งับ | ก. ปิดอย่างไม่สนิทหรือปิดอย่างไม่ลงกลอน เช่น งับประตู |
งับ | อาการที่อ้าปากคาบหรือกัดโดยเร็ว. |
งับแง | ก. แง้ม, ปิดไม่สนิท. |
ปะงับปะง่อน | ว. ปะหงับปะง่อน. |
ปะหงับ, ปะหงับ ๆ | (-หฺงับ) ว. อาการที่ปากอ้าและหุบลงเหมือนอยากจะพูดแต่ไม่มีเสียง, อาการที่ทำปากหงับ ๆ อย่างอาการของผู้ป่วยใกล้จะตาย เช่น นอนเจ็บปะหงับ ๆ. |
ปะหงับปะง่อน | ว. อาการที่โงนเงนทรงตัวไม่อยู่เพราะเจ็บป่วยเป็นต้น, ปะงับปะง่อน ก็ว่า. |
ระงับ ๑ | ก. ยับยั้งไว้, ทำให้สงบ, เช่น ระงับคดี ระงับเรื่องราว. |
ระงับ ๒, ระงับพิษ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Breynia glauca Craib ในวงศ์ Euphorbiaceae คล้ายต้นก้างปลา ใช้ทำยาได้. |
รำงับ | ก. ระงับ. |
หงับ ๆ | ว. อาการที่ปากอ้าและหุบลงโดยไม่มีเสียง เช่น ทำปากหงับ ๆ, อาการที่เคี้ยวของ เช่น เคี้ยวขนมหงับ ๆ. |
หงุบหงับ | ว. สัปหงก, อาการที่นั่งโงกหัวหงุบลงแล้วเงยขึ้น |
หงุบหงับ | อาการที่เคี้ยวอาหารด้วยฟันปลอมที่สบกันไม่สนิท มักมีเสียงดังเช่นนั้น. |
กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. |
กับ ๑ | น. เครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง มีลิ้นหรือไก เมื่อไปกระทบเข้าก็จะปิดหรืองับทันที, โดยปริยายหมายถึงอุบายที่ใช้ล่อให้หลงเชื่อ. |
ขม้ำ | (ขะมํ่า) ก. เอาปากงับกินเร็ว ๆ (ใช้แก่สุนัขเป็นต้น ถ้าใช้แก่คน ถือว่าเป็นคำไม่สุภาพ). |
ขย้ำ | (ขะยํ่า) ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง. |
คาบ ๒ | ก. เอาปากหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างปากงับหนีบไว้, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คาบข่าวไปบอก. |
คำสั่งทางปกครอง | น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. |
ง่ำ, ง่ำ ๆ | ก. งับเบา ๆ เช่น หมางํ่าน่อง. |
จริก ๑ | (จะหฺริก) ก. เอาปากสับและงับอย่างอาการนกสับ, กดลง. |
จาบัล, จาบัลย์ | (-บัน) ก. หวั่นไหว, กระสับกระส่าย เช่น ดาลดับรงับจิตรจาบัลย์ เทียรทิพยสุคันธ ธรศมาโสรจโทรมสกนธ์ (ดุษฎีสังเวย) |
ดับ ๑ | ก. สูญสิ้นไป เช่น วิญญาณดับ อนาคตดับ, สิ้นแสง เช่น ไฟดับ เดือนดับ, ทำให้สิ้นแสง เช่น ดับไฟ, ทำให้สิ้น เช่น ดับกิเลส ดับทุกข์, ทำให้ระงับ เช่น ดับโทสะ ดับโมโห, หยุดหรือทำให้หยุด เช่น เครื่องดับ ดับเครื่อง |
ดับลม | ก. ทำให้ลมในท้องระงับไปชั่วคราว, โดยปริยายหมายความว่า กินพอประทังความหิวหรือพอไม่ให้ท้องว่าง. |
ตอด ๑ | ก. อาการที่ปลาขนาดเล็กใช้ปากงับเหยื่อเป็นต้นนิดหนึ่งแล้วดึงมาโดยเร็ว, อาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลูกคนนี้งานการไม่ทำ คอยแต่ตอดเงินพ่อแม่, โดยปริยายหมายถึงอาการเหน็บแนมเล็ก ๆ น้อย ๆ ไม่หยุดหย่อน เช่น เขาคงไม่ชอบฉัน เลยตอดฉันอยู่เรื่อย. |
ติงทุเลา | ก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒). |
นครบาล | (นะคอนบาน) น. เรียกตำรวจที่มีหน้าที่ระวังและระงับเหตุการณ์ทางอาญาในกรุงเทพมหานครว่า ตำรวจนครบาล |
นิติกรรม | น. การใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ. |
บานกระทุ้ง | น. บานหน้าต่างที่ปิดงับและเปิดค้ำขึ้นได้. |
ประณุท | (-นุด) ก. บรรเทา, ระงับ. |
ประดัก ๆ | ว. อาการแห่งคนที่ตกนํ้าแล้วสำลักนํ้า เรียกว่า สำลักประดัก ๆ, อาการที่ชักหงับ ๆ ใกล้จะตาย. |
ประนีประนอมยอมความ | น. ชื่อสัญญาซึ่งผู้เป็นคู่สัญญาทั้ง ๒ ฝ่ายระงับข้อพิพาทอันใดอันหนึ่งซึ่งมีอยู่หรือจะมีขึ้นนั้นให้เสร็จไปด้วยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน. |
ปลดหนี้ | ก. การที่เจ้าหนี้ยกหนี้ให้แก่ลูกหนี้ อันเป็นเหตุให้หนี้นั้นเป็นอันระงับสิ้นไป. |
แปลงหนี้ใหม่ | น. การที่คู่กรณีได้ทำสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเป็นสาระสำคัญแห่งหนี้ เช่น เปลี่ยนตัวลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ เปลี่ยนวัตถุแห่งหนี้ เมื่อแปลงหนี้ใหม่แล้วหนี้เดิมเป็นอันระงับ. |
มอร์ฟีน | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทแอลคาลอยด์ มีสูตร C17H19O3N ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๒๕๔ °ซ. มีในฝิ่น เป็นยาเสพติดอย่างแรง ทางแพทย์ใช้เกลือไฮโดรคลอไรด์หรือเกลือแอซีเทต หรือเกลือซัลเฟตของมอร์ฟีนเป็นยาระงับความปวด. |
มุบ | ว. อาการที่ยอบตัวลงโดยเร็ว เช่น มุบหัวลง, อาการที่ของด้านใดด้านหนึ่งจมลงจากระดับเดิม เช่น พอปลากินเบ็ด ทุ่นเบ็ดก็มุบลง แพด้านหนึ่งมุบลง, อาการที่คว้าสิ่งของโดยเร็ว เช่น พอของตกก็เอามือคว้ามุบ, อาการที่สัตว์งับสิ่งของโดยเร็ว เช่น ปลาฮุบเหยื่อมุบ พอโยนขนมให้หมาก็เอาปากรับมุบ. |
ยอมความ | ก. ตกลงระงับคดีอาญาที่เป็นความผิดต่อส่วนตัวก่อนคดีถึงที่สุด. |
รื้อ | เอาขึ้นมาใหม่ เช่น รื้อเรื่องราวที่ระงับไว้ขึ้นมาพิจารณาใหม่ รื้อเรื่องเดิมขึ้นมาเขียนใหม่ |
เล่นหาง | ว. เรียกลักษณะการเขียนหนังสือที่ตวัดปลายตัวอักษรให้ยาวออกเกินปรกติ ว่า เขียนเล่นหาง, ตวัดหาง ก็ว่า. เรียกลักษณะท่าเต้นของการเชิดสิงโตโดยม้วนตัวงับหางตัวเอง ว่า สิงโตเล่นหาง |
เวร ๑ | น. ความพยาบาท, ความปองร้าย, บาป, เช่น เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร |
ศานติ | น. ความสงบ, ความระงับ. |
สงฆ์ | ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. |
สงบ | (สะหฺงบ) ก. ระงับ เช่น สงบจิตสงบใจ สงบสติอารมณ์ สงบศึก, หยุดนิ่ง เช่น คลื่นลมสงบ พายุสงบ, กลับเป็นปรกติ เช่น เหตุการณ์สงบแล้ว, ปราศจากสิ่งรบกวน เช่น จิตใจสงบ, ไม่กำเริบ เช่น อาการไข้สงบลง ภูเขาไฟสงบ, ไม่วุ่นวาย เช่น บ้านเมืองสงบปราศจากโจรผู้ร้าย. |
สงบเสงี่ยม | ก. ระงับกิริยาวาจาด้วยความสุภาพเรียบร้อย เช่น เวลาอยู่ต่อหน้าผู้ใหญ่ต้องสงบเสงี่ยมเจียมตัว. |
สติวินัย | น. วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจำเลยไว้ซึ่งเรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. |
หนี้เกลื่อนกลืนกัน | น. หนี้ซึ่งระงับไปเพราะเหตุที่สิทธิและความรับผิดในหนี้นั้นตกอยู่แก่บุคคลคนเดียวกัน. |
หับ | ก. ปิด, งับ, เช่น เข้าห้องแล้วหับประตูเสีย. |
หับเผย | ก. ปิดงับและเปิดคํ้าขึ้นได้. |
หับเผย | น. โรงเรือนที่มีลักษณะด้านหน้าปิดงับหรือเปิดค้ำขึ้นได้. |
เหลืออด, เหลืออดเหลือทน | ว. สุดที่จะกลั้นได้, สุดที่จะอดทนได้, สุดที่จะระงับอารมณ์ได้. |
อดกลั้น | ก. ระงับอารมณ์. |
peaceful settlement; pacific settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pacific settlement; peaceful settlement | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postanaesthetic; postanesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postanesthetic; postanaesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plaster, antiseptic | ยาแผ่นปิดระงับเชื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lapse | ระงับไป, สิ้นสุดลง, ล่วงพ้นเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
local anaesthetic | ยาชา, ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
settlement of action | ข้อตกลงระงับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settlement, comprehensive | การระงับข้อพิพาทแบบเบ็ดเสร็จ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sedation | การระงับ, การทำให้สงบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sedative | ๑. ยาระงับประสาท [ มีความหมายเหมือนกับ temperantia ]๒. -ระงับ, -ทำให้สงบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
survival statutes | บทกฎหมายที่ใช้บังคับแก่คดีที่ไม่ระงับไปเพราะการตายของผู้เสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settle | ๑. ชำระสะสาง๒. ระงับ, เปรียบเทียบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settle a dispute | ระงับข้อพิพาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settlement | ๑. การตั้งถิ่นฐาน, นิคม๒. การระงับข้อพิพาท [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
survival actions | คดีที่ไม่ระงับไปเพราะการตายของผู้เสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settlement, pacific; settlement, peaceful | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
settlement, peaceful; settlement, pacific | การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stop notice | คำบอกกล่าวระงับ (การจดทะเบียนโอนหุ้น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
stoppage in transitu | การระงับการส่งของกลางคัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antiseptic | สารระงับเชื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antiseptic plaster | ยาแผ่นปิดระงับเชื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abatement | ๑. การลดหย่อน, การลดส่วนแบ่ง, ส่วนลดหย่อน (ในทรัพย์สิน)๒. การระงับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abatement | ๑. การลดหย่อน, การลดส่วนแบ่ง (ในทรัพย์สิน)๒. การระงับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abatement notice | คำเตือนให้ระงับ (เหตุรำคาญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abatement of action | การระงับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abatement of nuisance | การระงับเหตุรำคาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
adjudicatory process | กระบวนการระงับข้อพิพาททางปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anaesthetic; anesthetic | ยาระงับความรู้สึก [ ศัพท์ที่มีคำ anesthetic ประกอบ ดูที่ anaesthetic, ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anaesthetic, general | ยาสลบ, ยาระงับความรู้สึกทั้งตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anaesthetic, local | ยาชา, ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antisepsis | การระงับเชื้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analgesic | ๑. ยาระงับปวด๒. ไม่รู้เจ็บ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abatement of the injury | การระงับความเสียหาย, การบรรเทาความเสียหาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
anesthetic; anaesthetic | ยาระงับความรู้สึก [ ศัพท์ที่มีคำ anesthetic ประกอบ ดูที่ anaesthetic, ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mycostasis | การระงับเชื้อรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mycostat | สารระงับเชื้อรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
comprehensive settlement | การระงับข้อพิพาทแบบเบ็ดเสร็จ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chartel; cartel | ๑. เอกสารแลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างคู่สงคราม (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ข้อตกลงระงับการแข่งขันกันทางธุรกิจ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cartel; chartel | ๑. เอกสารแลกเปลี่ยนเชลยศึกระหว่างคู่สงคราม (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ข้อตกลงระงับการแข่งขันกันทางธุรกิจ (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
general anaesthetic | ยาสลบ, ยาระงับความรู้สึกทั้งตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
extinguishment | ความระงับสิ้นไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
extinction of obligation | ความระงับแห่งหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
temperantia | ยาระงับประสาท [ มีความหมายเหมือนกับ sedative ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
urodialysis | การระงับปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Dispute settlement | การระงับข้อพิพาพ [เศรษฐศาสตร์] |
Spinal anesthesia | การระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Analgesia | การระงับปวด [TU Subject Heading] |
Analgesics | ยาระงับปวด [TU Subject Heading] |
Anesthesia | การระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Dental | การระงับความรู้สึกทางทันตกรรม [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Intravenous | การระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดำ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Local | การระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Obstetrical | การระงับความรู้สึกทางสูติศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Spinal | การระงับความรู้สึกที่กระดูกสันหลัง [TU Subject Heading] |
Anesthetics | ยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthetics industry | อุตสาหกรรมยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthetics, Local | ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] |
Dispute resolution (Law) | การระงับข้อพิพาท (กฎหมาย) [TU Subject Heading] |
Extinguishment of debts | การระงับหนี้ [TU Subject Heading] |
Neuromuscular blockade | การระงับความรู้สึกที่จุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] |
Pacific settlement of international disputes | การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี [TU Subject Heading] |
Tocolysis | การให้ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก [TU Subject Heading] |
award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] |
Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
dispute settlement | การระงับข้อพิพาท [การทูต] |
Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] |
Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] |
moratorium | ประกาศพัก/ระงับชั่วคราว [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
pacific settlement of disputes | การระงับข้อพิพาทด้วยสันติวิธี [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
suspension | การระงับการใช้บังคับของสนธิสัญญา [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
unsettled dispute | ข้อพิพาทที่ยังไม่ระงับ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Acupuncture Analgesia | การฝังเข็มระงับปวด [การแพทย์] |
Acupuncture Anesthesia | วิชาแทงเข็มระงับความรู้สึก [การแพทย์] |
Analgesia | การขาดความรู้สึกเจ็บ, การระงับความปวด, ความรู้สึกหายไป, ระงับปวด, ความไม่รู้สึกเจ็บปวด, ฤทธิ์แก้ปวด [การแพทย์] |
Analgesic Abusers | ยาระงับปวด [การแพทย์] |
Analgesic Drugs | ยาระงับปวด, ยาระงับความรู้สึก [การแพทย์] |
Analgesic Effects | ฤทธิ์ระงับปวด [การแพทย์] |
Analgesics | ยาระงับปวด, การระงับความเจ็บปวด, สารพวกที่แก้ปวด, ยาแก้ปวด [การแพทย์] |
Analgesics, Addictive | ยาระงับปวด, เสพติด [การแพทย์] |
Analgesics, Local | ยาระงับปวดเฉพาะที่ [การแพทย์] |
Analgesics, Mild | ยาระงับปวดชนิดอ่อน, ยาระงับปวดปานกลาง [การแพทย์] |
Analgesics, Narcotic | ยาแก้ปวดชนิดเสพติด, ยาระงับปวด, ยาแก้ปวดชนิดเสพติด [การแพทย์] |
Analgesics, Narcotic, Standard | สารมาตรฐานระงับปวด [การแพทย์] |
Analgesics, Non-Narcotic | ยาระงับปวดชนิดไม่เสพติด [การแพทย์] |
Analgesics, Potent | ยาระงับปวดชนิดแรง [การแพทย์] |
Analgesics, Strong | ยาระงับปวดชนิดรุนแรง, ยาระงับปวดชนิดแรง [การแพทย์] |
abeyance | (n) การระงับไว้ชั่วคราว, See also: การหยุดพักชั่วคราว, Syn. pause |
abolish | (vt) เลิกล้ม, See also: ล้มเลิก, ยกเลิก, ระงับ, Syn. abrogate, annul, rescind, Ant. establish |
allay | (vt) บรรเทา, See also: ระงับ, Syn. relieve, reduce, alleviate |
anesthetic | (n) ยาระงับความรู้สึก, See also: ยาชา |
appease | (vt) ทำให้สงบ, See also: ระงับ, Syn. soothe, pacify |
assuage | (vt) ระงับ, See also: ขจัด, กำจัด, ทำให้เบาลง, Syn. lessen, allay, relieve |
bite | (vt) กัด, See also: ขบ, งับ, Syn. nip, snap |
bite into | (phrv) กัด, See also: งับ |
bite off | (phrv) กัดขาด, See also: งับจนขาด |
bite on | (phrv) กัด, See also: งับ, Syn. chew on |
break up | (phrv) ยุติ, See also: เลิก, หยุด, ระงับ |
cocaine | (n) ยาชาเฉพาะที่ ได้มาจากใบโคคา, See also: ยาชาใช้ระงับความเจ็บปวดเฉพาะที่, Syn. coke, snow |
constraint | (n) ความยับยั้งชั่งใจ, See also: การระงับความรู้สึก |
curb | (vt) ควบคุม, See also: จำกัดขอบเขต, ระงับ, Syn. restrain, control |
cut off | (phrv) ป้องกัน, See also: ระงับ, ยับยั้ง |
deny | (vt) ระงับ, See also: ยับยั้ง, อดกลั้น, Syn. refuse, contradict, forswear |
deodorant | (n) ยาดับกลิ่น, See also: ยาระงับกลิ่น, Syn. deodorizer, fumes, incense |
deodorise | (vt) ดับกลิ่น, See also: ขจัดกลิ่น, ระงับกลิ่น, Syn. freshen, fumigate |
deodorize | (vt) ดับกลิ่น, See also: ขจัดกลิ่น, ระงับกลิ่น, Syn. freshen, fumigate |
deodorizer | (n) ยาดับกลิ่น, See also: ยาระงับกลิ่น, Syn. deodorant |
desist | (vi) หยุดการกระทำ, See also: ระงับ, ยุติ, เลิก, งดเว้น, Syn. cease, refrain, hold, stop |
desistance | (n) การหยุดการกระทำ, See also: การระงับ, การยุติ, การเลิก, การงดเว้น, Syn. astinenee |
hold back | (phrv) ควบคุมความรู้สึก, See also: อดกลั้น, ระงับอารมณ์, Syn. hold in, keep back, keep down, keep in |
gnash | (vt) กัดฟัน, See also: งับ, แทะ, บดด้วยฟัน, กัดฟัน, Syn. bite, grind, snap |
gnash | (n) การงับด้วยฟัน, See also: การกัดฟัน, การขบเคี้ยว |
insuppressible | (adj) ซึ่งไม่สามารถระงับได้, See also: ซึ่งเกินกว่าจะควบคุมไว้ได้, Syn. irrepressible, Ant. suppressible |
irrepressible | (adj) ไม่สามารถควบคุมไว้ได้, See also: ไม่สามารถระงับได้, Syn. uncontrollable, independent, Ant. submissive, meek |
methadone | (n) สารเสพย์ติด คล้ายมอร์ฟีนช่วยระงับปวดได้ |
nip | (n) การหนีบ, See also: การคีบ, การบีบ, การหยิก, การงับ |
Novocain | (n) ยาระงับความรู้สึก, Syn. novocaine |
painkiller | (n) ยาแก้ปวด, See also: ยาบรรเทาปวด, สิ่งระงับปวด, Syn. analgesic, moderator |
phenobarbital | (n) ยาระงับประสาท |
procaine | (n) ยาระงับความรู้สึก |
quell | (vt) ระงับ (อารมณ์), See also: ห้าม, Syn. calm, quiet |
quench | (vt) ระงับ (ความกระหายน้ำ, ความปรารถนา), See also: ทำให้หายอยาก |
refrain | (vi) ระงับไว้, See also: กลั้นไว้, Syn. avoid, cease |
refrain | (vt) ระงับไว้, See also: ยับยั้ง |
refrain from | (phrv) ระงับ, See also: ยับยั้ง, Syn. forbear from, withhold from |
remain cool | (phrv) สงบใจไว้, See also: ไม่ตื่นเต้น, ระงับสติ |
restrain from | (phrv) ละเว้นจาก, See also: ระงับจาก, ยับยั้งจาก, Syn. prevent from |
sedation | (n) ความเงียบ, See also: ความสงบ, ความใจเย็น, การสงบประสาท, การกดประสาท, การระงับประสาท, Syn. tranquillization, moderation |
sedative | (n) ยาระงับประสาท, See also: ยากดประสาท, ยากล่อมประสาท, ยาจำพวกระงับประสาท, Syn. tranquilizer, sleeping pill, soporific, narcotic |
squelch | (vt) ระงับ (คำสแลง), See also: สกัด, ทำให้เงียบ, Syn. silence |
stifle | (vt) อดกลั้น, See also: ระงับ, Syn. repress, suppress |
stop | (vt) ระงับ, See also: ยั้ง, ยับยั้ง, ป้องกัน, Syn. hinder, impede, prevent |
submerge | (vt) อดกลั้น, See also: ระงับ, เก็บกด, ปิดบัง, Syn. hide, suppress |
suppress | (vt) อดกลั้น, See also: ยับยั้ง, ระงับ, ข่มจิต, Syn. contain, repress, restrain |
suppressant | (n) ยาระงับอาการ, See also: ยายับยั้งอาการ |
suppressible | (adj) ซึ่งระงับ, See also: ซึ่งยับยั้ง |
suppression | (n) การอดกลั้น, See also: การระงับ, การข่มจิต, Syn. constraint, repression, restraint |
abase | (อะเบส') vt., adj. น้อม, ทำให้ลดตำแหน่ง, ถ่อมตัวลง, ระงับ, อ่อน, เบา -abasement (n.), Syn. disconcert, discourage, shame, confound, embarrass, confuse |
abate | (อะเบท') vt., vi. ลดน้อยลง, บรรเทา, เลิกล้ม, เลิก, ระงับ, Syn. lessen, moderate |
abeyance | (อะเบ' เอินซฺ) n. การหยุด, การยั้ง, การระงับชั่วคราว, ความไม่แน่นอน, Syn. inaction |
abeyant | (อะเบ' เอินทฺ) adj. ซึ่งระงับชั่วคราว |
anesthetic | (แอนเนสเธท' ทิค) n., adj. เกี่ยวกับหรือสามารถทำให้เกิดการชาหรือไม่รู้สึกตัว, ยาชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, Syn. anodyne, analgesic |
bite | (ไบทฺ) { bit, bitten/bit, biting, bites } v. กัด, กิน, ตอด, กินอาหาร, ต่อย (แมลง) , ยึดแน่น, เกาะแน่น, โกง, มีผลต่อ, งับ, ติดเหยื่อ, ยึด, ติด, ทำได้ผล n. การกัด, แผลกัด, ความคม, ความได้ผล, ชิ้นอาหาร, มื้อน้อย ๆ, Syn. nibble |
bob | (บอบ) { bobbed, bobbing, bobs } n. การผงกศีรษะ, ผมบ๊อบ, ทรงผมสั้นของสตรี, ผมมวย, หางม้าที่ตัดสั้น, ทุ่นตกปลา, ลูกตุ้ม, ลูกดิ่ง, การตีเบา vt., vt. ผงกศีรษะ, ผลุบโผล่, ลอย, แกว่ง, โดดขึ้นโดดลง, ลอยขึ้นมาอีก, ตัดให้สั้น, ตัดผมบ๊อบ, พยายามงับสิ่งที่แขวนอยู่, ตกปลาด้วยเหยื่อและทุ่น |
chasten | (เช'เซิน) { chastened, chastening, chastens } vt. ตักเตือน, สั่งสอน, ลงโทษ, สกัด, ระงับ, ทำให้บริสุทธิ์, ทำให้เบาบาง, See also: chasteningly adv. chastener n. chastenment n. |
chloroform | n. ยาสลบหรือระงับความรู้สึกชนิดหนึ่ง |
constrain | (คันสเทรน') { constrained, constraining, constrains } vt. บังคับ, ผลักดัน, ขัง, จำกัด, ระงับความรู้สึก -Conf. restrain |
constrained | (คันสเทรนดฺ') adj. ถูกบังคับ, ซึ่งระงับความรู้สึกไว้, ฝืนใจ, ถูกจำกัด |
counterirritant | (เคาเทอะเออ'ริเทินทฺ) n. ยาบรรเทาหรือระงับอาการระคายเคือง adj. ซึ่งต้านอาการระคายเคือง |
curb | (เคิร์บ) n. ขอบ, ขอบถนน, ขอบบ่อ, ริม, เครื่องเหนี่ยวรั้ง, สิ่งควบคุม vt. รั้งม้า, เหนี่ยวรั้ง, ควบคุม, ระงับ, กั้นขอบ, สร้างคันดิน., Syn. check |
cushion | (คู'เชิน) { cushioned, cushioning, cushions } n. เบาะ, นวม, เบาะพิง vt. ใส่เบาะ, ใส่นวม, บรรเทา, ลด, ระงับ, Syn. pillow |
depress | (ดีเพรส') vt. ลดลง, กด, กดต่ำ, ระงับ, ยับยั้ง, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้ค่าหรือระดับต่ำลง |
depressant | (ดีเพรส'เซินทฺ) adj. ซึ่งกดประสาท, ซึ่งระงับ, ซึ่งทำให้หดหู่ใจ. n. ยากดประสาท |
desist | (ดิซิสทฺ', ดิซิสทฺ') vt. หยุด, ระงับ, เลิกล้มความตั้งใจ., See also: desistance n. ดูdesist desistence n. ดูdesist, Syn. cease |
kill | (คิล) { killed, killing, kills } v. ฆ่า, สังหาร, ทำให้ตาย, ทำลาย, ประหาร, ทำให้หยุด, ระงับ, ทำ, ให้เป็นกลาง, ถูกฆ่าตาย, เอาชนะโดยสิ้นเชิง n. การฆ่า, การสังหาร, สัตว์ที่ถูกฆ่า -Phr. (kill off ฆ่าหรือทำลายโดยสิ้นเชิง), Syn. slay |
lay | (เล) { laid, laid, laying, lays } vt. วาง, ปู, พาด, ลาด, ปู, ปล่อย, ทา, ตีแผ่น, เผยแพร่, นำเสนอ, ฝัง, ลงราก, กำหนด, ตั้ง, วางแผน, วางโครง, ออกไข่, ทิ้งระเบิด, กำหนดโทษ, วางเดิมพัน, พนัน, กะ, วัด, กด, ระงับ, บรรเทา, มุ่งหมาย, เล็งปืน vi. วางไข่, ออกไข่, พนัน, วางเดิมพัน, ขันต่อ, วางโครงการ, นอ |
mollify | (มอล'ละไฟ) vt. ทำให้อ่อนโยน, ลดหย่อน, ทำให้สงบ, ปลอบ, ระงับโทสะ., See also: mollification n. mollifier n., Syn. mitigate |
muffle | (มัฟ'เฟิล) vt. หุ้มห่อคอหรือใบหน้า (เพื่อกันหนาวหรือเพื่อเป็นที่บัง) , ห่อหุ้มเพื่อป้องกันเสียง, อุดเสียง, ระงับเสียง n. สิ่งที่ห่อหุ้มดังกล่าว, เสียงที่ถูกอุดหรือระงับ, Syn. swathe |
muffler | (มัฟ'เฟลอะ) n. ผ้าพันคออย่างหนา, สิ่งที่ใช้อุดหรือระงับเสียง, เครื่องอุดหรือเก็บเสียง |
mute | (มิวทฺ) adj. ใบ้, พูดไม่ได้, ไม่ริปาก, เงียบ, ไม่ออกเสียง, ไม่แก้ตัว (เมื่อถูกกล่าวหา) n. คนใบ้, คนที่ไม่แก้ตัวเมื่อถูกกล่าวหา, การไม่ออกเสียง, เครื่องหมายหยุด. vt. อุดเสียง, ระงับเสียง, เก็บเสียง, ลดความเข้มข้นของสีลง., See also: muteess n. |
painkiller | (เพน'คิลเลอะ) n. สิ่งที่ระงับปวด |
procaine | (โพรเคน', โพร'เคน) n. ยาระงับความรู้สึกชนิดหนึ่งที่ใช้เฉพาะแห่งหรือผ่านทางไขสันหลัง |
quell | (เควล) vt. ทำให้สงบ, ปราบ, ดับไฟ, ระงับ, ทำให้บรรเทา, ทำให้ลดน้อยลง, See also: quellable adj. queller n., Syn. suppress |
quench | (เควนชฺ) vt. ดับ, ทำให้หมด, ระงับ, ทำให้เย็นลงทันทีโดยการจุ่มลงในของเหลว, ปราบ, เอาชนะ, See also: quenchable adj. quencher n. |
refrain | (รีเฟรน') vi., vt. ระงับ, ข่มจิต, กลั้น, ละเว้น, เลิก, หยุดยั้ง n. (เพลงหรือบทกวี) ลูกคู่, บทลูกคู่, บทซ้ำ, บทรับ, ทำนอง, See also: refrainment n. |
rein | (เรน) n. บังเหียน, เชือกบังเหียน, วิธีการควบคุม, เครื่องนำ vt., vi. ดึงบังเหียน, ระงับ, หยุดยั้ง, บังคับ, ควบคุม, Syn. restraint, check |
repress | (รีเพรส') vt., vi. อดกลั้น, ปราบปราม, ควบคุม, ข่มจิต, ข่มอารมณ์, ระงับ., See also: represser, repressor n. repressible adj. repression n. repressive adj. |
scrub | (สครับ) vt. ถูอย่างแรง, ขัดอย่างแรง, ขัดสิ่งสกปรกออก, ล้าง, ล้างแก๊ส, ทำให้อากาศบริสุทธิ์, ทำงานหนัก, เลื่อนหรือระงับ (การส่งขีปนาวุธ) vi. ทำความสะอาดโดยการขัดถู n. ต้นไม้เล็ก ๆ , พุ่มไม้, สัตว์เลี้ยงพันธุ์ผสมหรือพันธุ์เลว, สิ่งที่เล็กกว่าปกติ, ของชั้นเลว, นักกีฬาชั้นสอง, ไม้กวาดแปรงที่ใช้จนขนสั้น adj. เล็กกว่าปกติ, แคระ, เตี้ย, คนชั้นเลว, กระจอก, ไม่สำคัญ |
shunt | (ชันทฺ) vt., vi., n. (การ) สับราง, เปลี่ยนราง, สับเปลี่ยน, เปลี่ยนเส้นทาง, ปัด, แยก, เก็บ, ระงับ, หันไปอีกทางหนึ่ง, เปลี่ยนเส้นทาง, เครื่องสับราง, เครื่องแยกทางไฟฟ้า, รถไฟเปลี่ยนราง, (ศัลยกรรมผ่าตัด) ทางหรือหลอดที่สร้างขึ้นใหม่, การเชื่อมต่อระหว่างท่อสองท่อในร่างกาย |
shut | (ชัท) vt., vt., n. (การ) ปิด, งับ, ปิดประตู, งับ, พับ, หุบ, หนีบ, เก็บ, หลับตา, หยุด, หยุดเปิด, ล้อมไว้, ใส่กลอน adj. ปิด ปิดไว้. |
snap | (สแนพ) vt., vi., n. (การ) ขบฟัน, ดีดนิ้ว, หวดแส้, ปิดดัง, งับกัดอย่างแรง, ตะครุบ, ทำให้แตกอย่างฉับพลัน, ทำหัก, พูดตะคอก, พูดอย่างรีบร้อน, ถ่ายรูป, เป็นประกาย, ยิงรวดเร็ว, สับไกปืน, ชิง, ช่วงชิง, กระทำอย่างรวดเร็ว, หวดแส้, ปิดดัง, โอกาสที่จะรวยอย่างรวดเร็ว, ช่วงระยะเวลาอันสั้น |
squelch | (สเควลชฺ) vt., n. (การ) ขยี้, บด, บดขยี้, กำจัด, ทำลาย, ขจัด, ระงับ, ดับ, บีบคั้น, ทำให้เกิดเสียงผลัวะ, ทำให้เกิดเสียงสาดกระเด็น, การขยี้, การกำจัด, การบีบบังคับ., See also: squelcher n. squelchingly adv. |
stem | (สเทม) n. ลำต้น, ก้าน, ก้านใบ, ก้านดอก, ก้านผลไม้, ลำต้นกล้วย, สิ่งที่คล้ายใบหรือก้านดอก, ส่วนที่ยาวเรียว, เท้า, ขา, ตระกูล, เชื้อสาย, เหล่ากอ, ปุ่มไขลานนาฬิกา, ไส้หลอดอิเล็กทรอนิกส์, ตัวคำศัพท์, เสาหัวเรือ, หัวเรือ, บ้องยาฝิ่น, ถนนใหญ่. vt. เอาก้านออก. vi. กำเนิด, เกิดจาก vt. หยุดยั้ง, ยับยั้ง, สกัด, ระงับ |
stonewall | vt., vi. สกัด, ยับยั้ง, ระงับ, ต้าน. n. กำแพงหิน, อุปสรรค |
suppress | (ซะเพรส') vt. ปราบ, ปราบปราม, ระงับ, เลิก, ยกเลิก, หยุดยั้ง, กลั้น, กด, บีบ, ห้าม, ขยี้, ทำลาย, ขจัด, อำพราง, ปิดบัง, See also: suppressedly adv. suppressible adj. suppressive adj. suppressly adv. suppressor n. suppresser n. คำที่มีความหมายเห |
suppressant | (ซะเพรส'เซินทฺ) n. ยาระงับ, สารระงับ, ยาระงับอาการ |
suppression | (ซะเพรส'เชิน) n. การระงับ, การหยุดยั้ง, การปราบปราม, การเลิก, การขจัด, การอำพราง, การปิดบัง., Syn. restraint, curb, check, repression |
unconquerable | (อันคอง'เคอระเบิล) adj. พิชิตไม่ได้, บังคับไว้ไม่ได้, ระงับไว้ไม่อยู่, Syn. invincible |
withhold | (วิธ'โฮลดฺ) vt., vi. ระงับ, ยับยั้ง, ขัดขวาง, อายัด, ไม่อนุมัติ, ไม่อนุญาต, ยั้งมือ, ถอนกลับ, See also: withholder n., Syn. restrain |
abatement | (n) การหยุด, การเลิก, การระงับ, การลดน้อยลง |
abeyance | (n) การพัก, การหยุด, การระงับชั่วคราว |
allay | (vt) ทำให้สงบ, บรรเทา, ทำให้น้อยลง, ระงับ |
alleviate | (vt) ทำให้น้อยลง, บรรเทา, ระงับ |
alleviation | (n) การบรรเทา, การทำให้น้อยลง, การระงับ |
appease | (vt) ทำให้สงบ, ระงับโทสะ, ปลอบใจ, เอาใจ |
constraint | (n) การบีบบังคับ, การฝืนใจ, การจำกัด, การระงับความรู้สึก, การคุมขัง |
curb | (vt) กด, กั้นขอบ, ยั้ง, เหนี่ยวรั้ง, ระงับ |
desist | (vt) ระงับ, ล้มเลิก, หยุด, เลิกล้มความคิด |
extinguish | (vt) ดับ, ทำให้สิ้น, ยุติ, ระงับ, เลิก |
forbear | (vi, vt) อดกลั้น, หักห้าม, ระงับ, ละเว้น, อดทน, ข่มใจ |
forbearance | (n) การข่มใจ, การหักห้าม, การระงับ, ความอดทน, การละเว้น |
hush | (vi, vt) หยุดเงียบ, เงียบสงบ, ระงับ |
irrepressible | (adj) ป้องกันไม่ได้, ไม่สามารถระงับได้ |
lapse | (vi) ผ่านพ้นไป, ล่วงไป, หมดอายุ, สิ้นไป, ระงับไป, ถลำตัว |
lull | (n) ความสงบ, การระงับ, การกล่อม, การหยุดนิ่ง |
mollification | (n) การปลอบ, การระงับโทสะ, การทำให้สงบ |
mollify | (vt) ทำให้เบาบางลง, ปลอบ, ระงับอารมณ์, ทำให้สงบ |
muffle | (vt) พัน, คลุม, หุ้ม, ปกปิด, ระงับ |
neurotic | (n) ยาระงับประสาท, คนที่เป็นโรคประสาท |
quell | (vt) มีชัย, ปราบ, ระงับ, กำจัด, ดับไฟ, ทำให้สงบ |
quench | (vt) ดับ, ระงับ, บรรเทา, ปราบ, ทำให้หมด |
quiet | (vi) เงียบลง, สงบลง, ระงับ |
refrain | (vi) งด, ละเว้น, กลั้น, ระงับ, ข่มจิต |
repress | (vt) กลั้น, กดไว้, ระงับ, ควบคุม, ข่มใจ, ปราบปราม |
repression | (n) การปราบปราม, การระงับ, ความอดกลั้น, การข่มใจ, การควบคุม |
sedative | (n) ยาระงับประสาท, ยากดประสาท |
SELF-self-restraint | (n) ความข่มใจตนเอง, ความอดกลั้น, ความระงับใจตนเอง |
settle | (vt) ชำระเงิน, วาง, จัดการ, ระงับ, ขจัด, ตกลงกัน |
smother | (vi, vt) ระงับ, กลั้น, อุดจมูก, กลบ, คลุ้ง |
squelch | (vt) ทำให้หยุด, กด, ระงับ, กำจัด, บดขยี้ |
stay | (vt) ให้ที่พัก, ทำให้หยุด, ระงับ, ยับยั้ง, หน่วงเหนี่ยว, สกัด, คอย |
stem | (vt) ปิด, หยุด, กั้น, อุด, จุก, ระงับ, ยับยั้ง |
stifle | (vt) ระงับ, ทำให้หายใจไม่ออก, กลั้น, อุดปาก, ปิดปาก |
still | (vt) หยุด, ทำให้เงียบ, ทำให้สงบ, ระงับ, ทำให้นิ่ง, บรรเทา |
suppression | (n) การระงับ, การกดขี่, การปราบปราม, การเลิก, การขจัด |
withhold | (vt) ยับยั้ง, ระงับ, อายัด, ไม่อนุมัติ, ขัดขวาง |