อกตั้ง | (adv) at full speed, See also: with utmost effort, Syn. เต็มที่, เต็มแรง, Example: เขาวิ่งอกตั้งมาหาผม |
อกตั้ง | (v) throw out one's chest, Syn. ตัวตรง, Example: เขายืดตัว อกตั้ง ไหล่ตรง และเชิดหน้าเดินไม่สนใจใคร |
เลือกตั้ง | (v) vote, See also: cast one's vote, elect, opt, Syn. ลงคะแนน, ลงคะแนนเสียง, ออกเสียง, เลือก, Example: พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 มาตรา 82 กำหนดให้เลือกตั้งเฉพาะนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตำแหน่งเดียวเท่านั้น, Thai Definition: การลงคะแนนเสียงเพื่อเลือกบุคคลขึ้นมาดำรงตำแหน่งในการทำหน้าที่แทนตนเอง |
การเลือกตั้ง | (n) election |
ตั้งอกตั้งใจ | (v) pay attention, See also: concentrate one's attention, Syn. ตั้งใจ, ใส่ใจ, สนใจ, มุ่งมั่น, ใฝ่ใจ, Ant. ละเลย, เฉยเมย, Example: ทุกคนตั้งอกตั้งใจทำงานกันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย |
เขตเลือกตั้ง | (n) electorate, Example: กกต.กล่าวถึงความคืบหน้าในการประกาศผลการรับรองเขตเลือกตั้งที่มีปัญหา, Count Unit: เขต, Thai Definition: ท้องที่ซึ่งจัดเป็นเขตโดยมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น |
บัตรเลือกตั้ง | (n) ballot, See also: ballot-paper, ticket, Example: กลวิธีหนึ่งในการโกงคะแนนเสียง ได้แก่ การลอบใส่บัตรเลือกตั้งในหีบลงบัตรตั้งแต่ก่อนมีการลงคะแนน, Count Unit: บัตร, ใบ |
เลือกตั้งซ่อม | (v) re-elect, Example: เราต้องกลับบ้านสิ้นเดือนนี้เพื่อกลับไปเลือกตั้งซ่อม, Thai Definition: เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนนอีกครั้งหนึ่ง, Notes: (กฎหมาย) |
หน่วยเลือกตั้ง | (n) polling station, See also: polling place |
ความตั้งอกตั้งใจ | (n) intention, See also: determination, meaning, attention, concentration, Syn. ความตั้งใจ, ความมุ่งมั่น, Example: เขามีความตั้งอกตั้งใจในการทำงาน |
ผู้ลงรับเลือกตั้ง | (n) (politicate) candidate, See also: office-seeker, Syn. ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง, ผู้ลงสมัคร, ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, Ant. ผู้เลือกตั้ง, Example: จนถึงวันนี้ มีผู้ลงรับเลือกตั้งทั้งหมดจำนวน 11 คน, Count Unit: คน |
ลงสมัครรับเลือกตั้ง | (v) be a candidate for, Syn. สมัครรับเลือกตั้ง, Ant. ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, Example: นายชวน หลีกภัยลงสมัครรับเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่จังหวัดตรัง, Thai Definition: ขอเข้ารับการเลือกตั้ง |
ผู้ขายเสียงเลือกตั้ง | (n) floater, Syn. ผู้ขายเสียง, Count Unit: คน |
ผู้สมัครรับเลือกตั้ง | (n) candidate, Example: ผู้สมัครรับเลือกตั้งทั่วประเทศกำลังขับเคี่ยวในสนามเลือกตั้งอย่างหนัก, Count Unit: คน |
สำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง | (n) Election Commission of Thailand |
ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | (n) elector, See also: qualified voter |
ข้าวตอกตั้ง | น. ชื่อของหวานทำด้วยข้าวตอกคลุกนํ้าตาลและมะพร้าว ทำเป็นแว่น ๆ เกลือกแป้ง. |
เขตเลือกตั้ง | น. ท้องที่ที่กำหนดเป็นเขตสำหรับจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติหรือผู้บริหารท้องถิ่น. |
ตั้งอกตั้งใจ | ก. เอาใจจดจ่อ, มุ่งมั่นที่จะทำให้ได้ดั่งใจ. |
เลือกตั้ง | ก. เลือกสรรบุคคลให้เป็นผู้แทนหรือให้ดำรงตำแหน่งด้วยการออกเสียงลงคะแนน เช่น เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกตั้งกรรมการ. |
อกตั้ง | ว. เต็มที่, เต็มแรง, เช่น วิ่งอกตั้ง เดินอกตั้ง |
อกตั้ง | เรียกอาการที่นั่งหรือยืนตัวตรง ว่า นั่งอกตั้ง ยืนอกตั้ง. |
การยุบสภา | น.อำนาจของฝ่ายบริหารในการประกาศให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ การยุบสภาต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา. |
การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. |
โกงกาง | น. ชื่อไม้ต้นในสกุล Rhizophora วงศ์ Rhizophoraceae ขึ้นตามป่าเลนชายทะเล นิยมใช้ทำฟืนและเผาถ่านกันมาก เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลักษณะเรียวยาวคล้ายฝัก มี ๒ ชนิด คือ โกงกางใบใหญ่หรือกงกอน ( R. mucronata Poir.) และโกงกางใบเล็ก ( R. apiculata Blume) ชนิดนี้นิยมใช้ทำฟืนและเผาถ่านกันมาก, พังกา ก็เรียก. |
ขาวสะอาด | ว. ไม่มีข้อสงสัยว่าผิดกติกา (มักใช้แก่การแข่งขัน) เช่น เขาชนะการเลือกตั้งอย่างขาวสะอาด. |
คุณสมบัติ | (คุนนะสมบัด, คุนสมบัด) น. คุณงามความดี, คุณลักษณะประจำตัวของบุคคล เช่น คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, ลักษณะประจำของสิ่งนั้น ๆ เช่น สมุนไพรส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นยารักษาโรค. |
คูหา | โดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง. |
แจ้ | น. ชื่อไก่ซึ่งคัดเลือกสายพันธุ์มาจากไก่ [ Gallus gallus (Linn.) ] ตัวเล็กเตี้ย สั้น กลม หลังสั้นกว้าง หัวใหญ่ หงอนใหญ่ตั้งตรงมี ๕ หยัก เหนียงใหญ่กลม ห้อยลงทาบข้างคอ จะงอยปากแข็งแรง โค้งลงเล็กน้อย ตาและติ่งหูใหญ่ คอสั้น ปีกใหญ่ยาว ปลายปีกชี้จดพื้นดิน หางพัดใหญ่ กางแผ่ออกตั้งชี้ขึ้น ขาสั้น แข้งไม่มีขน นิ้วตีนเล็ก ตรง, ไก่เตี้ย ก็เรียก. |
ชบาหนู | น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิด ในสกุล Malvaviscus วงศ์ Malvaceae ลักษณะคล้ายดอกชบาแต่ดอกเล็กกว่าและไม่บาน ชนิด M. arboreus Cav. ดอกตั้ง, ชบาแคระ ก็เรียก, ชนิด M. penduliflorusDC . ดอกห้อยลง, ชบาร่ม ก็เรียก. |
เชียร์ | ส่งเสริมหรือสนับสนุน เช่น เชียร์ให้ลงสมัครรับเลือกตั้ง. |
โด่ไม่รู้ล้ม | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Elephantopus scaberL. ในวงศ์ Compositae ใบกระจุกซ้อนแนบอยู่กับพื้นดิน ดอกสีม่วงอ่อน ก้านช่อดอกตั้งตรงขึ้นไป ใช้ทำยาได้. |
นอนหลับทับสิทธิ์ | ก. ไม่ใช้สิทธิ์ที่ตนมีอยู่เมื่อถึงคราวที่ควรจะใช้, ทับสิทธิ์ ก็ว่า, (กฎ; ปาก) ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง. |
นุ่น | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Ceiba pentandra (L.) Gaertn. ในวงศ์ Bombacaceae ลำต้นและกิ่งก้านสีเขียว มีหนามสั้น ๆ ที่โคนต้น กิ่งออกตั้งฉากกับต้น ทิ้งใบในฤดูแล้ง ดอกสีขาวนวล ผลรูปทรงกระสวย ใช้ปุยในผลอย่างเดียวกับง้าวและงิ้ว. |
บัตร | (บัด) น. แผ่นเอกสารแสดงสิทธิของผู้ใช้เป็นต้น มักทำด้วยกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เช่น บัตรประจำตัว บัตรเลือกตั้ง บัตรสมนาคุณ |
ใบปลิว | น. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, แผ่นปลิว ก็เรียก. |
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง | น. ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้งหรือแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งทางการเมือง เช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี นายกเทศมนตรี. |
ผู้แทนราษฎร | น. บุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้ทำหน้าที่นิติบัญญัติในสภา, (ปาก) ผู้แทน. |
ผู้บริหารท้องถิ่น | น.ผู้ซึ่งได้รับเลือกตั้ง หรือแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสภาท้องถิ่นให้ทำหน้าที่บริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี. |
แผ่นปลิว | น. กระดาษที่ลงข่าวสารหรือข้อมูลโฆษณาขนาดสั้น เช่น แผ่นปลิวโฆษณาการเลือกตั้ง แผ่นปลิวขายยาสมุนไพร แผ่นปลิวโฆษณาอาหาร, ใบปลิว ก็เรียก. |
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. |
ไพ่ไฟ | น. บัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที่ลงด้วยวิธีการทุจริต |
รณรงค์ | ก. ต่อสู้, โฆษณาชักชวนอย่างต่อเนื่องโดยมีเจตนาที่จะต่อสู้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง รณรงค์ให้คนไทยใช้ของไทย. |
ว่านมหาเมฆ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma aeruginosa Roxb. ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย ขณะออกดอกไม่มีใบ ช่อดอกตั้ง ดอกสีเหลือง อยู่ระหว่างใบประดับสีขาวซึ่งมีปลายสีชมพู ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก ดอกอาว. |
วิจิตรบรรจง | (-จิดบันจง) ว. ลักษณะที่ตั้งอกตั้งใจทำอย่างประณีตงดงาม เช่น กวีนิพนธ์บทนี้แต่งอย่างวิจิตรบรรจง. |
วุฒิสภา | น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. |
สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. |
เสียง | ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. |
เสียงแข็ง | น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. |
เสียงดี | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. |
เสียงตก | โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าในการเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. |
หัวคะแนน | น. ผู้รับหาคะแนนเสียงให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง. |
ออกเสียง | ลงคะแนนเลือกตั้ง |
politics, peanut | การเมืองแบบเอาแต่ชนะ (การเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poll | ๑. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง๒. การหยั่งเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poll | ๑. การหยั่งเสียง (ก. ปกครอง)๒. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง (ก. ปกครอง)๓. การลงคะแนนลับ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pocket borough | เขตเลือกตั้งใต้อิทธิพล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
popular vote | คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
permanent registration | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psephology | วิทยาการเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peanut politics | การเมืองแบบเอาแต่ชนะ (การเลือกตั้ง ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pooling place | ที่ลงคะแนนเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodic registration | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นระยะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
party list | บัญชีรายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
primary election | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบแรก (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paster | แผ่นหมายเลขผู้สมัครรับเลือกตั้ง, แผ่นชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง (เพื่อใช้ปิดลงในบัตรเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
primary, runoff | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบสอง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
long ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งหลายตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
list, eligibility | บัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติสมัครรับเลือกตั้ง, บัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lame duck session | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
list system | ระบบเลือกตั้งตามรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legal voter | ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
literacy test | การทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recall | การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
redistricting | ๑. การกำหนดเขตใหม่๒. การกำหนดเขตเลือกตั้งใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
returns | ๑. รายงานผลการเลือกตั้ง๒. รายงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rally | ๑. การชุมนุม๒. การชุมนุมเพื่อหาเสียงเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
registration, permanent | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
re-eligibility | คุณสมบัติที่จะได้รับเลือกตั้งซ้ำ, คุณสมบัติที่จะได้รับแต่งตั้งซ้ำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
runoff primary | การเลือกตั้งผู้สมัครรอบสอง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
repeater | ผู้เวียนลงคะแนนเลือกตั้ง (หลายครั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
registration, periodic | การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งเป็นระยะ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rotten borough | เขตเลือกตั้งที่ไม่เหมาะสม [ ดู gerrymander ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage, woman | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้หญิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffragette | สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffragist | ผู้เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
split ticket | บัตรเลือกตั้งแยกพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
secret ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งลับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
straight ticket | บัตรเลือกตั้งรวมเป็นพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
second ballots | การเลือกตั้งรอบที่สอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
short ballot | การลงคะแนนเลือกตั้งน้อยตำแหน่ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
single-member district | เขตเลือกตั้งที่มีผู้แทนได้คนเดียว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
slate | รายชื่อผู้ที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
slate | รายชื่อผู้ที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
system, list | ระบบเลือกตั้งตามรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stub, ballot | ต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, lame duck | สมัยประชุมสภาที่มีสมาชิกไม่ได้รับเลือกตั้งซ้ำ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special election | ๑. การเลือกตั้งซ่อม (อเมริกัน)๒. การเลือกตั้งพิเศษ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู franchise ๑ ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suffrage, manhood | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้ชาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage, universal | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
son, favourite | ตัวเก็งของท้องถิ่น (ในการเลือกตั้งประธานาธิบดี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Campaign management | การจัดการการหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Election forecasting | พยากรณ์การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Election law | กฎหมายเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Election monitoring | การสังเกตการณ์การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Election officials | ข้าราชการและพนักงานการเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Elections | การเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Elections in literature | การเลือกตั้งในวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
Internet in political campaigns | อินเตอร์เน็ตในการหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Local elections | การเลือกตั้งท้องถิ่น [TU Subject Heading] |
Political campaigns | การหาเสียงเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
Political candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Presidential candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี [TU Subject Heading] |
Suffrage | สิทธิเลือกตั้ง [TU Subject Heading] |
apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นคณะกรรมาธิการหลัก ซึ่งรับผิดชอบในการเสาะหามาตรการในการส่งเสริมเรื่องสิทธิมนุษยชนในประเทศ ต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งตรวจสอบและสอดส่องการดำเนินการด้านการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษย ชนในประเทศต่าง ๆ ด้วย คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 53 ประเทศ มาจากการเลือกตั้ง ดำรงตำแหน่งวาระละ 3 ปี คณะกรรมาธิการฯ โดยจะมีการประชุมเป็นประจำทุกปี ประมาณเดือนมีนาคม-เมษายน ณ นครเจนีวา ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเข้าเป็นสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ สำหรับวาระ พ.ศ. 2544-2546 [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Commission on Sustainable Development | คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน (ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมาธิการฯ สำหรับวาระปี พ.ศ. 2548-2550) [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
European Parliament | สภายุโรป เป็นองค์กรหนึ่งในสหภาพยุโรป สมาชิกสภายุโรปจะเป็นผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งมาจากกลุ่มประเทศสมาชิก สหภาพยุโรป ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 [การทูต] |
Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
International Law Commission of the United Nations | คือคณะกรรมการกฎหมายระหว่างประเทศของสหประชาชาติ มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมปรับปรุงกฎหมายระหว่า ประเทศ รวมทั้งการทำประมวลกฎหมายให้ก้าวหน้าและทันสมัยคณะกรรมาธิการนี้ประกอบด้วย สมาชิกรวม 25 คน ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งสมาชิกคราวละ 5 ปี และจะทำงานในคณะกรรมาธิการในฐานะตัวบุคคล มิใช่เป็นตัวแทนจากประเทศของตน ตลอดการประชุมสมัชชาสหประชาชาติเป็นจำนวนหลายสมัยมาแล้ว คณะกรรมาธิการได้ทำหน้าที่ร่างกฎหมายในเรื่องต่าง ๆ ที่เป็นกฎหมายระหว่างประเทศเป็นจำนวนไม่น้อย บางเรื่องได้ริเริ่มขึ้นเองโดยคณะกรรมาธิการ แต่บางเรื่องทางสมัชชาสหประชาชาติหรือคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ได้ส่งไปให้พิจารณาดำเนินการคณะกรรมาธิการได้ร่างสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายทาง ทะเลไปแล้วไม่น้อยกว่า 4 ฉบับ เช่น อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยอาณาเขตทางทะเลและพื้นที่ติดชายฝั่งอนุสัญญาเกี่ยวกับการจับ ปลา การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในท้องทะเลหลวง พร้อมทั้งได้รับสัตยาบันสารจากประเทศต่าง ๆ ไว้แล้วเป็นจำนวนมาก เมื่อ ค.ศ.1961 และ 1963 คณะกรรมาธิการได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สองครั้งตามลำดับ ณ กรุงเวียนนา พร้อมทั้งได้ลงมติรับรองอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] |
The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
The Overseas Election Coordination Centre | ศูนย์ประสานงานการเลือกตั้งนอกราชอาณาจักร [การทูต] |
United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] |
Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
torque | ทอร์ก, ปริมาณที่ทำให้เกิดการหมุนของวัตถุอันเนื่องมาจากแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุไม่ผ่านศูนย์กลางมวล ทอร์กเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศทางตั้งฉากกับระนาบการหมุนของวัตถุ โดยทิศทางของทอร์กจะพุ่งออกตั้งฉากกับระนาบการหมุนเมื่อวัตถุหมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา และทิศทางของทอร์ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
บัตรเลือกตั้ง | [bat leūaktang] (n, exp) EN: ballot ; ballot paper ; donkey vote FR: bulletin de vote [ m ] |
ใช้สิทธิเลือกตั้ง | [chai sitthi leūaktang] (v, exp) EN: exercise one's right of vote FR: exercer son droit de vote |
หีบบัตรเลือกตั้ง | [hīp bat leūaktang] (n, exp) EN: ballot box FR: urne (électorale) [ f ] |
กำหนดเลือกตั้ง | [kamnot leūaktang] (v, exp) EN: call an election ; set an election FR: appeler à une élection ; décider une élection ; fixer une élection |
การเลือกตั้ง | [kān leūaktang = kān leuaktang] (n) EN: general election FR: élection [ f ] ; élections [ fpl ] ; élections législatives [ fpl ] ; votation (Sui.) [ f ] |
การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา | [kān leūaktang prathānāthibødī Saharat Amērikā] (xp) EN: United States presidential election FR: élections présidentielles américaines [ fpl ] |
การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา | [kān leūaktang samāchik wutthisaphā] (n, exp) FR: élections sénatoriales [ fpl ] |
การเลือกตั้งซ่อม | [kān leūaktang sǿm] (n, exp) EN: by-election |
การเลือกตั้ง ส.ส. | [kān leūaktang sø.sø.] (n, exp) FR: élections législatives [ fpl ] |
การเลือกตั้ง ส.ว. | [kān leūaktang sø.wø.] (n, exp) FR: élections sénatoriales [ fpl ] |
การเลือกตั้งทั่วไป | [kān leūaktang thūapai] (n, exp) EN: general elction FR: élection générale [ f ] ; élections générales [ fpl ] |
เขตเลือกตั้ง | [khēt leūaktang] (n, exp) EN: constituency FR: circonscription électorale [ f ] ; canton électoral [ m ] (Belg., Sui.) |
เกี่ยวกับการเลือกตั้ง | [kīokap kān leūaktang] (adj) EN: electoral FR: électotal |
เลือกตั้ง | [leūaktang = leuaktang] (v) EN: elect ; ballot FR: élire ; voter |
ลงคะแนนเลือกตั้ง | [longkhanaēn leūaktang] (v) EN: vote ; ballot FR: voter |
ลงรับเลือกตั้ง | [long rap leūaktang] (v, exp) EN: contest |
ลงสมัครรับเลือกตั้ง | [longsamak rap leūaktang] (v, exp) EN: run for election ; be a candidate for FR: se présenter aux élections |
หน่วยเลือกตั้ง | [nūay leūaktang] (n, exp) EN: polling station ; polling place FR: bureau de vote [ m ] |
ออกเสียงเลือกตั้ง | [øksīeng leūaktang] (v) EN: vote ; vote by voice; cast a ballot FR: voter ; voter à voix haute |
ไปเลือกตั้ง | [pai leūaktang] (v, exp) EN: go to the polls FR: aller voter ; se rendre aux urnes |
ไปออกเสียงเลือกตั้ง | [pai øksīeng leūaktang] (v, exp) EN: go to tke polls FR: aller voter ; se rendre aux urnes |
ผลการเลือกตั้ง | [phon kān leūaktang] (n, exp) EN: returns ; outcome ; results of an election FR: résultat d'une élection [ mpl ] ; verdict des urnes [ m ] |
ผู้ได้รับเลือกตั้ง | [phū dāirap leūaktang] (n, exp) EN: elected representative FR: élu [ m ] |
ผู้ขายเสียงเลือกตั้ง | [phū khāi sīeng leūaktang] (n, exp) EN: floater |
ผู้เลือกตั้ง | [phūleūaktang] (n) FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | [phū mī sit leūaktang] (n, exp) EN: eligible voter ; elector ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
ผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง | [phū mī sit long khanaēnsīeng leūaktang] (xp) EN: elector ; qualified voter ; constituent FR: électeur [ m ] ; électrice [ f ] |
ผู้สมัครรับเลือกตั้ง | [phūsamak rap leūaktang] (n, exp) EN: candidate ; election candidate FR: candidat (à des élections) [ m ] ; candidate (à des élections) [ f ] |
สิทธิเลือกตั้ง | [sitthi leūaktang] (n, exp) EN: right of vote FR: droit de vote [ m ] |
ตั้งอกตั้งใจ | [tang-oktangjai] (v) EN: pay attention ; concentrate one's attention FR: s'appliquer à |
ทุ่มเงินซื้อเสียงเลือกตั้งได้ | [thum ngoen seū sīeng leūaktang dāi] (v, exp) EN: buy votes to get elected ; get elected to bribery ; tamper with voters |
วันเลือกตั้ง | [wan leūaktang] (n, exp) EN: general election date FR: jour des élections [ m ] |
หย่อนบัตรเลือกตั้ง | [yǿn bat] (v, exp) EN: drop a ballot ; cast a ballot |
หย่อนบัตรเลือกตั้ง | [yǿn bat leūaktang] (v, exp) EN: cast a ballot FR: voter |
assiduous | (adj) ที่ทำด้วยความตั้งใจ, See also: ตั้งอกตั้งใจ, Syn. industrious, persevering |
attentively | (adv) อย่างตั้งอกตั้งใจ, See also: อย่างใส่ใจ, อย่างสนใจ, Syn. carefully, heedfully |
by-election | (n) การเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ตายหรือลาออกของอังกฤษ, See also: การเลือกตั้งซ่อม |
be in | (phrv) ได้รับเลือกตั้ง, Syn. get in |
caretaker government | (n) รัฐบาลชั่วคราวที่ตั้งขึ้นเพื่อรอการเลือกตั้งครั้งใหม่ |
constituency | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง |
canvass for | (phrv) ลงเสียงสนับสนุน (ก่อนการเลือกตั้งจริง), See also: ออกเสียงให้ |
count out | (phrv) ออกจากการเลือกตั้งเพราะเสียงสนับสนุนไม่ถูกต้อง |
fling one's hat into the ring | (idm) ประกาศว่าจะเข้าร่วม (การแข่งขันหรือการเลือกตั้ง), Syn. throw into, toss into |
elect | (vt) คัดเลือก, See also: เลือก, คัด, ออกเสียงเลือกตั้ง, Syn. choose, select |
electioneer | (vi) รณรงค์หาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, See also: รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง, Syn. campaign, canvass |
elective | (adj) โดยการเลือกตั้ง, See also: เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, Syn. electoral |
elector | (n) ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ผู้เลือก, Syn. voter |
electoral | (adj) เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, Syn. elective |
electorate | (n) ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมดในท้องที่หรือเขตหนึ่งๆ, See also: เขตเลือกตั้งของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
enfranchise | (vt) ให้มีสิทธิเลือกตั้ง, See also: ให้สิทธิเลือกตั้ง |
get in | (phrv) ได้รับเลือกตั้ง, See also: ถูกเลือก, Syn. be in, come in |
go to the country | (idm) จัดเลือกตั้งทั่วไป |
gerrymander | (vi) ใช้กลโกงในการเอาชนะเลือกตั้ง |
landslide victory | (idm) ชัยชนะสำคัญ (ในการเลือกตั้ง) |
knock up | (phrv) พยายามหาคะแนนเสียง (การเลือกตั้ง) |
national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี |
nomination | (n) การได้รับเสนอชื่อเข้ารับรางวัลหรือชิงตำแหน่ง, See also: การเสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, Syn. choosing, electing, naming, selection |
nominative | (adj) เกี่ยวกับการได้รับเสนอชื่อเพื่อชิงตำแหน่ง/รับการเลือกตั้ง |
nominee | (n) ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่ง, See also: ผู้ได้รับเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, Syn. applicant, candidate, seeker |
overall majority | (n) เสียงส่วนใหญ่ในการเลือกตั้ง |
platform | (n) นโยบายพรรคที่แถลงก่อนการเลือกตั้ง, See also: แผนงาน, หลักการ, Syn. policies, principles |
poll | (n) การเลือกตั้ง |
poll | (n) ผลคะแนนการออกเสียงเลือกตั้ง, See also: ผลการเลือกตั้ง, ผลการนับคะแนนเสียง |
poll | (vt) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot |
poll | (vi) ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, See also: ออกเสียงเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, Syn. ballot |
polls | (n) สถานที่เลือกตั้ง |
pre-election | (adj) ซึ่งเกิดก่อนการเลือกตั้ง |
pre-election | (adj) ซึ่งเกิดก่อนการเลือกตั้ง |
psephology | (n) การประเมินผลการเลือกตั้งทางสถิติ |
plunk for | (phrv) ออกเสียงเลือกตั้ง, Syn. plump for |
put in | (phrv) เลือกตั้ง, See also: ลงคะแนนเลือก, Syn. get in |
reelect | (vt) เลือกตั้งใหม่ |
reelection | (n) การเลือกตั้งใหม่ |
returns | (n) ผลการเลือกตั้ง, Syn. election results |
run | (vi) เข้าสมัครรับเลือกตั้ง, Syn. be a candidate |
run | (vt) เข้าสมัครรับเลือกตั้ง, Syn. be a candidate |
run against | (phrv) แข่งขันกับการเลือกตั้ง |
run for | (phrv) เสนอเพื่อเข้าชิงตำแหน่ง, See also: เสนอเพื่อการเลือกตั้ง, Syn. sit for, stand as |
slate | (n) รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, Syn. register, roll |
suffrage | (n) สิทธิในการเลือกตั้ง, See also: สิทธิในการออกเสียง, Syn. the right to vote |
suffrage | (n) การออกเสียงเลือกตั้ง, See also: การลงคะแนนเสียง, Syn. election, vote |
stand for | (phrv) เสนอชื่อ, See also: เสนอตัวเพื่อเลือกตั้ง, Syn. run for, sit for |
sweep in | (phrv) ชนะเรียบ, See also: ชนะการเลือกตั้งได้ง่าย, กวาดชัยชนะ, กวาดคะแนนเกลี้ยง |
ticket | (n) รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) |
abentee ballot | บัตรเลือกตั้งของผู้ที่ไม่มา (ซื่งมอบไว้ให้ก่อนล่วงหน้า) for an absentee Vote |
absorbed | (แอบซอร์บดฺ', -ซอร์บดฺ') adj. หมกมุ่น, ตั้งอกตั้งใจ, Syn. deeply engrossed |
ballot | (แบล'เลิท) n. บัตรเลือกตั้ง, จำนวนผู้ลงคะแนน, รายชื่อคนลงคะแนน vi. ลงคะแนนด้วยบัตรลับ, จับฉลาก, See also: balloter n. |
booth | (บูธ) n. แผงลอย, ห้องเล็ก ต่างหาก, ศอก, โต๊ะแยกเฉพาะส่วน, หน่วยลงบัตรเลือกตั้ง, Syn. stall |
borough | (เบอ'โร) n. เขตเทศบาลที่เล็กกว่าเมือง, เขตเลือกตั้ง |
by-election | n. การเลือกตั้งซ่อม, Syn. bye-election |
candidate | (แคน'ดิเดท) n. ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, ผู้ได้รับการเลือกให้เข้าแข่งขัน, See also: candidature, candidacy n. |
carpetbag | (คาร์'พิทแบก) { carpetbagged, carpetbagging, carpetbags } n. กระเป๋าที่ทำด้วยพรม vi. ย้ายภูมิลำเนาถิ่นที่อยู่เพื่อหาเสียงเลือกตั้งในถิ่นใหม่, See also: carpetbagging n. ดูcarpetbag carpetbagger n. ดูcarpetbag |
caucus | (คอ'คัส) n. การประชุมพรรคการเมืองเพื่อเลือกตั้งตัวแทนเข้าแข่งขัน vi. ประชุมพรรคการเมืองดังกล่าว -pl. caucuses |
committeeman | (คะมิท'ทีเมิน) n. กรรมการ กรรมาธิการ, หัวหน้าพรรคการเมืองในเขตเลือกตั้ง -pl. committeemen |
concentrate | (คอน'เซินเทรท) { concentrated, concentrating, concentrates } vt., vt. รวม, เพ่งเล็ง, รวมศูนย์, รวมกำลัง, อัดแน่น, ทำให้แน่น, ตั้งอกตั้งใจ, สำรวมความคิด. n. สิ่งที่อัดแน่น, สิ่งที่เข้มข้น, See also: concentrative adj. ดูconcentrate concentrator n. ดูconcent |
concentrated | (คอน'เซินเทรทิด) adj. ใจจดใจจ่อ, ซึ่งตั้งอกตั้งใจ, ซึ่งจับกลุ่มเข้าด้วยกัน, เข้มข้น |
concentration | (คอนเซินเทร'เชิน) n. ความเข้มข้น, ระดับความเข้มข้น, ความตั้งอกตั้งใจ, ภาวะที่เข้มข้น, สิ่งที่เข้มข้น, การรวมพล, ความใส่ใจในสาขาวิชาหนึ่ง, Syn. convergence, mass, Ant. scattering |
constituency | (คันสทิช'ชุเอินซี) n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตหนึ่ง, เขตเลือกตั้ง |
designation | (เดซซิกเน'เชิน) n. การตั้ง, การระบุ, ชื่อ, ตำแหน่ง, การตั้งชื่อ, การเลือกตั้ง, See also: designed adj., Syn. nomination |
disfranchise | (ดิสแฟรน'ไชซ) ว vt. ถอนสิทธิ, ตัดสิทธิ, ถอนสิทธิพลเมือง, ถอนสิทธิการเลือกตั้ง, See also: disfranchisement n. ดูdisfranchise |
election | (อีเลค'เชิน) n. การเลือกตั้ง, การคัดเลือก, การเลือก, สิทธิการเลือกตั้ง, การเลือกโดยพระผู้เป็นเจ้า, Syn. selection |
electioneer | (อีเลค'เชินเนียร์) vi. ดำเนินการหาเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้ง, See also: electioneerer n. ดูelectioneer |
electorate | n. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด, เขตเลือกตั้ง |
electress | n. ผู้เลือกตั้งที่เป็นหญิง |
enfranchise | (เอนแฟรน'ไชซ) vt. ให้สิทธิพิเศษ, ให้สิทธิในการเลือกตั้งผู้แทน, ให้สัมปทาน, ให้สิทธิเป็นผู้จำหน่ายแต่ผู้เดียว, ปล่อยให้เป็นอิสระ., See also: enfranchisement n. ดูenfranchise enfranchiser n. ดูenfranchise, Syn. franchise. |
gerrymander | vt., vi., n. (การ) แบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไม่ยุติธรรม, ทำตบตา |
inauguration day | วันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง) |
nominate | (นิม'มิเนท) vt. เสนอชื่อเพื่อให้เลือกตั้ง, แต่งตั้ง, ตั้งชื่อ, ระบุชื่อ. adj. เกี่ยวกับชื่อเฉพาะ., See also: nominator n., Syn. name |
nomination | (นอมมิเน'เช ิน) n. การเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, แต่งตั้ง, ภาวะที่ถูกแต่งตั้ง |
nominative | (นอม'มะเนทิฟว) adj. เกี่ยวกับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง, ระบุชื่อ. n. ประธานของประโยค, กรรตุการก |
nominee | (นอม'มะนี) n. ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับเลือกตั้ง |
poll | (โพล) n. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, บุคคลที่ปรากฎในรายชื่อ, การสำรวจความคิดเห็นของคนจำนวนมาก -vi., vi. ได้รับคะแนนเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, สำรวจความคิดเห็น, |
president-elect | (เพรส'ซิเดินทฺ'-) n. ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าดำรงตำแหน่ง |
primary | (ไพร'มะรี) adj. สำคัญที่สุด, อันดับแรก, ครั้งแรก, ดีเลิศ, ดั้งเดิม, เบื้องต้น, ประถม, ระยะแรก, ขั้นแรก. n. ที่สำคัญที่สุด, สิ่งที่อยู่ในอันดับหนึ่ง, ตำแหน่งอาร์บิชอพ, การเลือกตั้งครั้งแรก, แม่สี, ดาวที่สว่างกว่าในกลุ่มดาวคู่., See also: primariness n. คำที |
reelect | (รีอีเลคทฺ') vt. เลือกตั้งใหม่, See also: reelection n. |
return | (รีเทิร์น') vi., vt., adj. กลับ, กลับมา, กลับคืน, คืน, ส่งคืน, ย้อนกลับ, โต้ตอบ, ได้ผล, ได้ผลกำไร, ชัก (อาวุธ) กลับ, ตีไพ่ n. การกลับ, การกลับคืน, การกลับมา, การคืนสู่, การตอบ, การโต้ตอบ, การโต้แย้ง, ผลลพธ์, ผลกำไร, ผลตอบ, ดอกผล, ผลการเลือกตั้ง, รายงาน, สถิติ, รายได้, รายรับ, จำนวนขาย |
slate | (สเลท) n. กระดานชนวน, หินชนวน, สีหินชนวน, สีเทาอมน้ำเงินเข้ม, รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ที่จะได้รับการพิจารณาคัดเลือก, -Phr. (clean slate ประวัติความประพฤติที่ขาวสะอาด) vt. ปูด้วยหินชนวน, ปูด้วยแผ่นหิน, เสนอชื่อเข้ารับการเลือกตั้ง, กำหนดรายชื่อผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะได้รับพิจารณาได้รับเลือก |
ticket | (ทิค'คิท) n. ตั๋ว, บัตร, บัตรอนุญาต, ใบอนุญาต, รายชื่อสมาชิกผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ที่พรรคการเมืองเสนอชื่อ) , ใบสั่ง สำหรับผู้กระทำผิดกฎจราจร, สิ่งที่เหมาะสม, โครงการของพรรคการเมือง, ฉลากติดสินค้า, ฉลากฉีก. vt. ติดฉลาก, ติดบัตร |
votable | (โว'ทะเบิล) adj. ลงคะแนนได้, มีสิทธิเลือกตั้ง, นำไปลงมติได้. |
votaless | (โวท'ลิส) adj. ไม่มีคะแนนเสียง, ไม่มีสิทธิออกเสียง, ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง |
vote | (โวทฺ) n. การออกเสียง, การเลือกตั้ง, คะแนนเสียง, บัตรคะแนนเสียง, สิทธิการออกเสียง, จำนวนคะแนนเสียง, มติ vt., vt. ออกเสียง, ลงคะแนนเสียง, เลือกตั้ง, ลงมติ, เสนอ |
voter | (โว'เทอะ) n. ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
woman suffrage | n. สิทธิเลือกตั้งของสตรี, สิทธิทางการเมืองของสตรี, See also: woman-suffrage adj. woman-suffragist n. |
write-in | (ไรทฺ'อิน) n., adj. การลงคะแนนเสียงให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่ไม่ใช่คนเดิมในรายชื่อ |
absorbed | (adj) ที่หมกมุ่น, ที่ใฝ่ใจ, ที่สนใจมาก, อย่างตั้งอกตั้งใจ |
attentively | (adv) อย่างตั้งอกตั้งใจ, อย่างเอาใจใส่, อย่างสนใจ, อย่างเป็นห่วง |
ballot | (n) บัตรลงคะแนน, บัตรเลือกตั้ง, การลงคะแนนเสียง |
borough | (n) เขตเลือกตั้ง |
BY-by-election | (n) การเลือกตั้งซ่อม |
candidate | (n) ผู้สมัคร, ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง |
concentrate | (vi, vt) สำรวมความคิด, จดจ่อ, ตั้งอกตั้งใจ, ตั้งสมาธิ, รวมกำลัง |
concentration | (n) ความตั้งอกตั้งใจ, ความเอาใจใส่, ความจดจ่อ |
constituency | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง |
constituent | (n) ส่วนสำคัญ, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
elect | (vt) เลือก, เลือกตั้ง, คัดเลือก |
election | (n) การคัดเลือก, การเลือกตั้ง, การเลือก, สิทธิการเลือกตั้ง |
elector | (n) ผู้เลือก, ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง |
electoral | (adj) เกี่ยวกับการเลือกตั้ง, เกี่ยวกับผู้เลือก |
electorate | (n) ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง |
poll | (n) การสำรวจความคิดเห็น, การออกเสียงเลือกตั้ง, รายหัว, หัว |
poll | (vi) ลงคะแนนเสียง, ออกเสียงเลือกตั้ง |
reelect | (vt) เลือกตั้งใหม่, เลือกใหม่, เลือกตั้งซ่อม |
reelection | (n) การเลือกตั้งใหม่, การเลือกใหม่, การเลือกตั้งซ่อม |
vote | (vi, vt) ลงคะแนนเสียง, ลงมติ, เลือกตั้ง |
voter | (n) ผู้ลงคะแนนเสียง, ผู้เลือกตั้ง |