศิลปิน องค์กร หรือใครก็ตามแต่ที่แสดงความคิดเห็น สนับสนุน หรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลงในโซเชียลมีเดีย ที่ทำให้คนทั่วไปไม่พอใจหรือผิดหวังในตัวคนคนนั้น |
animadvert on | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า) |
animadvert upon | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า) |
call-in | (n) รายการที่ให้ผู้ชมหรือผู้ฟังโทรเข้าไปแสดงความคิดเห็น, Syn. phone-in |
clamor | (n) การแสดงความคิดเห็นของสาธารณะชน, Syn. protesting, complaint |
comment | (vi) แสดงความคิดเห็น, Syn. commentate |
comment | (vt) แสดงความคิดเห็น |
criticize | (vt) วิจารณ์, See also: แสดงความคิดเห็น, Syn. study, probe |
criticize | (vi) วิจารณ์, See also: แสดงความคิดเห็น |
comment on | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ, Syn. comment upon |
comment upon | (phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ, Syn. comment on |
deliver oneself of | (phrv) แสดงความคิดเห็น |
fact-sheet | (n) ใบแสดงความคิดเห็น |
forum | (n) ที่สำหรับอภิปราย, See also: ที่แสดงความคิดเห็น |
forum | (n) การประชุมแสดงความคิดเห็น |
latitude | (n) ความอิสระในการคิดหรือกระทำ, See also: การแสดงความคิดเห็น, Syn. extent, liberty, indulgence, freedom |
noncommittal | (adj) ซึ่งไม่แสดงความคิดเห็นหรือเข้าข้าง, See also: ซึ่งไม่เปิดเผยความคิดหรือความรู้สึก, ซึ่งระมัดระวัง, Syn. cautious, wary |
noncommittally | (adv) อย่างไม่แสดงความคิดเห็น, See also: อย่างไม่เข้าข้าง |
obiter dictum | (n) คำพูดแสดงความคิดเห็น ความจริง หลักการหรืออื่นๆ |
opine | (vi) แสดงความคิดเห็น, See also: มีความคิดเห็น, Syn. say, guess |
opine | (vt) แสดงความคิดเห็น, See also: มีความคิดเห็น, Syn. say, suggest, guess |
represent to | (phrv) แสดงความคิดเห็นกับ |
say | (vi) พูด, See also: กล่าว, เอ่ย, แสดงความคิดเห็น, Syn. express |
self-assertion | (n) การยืนยันในความคิดตน, See also: การยืนกราน, การกล้าแสดงความคิดเห็นของตน, Syn. assertiveness, egotism, insolence |
voice | (n) สิทธิในการแสดงความคิดเห็น |
express | (อิคซฺเพรส') { expressed, expressing, expresses } vt. แสดงเป็นคำพูด, แสดงความคิดเห็น, แสดงเป็นเครื่องหมายหรือเป็นสูตร, ส่งด่วน, บีบ, คั้น adj. ชัดเจน, ชัดแจ้ง, แน่นอน, เหมาะสม, ด่วน, เร็วเป็นพิเศษ, โดยเฉพาะ, พิเศษ. n. ขบวนรถด่วน, การส่งด่วน, บริษัทขนส่งด่วน, คนเดินหนังสือพิ |
free-spoken | adj. ซึ่งพูดแสดงความคิดเห็นได้โดยอิสระ, ขวานผ่าซาก, พูดจาโผงผาง, See also: free-spokenly adv. free-spokenness n. |
opine | (โอไพน์') vt., vi. มีความคิดเห็น, แสดงความคิดเห็น, รู้สึกว่า, เข้าใจว่า |
vend | (เวนดฺ) vt. จำหน่าย, ขาย, ขายเร่, แสดงความคิดเห็น, ตีพิมพ์. vi. ค้าขาย, จำหน่าย, ขาย, Syn. sell |
voice | (วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง |
opine | (vi) ออกความเห็น, แสดงความคิดเห็น |
vend | (vt) ขาย, จำหน่าย, ตีพิมพ์, แสดงความคิดเห็น |
climate | (n) ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ไม่ใช่คำแปล คำนี้ไม่ได้มีความหมายคล้ายกับ weather คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าใจความหมายอย่างชัดเจนระหว่างคำสองคำนี้ จึงอยากให้ทางลองดูช่วยให้ความหมายอย่างชัดเจนว่า climate หมายถึง ลักษณะภูมิอากาศของภูมิประเทศ ส่วน weather คือ ลักษณะอากาศขณะหนึ่ง |
mansplaining | การกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม |
Stellung nehmen | แสดงความคิดเห็น |
schweigen | (vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein |
sich äußern | (vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen |
knallhart | (adv) โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น เช่น ich hab' ihm knallhart meine Meinung gesagt! = ผมแสดงความคิดเห็นกับเขาโดยไม่ต้องเกรงใจอะไร, See also: schonungslos, Syn. deutlich |
entendre | (vt) ฟัง, (comprendre)เข้าใจ, (vouloir dire)แสดงความคิดเห็น, (vouloir)ต้องการจะ เช่น j'entends par là que... = ฉันอยากจะบอกว่า..., ผมอยากจะพูดว่า... |