ตะกร้อ | (n) muzzle, Example: สุนัขตัวนั้นไม่สบายเจ้าของจึงต้องใส่ตะกร้อครอบปากไว้, Thai Definition: เครื่องสานสำหรับสวมปากม้าหรือปากหมา |
ตะกร้อ | (n) rattan ball, Syn. ลูกตะกร้อ, Example: ทุกๆ เย็นจะมีการแข่งขันเตะตะกร้อที่สนามเด็กเล่นข้างชุมชนวัดใหม่, Count Unit: ลูก, Thai Definition: ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นตาๆ สำหรับเตะ |
ตะกร้อ | (n) long-handled fruit-picker, See also: fruit-picker made of a wicker scoop fixed to long handle, Example: พ่อใช้ตะกร้อสอยชมพู่ที่อยู่บนยอดสูง, Thai Definition: เครื่องมือสอยผลไม้ มีด้ามยาว ทำด้วยไม้เป็นซี่ รูปปล่องยาวรีคล้ายกาบปลี ตรงปากมีฟันสำหรับสอย |
นักร้อง | (n) singer, See also: songster, Example: เดี๋ยวนี้รายการเพลงมีการสัมภาษณ์นักร้องใหม่ๆ เพื่อเอาใจแฟนเพลง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความสามารถในการร้องเพลงหรือร้องเพลงเป็นอาชีพ |
พักร้อน | (v) have a vacation, See also: have a holiday, Example: เขาใช้เวลาช่วงพักร้อนอยู่กับครอบครัวอย่างเต็มที่, Thai Definition: หยุดงานในฤดูร้อน |
ติดตะกร้อ | (v) play Thai ball game balancing on one's knee or arm, See also: play a Siamese football and control its movement by the knees or the arms, Example: เขาถนัดติดตะกร้อในท่าแบบต่างๆ, Thai Definition: บังคับตะกร้อให้ติดอยู่บนเข่าหรือแขนเป็นต้น |
ปากตะกร้อ | (n) ripe mango, Syn. มะม่วงปากตะกร้อ, Example: เขาสอยมะม่วงปากตะกร้อมาบ่มไว้ในลังจำนวนมาก, Thai Definition: เรียกมะม่วงที่แก่จัดควรสอยลงมาบ่มได้ |
เรียกร้อง | (v) call for, See also: demand, cry out for, make a demand for, require, Example: คนกรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลแก้ปัญหาจราจร, Thai Definition: แสดงความต้องการให้ให้หรือให้กระทำ |
คำเรียกร้อง | (n) request, See also: claim, demand, call, appeal, Syn. ข้อเรียกร้อง, ข้อกำหนด |
ศาลาพักร้อน | (n) public rest-house, See also: summer house, Example: ตรงริมทางมีศาลาพักร้อนไว้คอยบริการเป็นระยะๆ, Count Unit: หลัง, Thai Definition: อาคารปลูกสร้างเพื่อหลบแดด |
เซปักตะกร้อ | (n) a Thai ball game, Syn. เซปัก, Example: การเล่นเซปักตะกร้อต้องมีผู้เล่นฝ่ายละสามคน, Thai Definition: ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ใช้ลูกตะกร้อส่งข้ามตาข่ายโต้กันไปมา โดยใช้ขา, Notes: (มลายู) |
ข้อเรียกร้อง | (n) demand, See also: request, requirement, claim, Syn. คำเรียกร้อง, Example: ผู้ประท้วงได้ยื่นข้อเรียกร้องต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ, Count Unit: ประการ, ข้อ, Thai Definition: คำกล่าวเพื่อแสดงความต้องการต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
ผู้เรียกร้อง | (n) one who demands, See also: claimant, Syn. คนเรียกร้อง, Ant. ผู้ให้, Example: ไม่มีใครเชื่อว่าเขาคือผู้เรียกร้อง ให้นายกรัฐมนตรีปลดรองอธิบดีออกจากตำแหน่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แสดงความต้องการให้ผู้อื่นให้สิ่งของหรือให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง |
ร้อนอกร้อนใจ | (v) be anxious, See also: worry, be perturbed, be worried, Syn. ร้อนใจ, เดือดร้อน, กระวนกระวายใจ, เดือดเนื้อร้อนใจ, Example: เธอร้อนอกร้อนใจอยากจะให้เขากลับมา |
กลุ่มเรียกร้อง | (n) demanding group, Example: กลุ่มเรียกร้องต้องการให้สมาชิกทำตามกลุ่มเพื่อเสถียรภาพและความมั่นคงของกลุ่ม, Count Unit: กลุ่ม |
เย็บปักถักร้อย | (v) do needlework, See also: do embroidery, embroider, Syn. เย็บผ้า, Example: ย่ายังพอมีเรี่ยวแรงเย็บปักถักร้อยอยู่ |
เย็บปักถักร้อย | (n) embroidery, See also: needlework, sewing, Syn. การเย็บผ้า, Example: คนสมัยโบราณผู้หญิงมักรู้เรื่องเย็บปักถักร้อย ส่วนผู้ชายจะรู้เรื่องการล่าสัตว์มากกว่า, Thai Definition: งานฝีมือที่ใช้เข็มและด้ายปักบนผ้า |
ร้องเรียกร้องหา | (v) call, See also: cry out for, shout or yell after, call out |
งานเย็บปักถักร้อย | (n) needlework, Syn. การเย็บปักถักร้อย |
ตะกร้อสวมปากสุนัข | (n) muzzle |
กร้อ | น. เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ (โคลงกวี), สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. |
กร็อกกร๋อย | (กฺร็อกกฺร๋อย) ว. ไม่ชุ่มชื่น, ไม่สมบูรณ์. |
กร่อน | (กฺร่อน) ก. หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, ร่อยหรอ, สึกหรอ. |
กร๊อบ | (กฺร๊อบ) ว. เสียงดังอย่างเคี้ยวของแข็งหรือของกรอบ. |
กร่อม ๑, กร่อม ๆ | ว. ช้า ๆ เงื่อง ๆ แต่ทำเรื่อยไป (มักใช้แก่การเดิน พายเรือ หรือลุยนํ้า) เช่น เดินกร่อม ๆ กรำฝนฟ้า พายเรือกร่อม ๆ. |
กร่อม ๒ | น. เครื่องมือครอบจับปูทะเล ตามชายฝั่งทะเล ใช้ไม้ไผ่ต้นเดียวผ่าตอนปลายออกเป็น ๔ ซี่ เหลาซี่เหล่านั้นให้อ่อน เอาวงแหวนทำด้วยไม้ไผ่ หวาย หรือลวด ใส่ในหว่างซี่เหล่านั้นเพื่อบังคับให้ถ่างออก, กะกร่อม หรือ ตะกร่อม ก็เรียก. |
กร่อย | (กฺร่อย) ว. ไม่จืดสนิทหรือไม่หวานสนิท เพราะมีรสเค็มเจือ, โดยปริยายหมายความว่า หมดรสสนุกหรือหมดความครึกครื้น เช่น การแสดงที่ไม่สนุกทำให้คนดูรู้สึกกร่อย. |
กระดูกร้องได้ | น. ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ทำให้จับตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษได้ คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตายร้องบอก. |
กะกร่อม | ดู กร่อม ๒. |
เกร่อ | (เกฺร่อ) ว. ลักษณะบางอย่างที่เกี่ยวกับเรื่องกินเรื่องใช้เป็นต้นที่คนโดยมากมักทำกัน เช่น กินกันเกร่อ เที่ยวกันเกร่อ ใช้กันเกร่อ. |
คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. |
เซปักตะกร้อ | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง ใช้ลูกตะกร้อส่งข้ามตาข่ายโต้กันไปมา โดยใช้ขา เท้า เข่า ลำตัว และศีรษะ เพื่อรับส่งลูก มีผู้เล่นฝ่ายละ ๓ คน การเริ่มส่งลูกแต่ละครั้ง ฝ่ายส่งจะต้องยืนอยู่ในตำแหน่งที่กำหนดไว้ การเล่นแบ่งเป็น ๓ เซต ฝ่ายที่ชนะ ๒ ใน ๓ เซต คือ ฝ่ายชนะ. |
ตะกร้อ | (-กฺร้อ) น. ลูกกลมสานด้วยหวายเป็นต้นเป็นตา ๆ สำหรับเตะ |
ตะกร้อ | ชื่อกีฬาชนิดหนึ่งที่ใช้ตะกร้อเป็นอุปกรณ์ เช่น ตะกร้อลอดบ่วง ตะกร้อข้ามตาข่าย เซปักตะกร้อ |
ตะกร้อ | เครื่องมือสอยผลไม้ ทำด้วยไม้ หวาย หรือไม้ไผ่เป็นซี่ รูปรีคล้ายกาบปลี ตรงปากมีฟันสำหรับสอย นำมาต่อกับด้ามไม้ไผ่ |
ตะกร้อ | เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ, กร้อ ก็เรียก |
ตะกร้อ | เครื่องสานรูปทรงกระบอก สำหรับใส่ไว้ในไหหมักน้ำปลาเป็นต้น เพื่อกรองเอาส่วนที่เป็นน้ำ |
ตะกร้อ | เครื่องสานมีรูปคล้ายคลึงเช่นนั้น สำหรับสวมปากม้าหรือปากหมาเป็นต้น |
ตะกร้อ | เครื่องดับไฟสานเป็นรูปรีคล้ายปลีกล้วย พันผ้าชุบนํ้า มีด้ามยาว สำหรับดับและคลึงลูกไฟที่มาติดหลังคา บางทีเขียนเป็น กระตร้อ ก็มี เช่น ให้ตรวจเอาพร้าขอกระตร้อน้ำ จงทุกที่พนักงานให้สรัพไว้ (สามดวง), กะต้อ ก็เรียก. |
ตะกร่อม | (-กฺร่อม) ดู กร่อม ๒. |
ติดตะกร้อ | ก. บังคับลูกตะกร้อให้ตั้งนิ่งอยู่บนเข่าหรือข้อมือเป็นต้น. |
บุษบารักร้อย | น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง. |
ใบเบิกร่อง | น. เอกสารที่กรมศุลกากรออกให้แก่เรือที่มีระวางจดทะเบียนตํ่ากว่า ๒๐๐ ตัน ที่ออกจากท่าเรือกรุงเทพฯ เพื่อส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อนำเรือผ่านด่านศุลกากรที่ปากนํ้าสมุทรปราการ. |
ปากตะกร้อ | น. เรียกมะม่วงบางชนิด เช่น มะม่วงพิมเสน มะม่วงน้ำดอกไม้ ที่แก่จัดจนหัวเหลืองอยู่บนต้น ว่า มะม่วงปากตะกร้อ. |
พักร้อน | ก. หยุดพักผ่อน. |
ร้องเรียกร้องหา | ก. ต้องการตัว. |
ร้อนใจ, ร้อนอกร้อนใจ | ก. เดือดร้อนใจ, กระวนกระวายใจ. |
รักร้อย | น. ชื่อลายอย่างหนึ่ง ผูกเป็นลายกระจังตาอ้อยเรียงซ้อนเนื่องกันไปเป็นแถวยาว, เรียกสร้อยอ่อนประดับข้อมือ ทำด้วยทองลงยา มักผูกเป็นลายกระจังตาอ้อย บางทีก็ประดับพลอยด้วย ว่า สร้อยรักร้อย. |
เรียกร้อง | ก. ร้องขอแกมบังคับให้ทำหรือให้งดการกระทำ เช่น เรียกร้องขอความเป็นธรรม เรียกร้องขอความเห็นใจ. |
สิทธิเรียกร้อง | น. สิทธิที่จะเรียกให้ชำระหนี้หรือเรียกทรัพย์สิน. |
อกร่อง | น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. ผลเป็นร่องด้านข้าง. |
กด ๒ | น. ชื่อปลาไม่มีเกล็ด มีหนวด หลายชนิด หลายขนาด ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมัน ส่วนใหญ่เป็นสกุล Arius ในวงศ์ Ariidae พบมากในเขตนํ้ากร่อย เช่น กดแดงหรือกดหัวโม่ง ( A. caelatusValencienne s) บางชนิดพบในทะเล เช่น กดทะเลหรือริวกิว [ A. thalassinus (Rüppell) ], ที่อยู่ในสกุล Ketengus ได้แก่ กดหัวโต ( K. typusBleeker), ในสกุล Hemipimelodus เช่น กดโป๊ะ [ H. borneensis (Bleeker) ]. |
กดเหลือง | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Hemibagrus nemurus (Valenciennes) ในวงศ์ Bagridae ไม่มีเกล็ด หัวแบน หนวดยาวถึงครีบก้น ข้างลำตัวสีเหลือง ด้านหลังสีน้ำตาลดำ มีชุกชุมทั่วไป แม้ในเขตน้ำกร่อยใกล้ปากแม่น้ำ ขนาดยาวได้ถึง ๖๕ เซนติเมตร, กดขาว หรือ ชงโลง ก็เรียก. |
กรด ๒ | (กฺรด) ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม. |
กรรหาย | (กัน-) ก. กระหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น กามกรรหายยั่วข้าง (ลอ), ให้หยุดพลพักร้อน กรรหายผ่อนเอาทับ (นิ. พลเสพย์). |
กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด Periophthalmodon schlosseri (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. |
กระตร้อ | ดู ตะกร้อ. |
กระทุงเหว | น. ชื่อปลาผิวนํ้าทุกชนิด ในวงศ์ Belonidae และ Hemiramphidae ลำตัวกลมยาวคล้ายปลาเข็ม กระดูกปากทั้งตอนบนและล่างหรือเฉพาะตอนล่างยื่นยาวแหลม หางเป็นแฉก บ้างก็ตัดเฉียงลงมากน้อยหรือกลมแล้วแต่ชนิดหรือสกุล ส่วนใหญ่พบในเขตนํ้ากร่อยหรือชายทะเล เช่น ชนิดในสกุล Hemiramphus, Hyporhamphus, Rhynchorhamphus, Tylosurus, Strongyluraและ Zenarchopterusชนิดที่พบในทะเลห่างฝั่งและบริเวณรอบเกาะ คือ กระทุงเหวบั้ง [ Ablennes hians (Valenciennes) ] ซึ่งมีชุกชุมที่สุด บางชนิดพบอาศัยอยู่ในนํ้าจืด เช่น กระทุงเหวเมือง [ Xenentodon cancila (Hamilton) ] ขนาดยาวได้ถึง ๑.๒๕ เมตร, เข็ม ก็เรียก. |
กระบวนกระบิด | น. แสร้งทำชั้นเชิงเพื่อถ่วงเวลาหรือเรียกร้องความสนใจเป็นต้น เช่น ทั้งกระบวนกระบิดติดปั้นปึ่ง (ไกรทอง), กระบิดกระบวน ก็ว่า. |
กระบอก ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยและปลาทะเลหลายชนิด ในสกุล Liza, Valamugil, Oedalechilus และ Mugil วงศ์ Mugilidae ลำตัวค่อนข้างกลม ปากเล็ก มีครีบหลัง ๒ ตอน เกล็ดใหญ่สีเงิน มีหลายชนิด ขนาดยาวได้ถึง ๑ เมตร มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น กระบอกท่อนไต้ [ L. vaigiensi (Qnoy & Gaimard) ] กระบอกดำ [ L. parsia (Hamilton-Buchanan) ] กระบอกขาว [ V. seheli (Forsskål) ], กระเมาะ หรือ ละเมาะ ก็เรียก สำหรับปลาขนาดเล็ก, ปักษ์ใต้เรียก หมก หรือ มก. |
กระบิดกระบวน | ก. แสร้งทำชั้นเชิงเพื่อถ่วงเวลาหรือเรียกร้องความสนใจเป็นต้น เช่น ทำจริตกระบิดกระบวนสะบิ้งสะบัด (ม. ร่ายยาว ชูชก), กระเบ็ดกระบวน ก็ใช้ เช่น อย่ากระเบ็ดกระบวนนักเลย. |
กระษัยกล่อน | (-ไสกฺล่อน) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกร่อน, เขียนเป็น กษัยกล่อน ก็มี. |
กระหึ่ม | ว. เสียงก้อง เช่น พายุพัดกระหึ่ม เสียงดนตรีดังกระหึ่ม. ก. โด่งดังรู้กันไปทั่ว เช่น นักร้องคนนี้มีชื่อเสียงกระหึ่ม เรื่องคอร์รัปชันตอนนี้กำลังกระหึ่มไปทั่ว. |
กระอาน | น. ชื่อเต่านํ้ากร่อยขนาดใหญ่ชนิด Batagur baska (Gray) ในวงศ์ Emydidae จมูกแหลมงอนคล้ายตะพาบ เมื่อยังเล็กกระดองค่อนข้างแบน เมื่อโตขึ้นกระดองโค้งรี เพศเมียหัวและกระดองสีน้ำตาล เพศผู้หัวและกระดองสีดำตาสีขาว ตีนมีพังผืดเต็ม สามารถปรับตัวอยู่ในนํ้าจืดได้ พบในบริเวณที่มีน้ำไหลทางภาคใต้โดยเฉพาะแถบจังหวัดสตูล, กะอาน ก็เรียก. |
กรับพวง | น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้แผ่นบาง ๆ หรือแผ่นทองเหลืองหรือแผ่นงาช้างหลาย ๆ อัน ด้ามจิ้ว ตอนหัวข้างหนึ่งเจาะรูร้อยเชือก เวลาตีใช้มือข้างหนึ่งจับตรงหัวทางเชือกร้อย แล้วฟาดข้างหนึ่งลงบนฝ่ามืออีกข้างหนึ่ง สำหรับตีเป็นจังหวะประกอบการฟ้อนรำและขับร้อง หรือใช้ตีรัวเป็นอาณัติสัญญาณ. |
กรีดกราด | (-กฺราด) ว. อาการที่ร้องอุทานเพื่อเรียกร้องความสนใจเป็นต้น. |
กฤดา, กฤดาการ | (กฺริดา, กฺริดากาน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น (พงศ. อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ (เสภาสุนทรภู่). |
กฤษฎา ๒ | (กฺริดสะ-) กร่อนมาจาก กฤษฎาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). |
กฤษฎาญ | (กฺริดสะดาน) กร่อนมาจาก กฤษฎาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์). |
กล้อ ๒ | (กฺล้อ) น. เครื่องสานยาชันชนิดหนึ่ง เช่น ก็ให้น้ำเต็มเต้า เข้าเต็มไหไปเต็มหม้อ ชื่อว่ากล้อก็บมิให้พร่องเลอย (ม. คำหลวง ชูชก). (ดู กร้อ). |
lawful damages | ค่าเสียหายที่เรียกร้องได้ตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lay damages | ค่าเสียหายที่โจทก์เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revendication | การเรียกร้องคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recovery agent | ตัวแทนเรียกร้องส่วนรับคืน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of claim | สิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reclaim | เรียกร้องคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
return for no claim | เบี้ยประกันภัยจ่ายคืนเมื่อไม่มีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
small claim | ข้อเรียกร้องรายย่อย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suffragette | สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffragist | ผู้เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
subordination | ๑. การอยู่ใต้บังคับ, การอยู่ใต้บังคับบัญชา๒. สิทธิหรือข้อเรียกร้องชั้นรอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupying claimant | ผู้เรียกร้องในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amount claimed | จำนวนเงินที่เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attachment of a claim | การอายัดสิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of claims | การรวมข้อเรียกร้อง, การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of causes of action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quitclaim | การสละสิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
matured claim | สิทธิเรียกร้องที่ถึงกำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
menaces, demand with | เรียกร้องโดยข่มขู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chorus | นักร้องหมู่ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cross-claim | ข้อเรียกร้องกลับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claim | ๑. ข้อเรียกร้อง๒. การใช้สิทธิเรียกร้อง๓. การอ้างสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
claim | ๑. การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน๒. ค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claim | ข้อเรียกร้อง, การใช้สิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claim adjuster | ผู้ไกล่เกลี่ยข้อเรียกร้อง (ในการประกันภัย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claim and delivery | สิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์, การเรียกร้องเอาทรัพย์คืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claimant | ผู้เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
court of claims; claims, court of | ศาลพิจารณาข้อเรียกร้องจากรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Court of Claims | ศาลพิจารณาข้อเรียกร้องจากรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claims condition | เงื่อนไขเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claims, court of; court of claims | ศาลพิจารณาข้อเรียกร้องจากรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chose in action | ๑. สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์๒. ทรัพย์พิพาทในคดี [ ดู thing in action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disclaimer | การบอกเลิกข้อเรียกร้อง, การไม่ยอมรับสิทธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demand | เรียกร้อง, ทวงถาม, เรียกให้ (กระทำการ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disallowance | ๑. การไม่ยอมรับกฎหมาย (ที่ออกโดยอาณานิคมหรือเขตสังกัด)๒. การบอกปัด (ข้อเรียกร้อง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
demand with menaces | เรียกร้องโดยข่มขู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demandant | ผู้เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
forbearance | การงดใช้สิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
embroidery | งานเย็บปักถักร้อย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
irredentism | อุดมการณ์เรียกร้องดินแดนของชนชาติเดียวกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
thing in action | ๑. สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์๒. ทรัพย์พิพาทในคดี [ ดู chose in action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
knock-for-knock agreement | ข้อตกลงไม่เรียกร้องต่อกัน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
non-claim | ไม่ได้ใช้สิทธิเรียกร้อง (ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
no claim for accident reported | การไม่เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนสำหรับอุบัติเหตุที่ได้รับแจ้งแล้ว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nature of claim | สภาพแห่งสิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unliquidated claim | ข้อเรียกร้องที่ยังกำหนดค่าเสียหายมิได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
underwriting and claims control clause | ข้อกำหนดการควบคุมการรับประกันภัยและการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
waiver of claims | การสละสิทธิ์เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Global warming | ภาวะโลกร้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Property and loan fund “Type 4 Fund” | กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง (กอง 4) , กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง (กอง 4), Example: กองทุนรวมที่ บลจ. จัดตั้งขึ้นเพื่อจำหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบันโดยมีวัตถุประสงค์หลักในการนำเงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหน่วยลงทุนไปซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ และจัดหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว หรือลงทุนในสิทธิเรียกร้องหรือในทรัพย์สินอื่นเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน [ตลาดทุน] |
Workers' compensation claims | ข้อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนสำหรับลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Women singers | นักร้องสตรี [TU Subject Heading] |
Women jazz singers | นักร้องเพลงแจซซ์สตรี [TU Subject Heading] |
Automobile insurance claims | ข้อเรียกร้องจากประกันรถยนต์ [TU Subject Heading] |
Bead embroidery | การเย็บปักถักร้อยลูกปัด [TU Subject Heading] |
Choirs (Music) ; Choral organizations | คณะนักร้องประสานเสียง [TU Subject Heading] |
Choral societies | สมาคมนักร้องเพลงประสานเสียง [TU Subject Heading] |
Choses in action | สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์ [TU Subject Heading] |
Claim vs [ name of country or party agiant which claim are brought ] | ข้อเรียกร้องต่อ [ ชื่อประเทศหรือคู่กรณี ] [TU Subject Heading] |
Claims | ข้อเรียกร้อง [TU Subject Heading] |
Convention on limitation of liability for Maritime Claims (1976) | อนุสัญญาว่าด้วยการจำกัดความรับผิดสำหรับสิทธิเรียกร้องทางทะเล (ค.ศ. 1976) [TU Subject Heading] |
Disability insurance cliams | ข้อเรียกร้องจากประกันทุพพลภาพ [TU Subject Heading] |
Embroidery | การเย็บปักถักร้อย [TU Subject Heading] |
Embroidery industry | อุตสาหกรรมการเย็บปักถักร้อย [TU Subject Heading] |
Folk singers | นักร้องเพลงพื้นเมือง [TU Subject Heading] |
Male singers | นักร้องชาย [TU Subject Heading] |
Singers | นักร้อง [TU Subject Heading] |
Takraw | ตะกร้อ (กีฬา) [TU Subject Heading] |
Unemployment insurance claimants | ผู้เรียกร้องสิทธิประกันสังคมการว่างงาน [TU Subject Heading] |
ASEAN-Australia Development Cooperation Programme | โครงการความร่วมมือด้านการพัฒนาอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นกรอบความร่วมมือระยะ 5 ปี ที่ออสเตรเลียให้ความร่วมมือกับ อาเซียนในด้านโครงการพัฒนากับอาเซียน โดยจะเริ่มโครงการครั้งแรกระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2544-2549 มีมูลค่ารวม 45 ล้านเหรียญออสเตรเลีย ซึ่งอาเซียนต้องออกเงินสมทบโครงการอีกร้อยละ 20 อนึ่ง AADCP เป็นโครงการความร่วมมือที่เกิดขึ้นเพื่อทดแทน AAECP (ASEAN-Australia Economic Cooperation Programme หรือ โครงการร่วมมือด้านเศรษฐกิจอาเซียน-ออสเตรเลีย) ซึ่งจะสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2546 [การทูต] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
Conselho Nacional da Resistencia Timorense (National Council of Timorese Resistance) | " เป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวติมอร์ตะวันออกจาก อินโดนีเซีย โดยมีนายซานานา กุสเมา (Xanana Gusmao) เป็นผู้นำคนสำคัญ " [การทูต] |
Gerakan Aceh Merdeka (Free Aceh Movement) | ขบวนการอาเจห์เสรี " เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2519 มี นาย Hasan Tiro เป็นหัวหน้า " [การทูต] |
Generalized System of Preferences | ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป " มีที่มาจากการประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาขององค์การ สหประชาชาติ (UNCTAD) เมื่อปี พ.ศ. 2510 ภายใต้ระบบนี้ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถส่ง สินค้าไปขายแข่งขันในประเทศพัฒนา โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนอัตราภาษีขาเข้าให้แก่สินค้าที่อยู่ในข่ายได้รับ สิทธิพิเศษ โดยไม่เรียกร้อง ผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ " [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
receivables | สิทธิเรียกร้องทางการเงิน [การทูต] |
Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
Size of Staff of Diplomatic Mission | ขนาดของคณะผู้แทนทางการทูต โดยพฤตินัย จำนวนคณะผู้แทนทางการทูตจะมีตั้งแต่แห่งละหนึ่งหรือสองคนขึ้นไป จนถึงแห่งละ 100 กว่าคนได้ แต่โดยส่วนเฉลี่ย คณะผู้แทนทางการทูต จะมีจำนวนระหว่าง 12 ถึง 24 คน สำหรับคณะผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวงของประเทศใหญ่ๆ เช่น ที่กรุงวอชิงตันดีซี กรุงลอนดอน กรุงปารีส กรุงมอสโก กรุงปักกิ่ง และกรุงโตเกียว เป็นต้น จะมีเจ้าหน้าที่ทูตมากกว่าปกติอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูตได้บัญญัติอยู่ในมาตรา 11 ว่า ?1. เมื่อไม่มีความตกลงเฉพาะในเรื่องขนาดของคณะผู้แทน รัฐผู้รับอาจเรียกร้องให้ขนาดของคณะผู้แทนอยู่ในจำนวนจำกัดตามที่ตนเห็นว่า เหมาะหรือเป็นปกติได้ ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงพฤติการณ์หรือสภาวการณ์ในรัฐผู้รับ และความจำเป็นของคณะผู้แทนเฉพาะราย 2. ภายในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน และบนมูลฐานที่ไม่เลือกปฏิบัติ รัฐผู้รับอาจปฏิเสธได้เช่นเดียวกัน ที่จะยอมรับพนักงานเฉพาะรายประเภทหนึ่งประเภทใดก็ได้? [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Demand, Conscious | การเรียกร้องบางอย่างโดยรู้ตัว [การแพทย์] |
Demand, Subconscious | การเรียกร้องบางอย่างโดยไม่รู้ตัว [การแพทย์] |
Embroidery | เย็บปักถักร้อย [การแพทย์] |
ใบเบิกร่อง | [baiboēkrǿng] (n) EN: port clearance permit |
เด็กร่อนเร่ | [dek rǿnrē] (n, exp) EN: tramp child ; vagabond child ; vagrant child ; hobo child FR: jeune clochard [ m ] |
การกัดกร่อน | [kān katkrǿn] (n) EN: corrosion FR: corrosion [ f ] |
การเรียกร้อง | [kān rīekrøng] (n) EN: claim |
การเรียกร้องค่าเสียหาย | [kān rīekrøng khāsīahāi] (n, exp) EN: claim for damages |
การสละสิทธิ์เรียกร้อง | [kān sala sit rīekrøng] (n, exp) EN: waiver of claims |
การสึกกร่อน | [kān seukkrǿn] (n) EN: erosion ; corrosion ; abrasion |
การสนทนาที่กร่อยมาก | [kān sonthanā thī krǿi māk] (xp) EN: insipid conversation |
กัดกร่อน | [katkrǿn] (v) EN: erode ; corrode |
กัดกร่อน | [katkrǿn] (adj) EN: abrasive FR: abrasif |
คำเรียกร้อง | [kham rīek-røng] (n) EN: request ; claim ; demand ; call ; appeal FR: requête [ f ] |
ข้อเรียกร้อง | [khørīekrøng] (n) EN: demand ; claim |
ข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [khørīekrøng thī mai mī hētphon] (n, exp) EN: unfounded claim |
กลุ่มนักร้อง | [klum nakrøng] (n, exp) FR: groupe [ m ] |
กลุ่มเรียกร้อง | [klum rīekrøng] (n, exp) EN: demanding group |
กร่อย | [krǿi] (adj) EN: brackish ; briny ; saline FR: saumâtre |
กร่อย | [krǿi] (adj) EN: insipid ; dull ; tame ; flat ; uninteresting ; lifeless ; not much fun ; unpleasant ; vapid ; wishy-washy ; jejune FR: insipide |
กร็อกกร๋อย | [krǿkkrøi] (adj) EN: scrawny ; emaciated ; withered ; impoverished |
กร่อน | [krǿn] (v) EN: wear down ; corrode ; erode ; etch ; eat ; undergo attrition FR: corroder ; ronger ; éroder ; user ; attaquer ; corrompre |
กร่อน | [krǿn] (adj) EN: worn ; worn down ; worn away ; abraded ; eroded FR: corrodé ; rongé ; usé |
ลาพักร้อน | [lā phak røn] (v, exp) FR: partir en congé |
มะม่วงอกร่อง | [mamūang okrǿng] (n, exp) EN: Ok Rong mango |
มะม่วงอกร่องทอง | [mamūang okrǿngthøng] (n, exp) EN: Mango Forever |
มะม่วงปากตะกร้อ | [mamūang pāktakrø] (n, exp) EN: ripe mango |
นักร้อง | [nakrøng] (n) EN: singer ; vocalist FR: chanteur [ m ] ; chanteuse [ f ] ; chansonnier [ m ] ; chansonnière [ f ] ; interprète [ m, f ] |
น้ำกร่อย | [nām krǿi] (n, exp) EN: brackish water FR: eau saumâtre [ f ] |
หนังสือเรียกร้องค่าเสียหาย | [nangseū rīekrøng khāsīahāi] (n, exp) EN: claim for reimbursement |
นกกินแมลงนักร้อง | [nok kin malaēng nakrøng] (n, exp) EN: song-babbler |
นกกระจ้อยนักร้อง | [nok krajøi nakrøng] (n, exp) EN: Manchurian Bush Warbler FR: Bouscarle mandchoue [ f ] ; Bouscarle de Mandchourie [ f ] ; Bouscarle à calotte rousse [ f ] |
นกร่อนทะเล | [nok rǿn thalē] (n, exp) EN: tropicbird |
นกร่อนทะเล | [nok rǿn thalē] (n, exp) EN: Phaethontidae |
นกร่อนทะเลหางแดง | [nok rǿn thalē hāng daēng] (n, exp) EN: Red-tailed Tropicbird FR: Phaéton à brins rouges [ m ] ; Paille-en-queue blanc [ m ] ; Phaéton à queue rouge [ m ] ; Paille-en-queue à brins rouges [ m ] ; Paille-en-queue à queue rouge [ m ] |
นกร่อนทะเลหางขาว | [nok rǿn thalē hāng khāo] (n, exp) EN: White-tailed Tropicbird FR: Phaéton à bec jaune [ m ] ; Petit Paille-en-queue [ m ] ; Paille-en-queue à bec jaune [ m ] ; Phaéton à queue blanche [ m ] ; Petit Phaéton [ m ] ; Paille-en-queue à brins blancs [ m ] ; Paille-en-queue blanc [ m ] |
ปากตะกร้อ | [pāktakrø] (adj) EN: ripe ; ready to be picked FR: mûr ; à point |
ปฏิเสธข้อเรียกร้อง | [patisēt khørīekrøng] (v, exp) EN: repudiate a claim |
ปฏิเสธข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [patisēt khørīekrøng thī mai mī hētphon] (v, exp) EN: repudiate an unfounded claim |
พักร้อน | [phakrøn] (v) EN: have a vacation FR: partir en vacances ; passer l'été ; estiver (r.) |
ภาวะโลกร้อน | [phāwa lōk røn] (n, exp) EN: global warming FR: réchauffement climatique [ m ] ; réchauffement global [ m ] |
ผู้เรียกร้อง | [phū rīekrøng] (n, exp) EN: claimant |
เรียกร้อง | [rīekrøng] (v) EN: call for ; demand ; cry out for ; make a demand for ; require FR: réclamer ; requérir ; exiger ; demander ; ancer un appel |
เรียกร้องความสนใจ | [rīekrøng khwām sonjai] (v, exp) EN: get attention FR: attirer l'attention |
รู้สึกร้อน ๆ หนาว ๆ | [rūseuk røn-røn nāo-nāo] (v, exp) EN: feel feverish ; be apprehensive ; be worried |
ศาลาพักร้อน | [sālā phak røn] (n, exp) EN: public rest-house ; summer house |
ศาลาพักร้อนริมทาง | [sālā phak røn rim thāng] (n, exp) EN: roadside pavilion |
สารยับยั้งการกัดกร่อน | [sān yapyang kān katkrǿn] (n, exp) EN: corrosion inhibitor |
สึกกร่อน | [seukkrǿn] (v) EN: be worn away/down ; be eroded ; be corroded |
สิทธิเรียกร้อง | [sitthi rīekrøng] (n, exp) EN: legal claim |
สิทธิเรียกร้องค่าเสียหาย | [sitthi rīekrøng khāsīahāi] (n, exp) EN: claim for damages |
สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย | [sitthi rīekrøng tām kotmāi] (n, exp) EN: legal title |
ตะกร้อ | [takrø] (n) EN: rattan ball ; ball of woven rattan strips |
agitate for | (phrv) เรียกร้อง, See also: ปลุกระดมให้มี, Syn. campaign for |
backdown | (n) การยกเลิกข้อเรียกร้อง, See also: การเปลี่ยนแปลงข้อเสนอดั้งเดิม, Syn. retraction |
basso | (n) นักร้องเสียงเบส, See also: นักร้องโอเปร่าเสียงเบส, Syn. bass, Ant. toner |
cantor | (n) ผู้ที่เป็นนักร้องนำในโบสถ์ยิว |
challenge | (vt) เรียกร้อง |
chancel | (n) พื้นที่ในโบสถ์สำหรับพระและนักร้องของโบสถ์นั่ง |
chirp | (n) เสียงร้องจ๊อกแจ๊ก, See also: เสียงนกร้อง |
chorus | (n) คณะขับร้องหมู่, See also: คณะนักร้องประสานเสียง, Syn. choir, choristers |
claim | (n) การเรียกร้อง, Syn. demand, request, call |
claim | (vt) เรียกร้อง, Syn. demand, require |
claimant | (n) ผู้ที่เรียกร้องสิทธิ, Syn. petitioner, claimer |
cook | (vi) อึดอัดเพราะอากาศร้อน, See also: รู้สึกร้อนระอุ |
crewel | (n) ด้ายที่กรอไม่แน่น (ใช้ในการเย็บปักถักร้อย) |
cry | (n) การเรียกร้องของมวลชน, See also: ความต้องการของมวลชน |
call of nature | (idm) อยากไปห้องน้ำ (เป็นคำกล่าวเชิงขำขัน), See also: ธรรมชาติเรียกร้อง |
call something into action | (idm) เรียกร้องให้เริ่มหรือทำบางสิ่ง |
claim against | (phrv) เรียกร้องให้จ่าย, See also: อ้างสิทธิ์ให้จ่าย |
claim back | (phrv) เรียกร้องเงินคืน |
claim for | (phrv) เรียกร้องให้จ่ายสำหรับ |
claim from | (phrv) เรียกร้องค่าชดเชย |
clamour for | (phrv) โห่ร้องแสดงความต้องการ, See also: ส่งเสียงเรียกร้อง, Syn. yammer for |
demand from | (phrv) เรียกร้อง, See also: ต้องการ |
demand of | (phrv) เรียกร้องจาก, Syn. ask of |
entreat of | (phrv) ร้องขอ, See also: เรียกร้อง |
dawn chorus | (n) เสียงร้องของนกต่างๆ ตอนรุ่งเช้า, See also: เสียงนกร้อง, Syn. dawn chorus, bird call |
demand | (vt) ต้องการ, See also: ประสงค์, ปรารถนา, เรียกร้อง, ถาม, สอบถาม, สั่งซื้อ, Syn. require, sue for, call for, ask for |
demur | (vi) ไม่ยอมทำตาม, See also: ปฏิเสธที่จะทำตามที่ได้ถูกร้องขอให้ทำ, คัดค้าน, ปฏิเสธ, รีรอ, Syn. disagree, dispute, challenge |
embroider | (vt) เย็บปักถักร้อย, See also: ปัก, ปักผ้า, ปักลวดลาย, Syn. knit, stitch, weave |
embroidery | (n) การเย็บปักถักร้อย, Syn. embellishment, needlework, ornamentation |
encore | (n) การแสดงซ้ำอีกครั้งตามคำเรียกร้องของผู้ชม, See also: การแสดงเพื่อตามคำเรียกร้องของผู้ชม |
encore | (int) คำที่ใช้เพื่อเรียกร้องให้มีการแสดงเพิ่ม, Syn. again |
encore | (vt) แสดงซ้ำอีกครั้งตามคำเรียกร้องของผู้ชม, See also: แสดงเพิ่มตามคำเรียกร้องของผู้ชม |
encore | (vi) แสดงซ้ำอีกครั้งตามคำเรียกร้องของผู้ชม, See also: แสดงเพิ่มตามคำเรียกร้องของผู้ชม |
exhibitionist | (n) ผู้ที่ชอบเรียกร้องความสนใจ |
fancywork | (n) งานเย็บปักถักร้อย, Syn. needlework |
folk singer | (n) นักร้องเพลงพื้นบ้าน, See also: นักร้องเพลงลูกทุ่ง |
hang out for | (phrv) เรียกร้อง, Syn. hold out of, stand out for, stick out for |
glow | (vi) รู้สึกร้อนผ่าว, See also: หน้าแดง, Syn. blush, turn red, Ant. pale |
haberdasher | (n) คนขายเครื่องเย็บปักถักร้อย |
heartthrob | (n) ผู้ที่เป็นขวัญใจ โดยเฉพาะดารา นักร้อง |
heigh | (int) คำอุทานเพื่อเรียกร้องความสนใจ แสดงความพอใจ หรือแปลกใจ ฯลฯ |
herringbone | (n) แบบรูปแฉกแนวขนานเป็นรูปตัว v ใช้เป็นลายประดับในการเย็บปักถักร้อยหรืออื่นๆ |
hist | (int) คำอุทานเพื่อเรียกร้องความสนใจหรือขอร้องให้คนเงียบ |
ho | (int) คำอุทานแสดงความประหลาดใจ ดีใจ เรียกร้องความสนใจ |
get a lump in one's throat | (idm) รู้สึกตื้อๆ อยากร้องไห้ |
pull a stunt | (idm) แสดงโชว์เพื่อเป็นจุดเด่น, See also: แสดงโชว์เพื่อเรียกร้องความสนใจ |
importunate | (adj) ที่เรียกร้อง, See also: ซึ่งรบเร้า |
importunity | (n) การรบเร้า (คำทางการ), See also: การเรียกร้องไม่หยุด, การเซ้าซี้, Syn. persistence, petition, request |
irredentism | (n) ลัทธิสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน (ในอิตาลีปีค.ศ.1878) |
lay claim to | (phrv) เรียกร้อง, See also: อ้างสิทธิ |
alto | (แอล' โท) n., (pl. -tos) เสียงร้องเพลงระดับต่ำที่สุดของผู้หญิง, เสียงสูงสุดของชาย, นักร้องหญิงเสียงต่ำ, ส่วนของเสียงทุ้ม, ไวโอลินเสียงทุ้ม. -adj. มีเสียงทุ้ม, เกี่ยวกับเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงสุดเป็นสอง |
antiphony | (แอนทิฟ' โฟนี) n. การขับร้องสลับกันในหมู่นักร้อง, โคลงกลอนที่ร้องสลับกัน, antiphon, การขับร้องตอบโต้กัน. -antiphonic (al) adj. (singing, antiphon) |
appeal | (อะพีล') n., vi. อุทธรณ์, ร้องขอ, อ้อนวอน, เรียกร้อง, ใช้, อาศัย, ดึงดูดใจ, ซาบซึ้ง. -appealer n., Syn. request, call |
baritone | (บาร์'ริโทน) n. เสียงทุ้มของนักร้องชาย, นักร้องที่มีเสียงดังกล่าว, เครื่องดนตรีขนาดใหญ่รูปร่างคล้าย trumpet. adj. เกี่ยวกับ baritone |
barytone | (บาร์'ริโทน) n. เสียงทุ้มของนักร้องชาย, นักร้องที่มีเสียงดังกล่าว, เครื่องดนตรีขนาดใหญ่รูปร่างคล้าย trumpet. adj. เกี่ยวกับ baritone |
bass | (เบส) n. เสียงต่ำของผู้ชาย, ท่วงทำนองเสียงต่ำ, นักร้องเสียงต่ำ, ดนตรีเสียงต่ำ adj. เกี่ยวกับเสียงต่ำ, See also: bassdrum n. กลองใหญ่ |
boon | (บูน) n. ผลประโยชน์ที่ได้รับ, บุญคุณ, คุณานุปการ, สิ่งที่เรียกร้องหรือต้องการ, เพื่อนร่วมสนุก adj. สนุกสนาน, สนุกเฮฮา, กรุณา, โอบอ้อมอารี, Syn. windfall, blessing |
broider | (บรอย'เดอะ) { broidered, broidering, broiders } vt. เย็บปักถักร้อย, See also: broiderer n. ดูbroider broidery n. ดูbroider |
bulbul | (บูล'บูล) n. นกร้องจำพวกไนติงเกล, |
caller | (คอล'เลอะ) n. คนร้องเรียก, สิ่งเรียก, สิ่งที่เรียกร้อง, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้โทรศัพท์, ผู้เรียกประชุม |
calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation |
cantatrice | (คานทะทรี'ชี) n. นักร้องอาชีพที่เป็นหญิง |
centenary | (เซน'ทะนารี) adj. เกี่ยวกับร้อยปี, เกิดขึ้นทุกร้อยปี -n. หนึ่งร้อยปี |
challenge | (แชล'ลินจฺ) v., n. (การ) ท้า, ท้าทาย, ท้าดวล, ขอประลองฝีมือ, เรียกร้อง, แสดงข้อคิดเห็นขัดแย้ง |
chanteuse | (ชานทูส') n. นักร้องหญิง |
chantress | (ชาน'เทรส) n. นักร้องหญิง |
choir | (ไคว'เออะ) n. กลุ่มนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ vt., vi ร้องประสานเสียง, See also: choirboy n. ดูchoir choirgirl n. ดูchoir |
choragus | (คะเร'กัส) n., ผู้นำคณะนักร้องประสานเสียง, คนทำงานรื่นเริง, Syn. choregus. - |
choral | (คอ'รัล) adj. เกี่ยวกับกลุ่มนักร้องประสานเสียง -n. เพลงสวดสรรเสริญพระเจ้าในโบสถ์, See also: choralist n. ดูchoral |
chorale | (คะแรล') n. เพลงสวดสรรเสริญพระเจ้าในโบสถ์, กลุ่มนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
chorister | (คอ'ริสเทอะ) n. นักร้องในคณะนักร้องประสานเสียงในโบสถ์, นักร้องผู้ชายในโบสถ์ |
chorus | (คอ'รัส) { chorused, chorusing, choruses } n. คณะนักร้อง, ลูกคู่, การร้องเพลงพร้อม ๆ กัน, เสียงเพลงที่ร้องพร้อมกัน, เสียงที่ออกมาพร้อมกันหลายคน, ความพร้อมเพรียง vt., vi. ร้องพร้อมกัน, ท่องพร้อมกัน, พูดพร้อมกัน pl. choruses |
claim | (เคลม) vt., n. (การ) เรียกร้อง, อ้างสิทธิ, อ้าง, สิทธิเรียกร้อง, สิทธิ, สิทธิเรียกร้อง, สิ่งที่เรียกร้อง |
claimant | (เคล'เมินทฺ) n. ผู้เรียกร้อง, ผู้อ้างสิทธิ |
consort | (คอน'ซอร์ทฺ) { consorted, consorting, consorts } n. สามีหรือภรรยา, คู่สมรส, กลุ่มนักดนตรีหรือนักร้อง, เพื่อน, คู่หู, การสอดคล้องกัน, การตกลง vt. คบค้า, ตกลง, เป็นเพื่อน, สอดคล้อง. vt. ร่วม, คบหาสมาคม, See also: corsorter n. consortion n. -Conf. concert |
contralto | n. เสียงต่ำที่สุดของผู้หญิง, นักร้องหญิงเสียงต่ำดังกล่าว .adj. เกี่ยวกับเสียงต่ำดังกล่าว |
counterclaim | (เคา'เทอะเคลม) vt., vi., n. (การ) เรียกร้องแย้ง, อ้างสิทธิแย้ง, แย้งสิทธิ., See also: counterclaimant n. ดูcounterclaim |
crewel | (ครู'เอิล) n. เส้นด้าย (เส้นไหมพรม เส้นขนสัตว์) ที่กรอไม่แน่นใช้เย็บปักถักร้อย, งานเย็บปักถักร้อยด้วยเส้นด้ายดังกล่าว. -crewelist n. |
crying | (ไคร'อิง) adj. เกี่ยวกับการร้องไห้, เกี่ยวกับการร้องหา, เกี่ยวกับการแผดเสียงร้อง, ซึ่งดึงดูดความสนใจ, ซึ่งเรียกร้องความสนใจ, Syn. pressing |
demand | (ดีมานดฺ') n. ความต้องการ, อุปสงค์ vt. ต้องการ, เรียกร้อง, ถาม, ขอทราบ |
demandant | (ดิมาน'ดันทฺ) n. โจทก์, ผู้เรียกร้อง |
demanding | (ดิมาน'ดิง) adj. เรียกร้องมากเกินควร |
diva | (ดี'วะ) n. นักร้องหญิงตัวชูโรงของคณะ, นางละครเสียงเอก -pl. divas, dive), Syn. prima donna |
embroider | (เอมบรอย'เดอะ) v. ถัก, ถักลาย, ร้อย, เย็บปักถักร้อย, ตกแต่ง. ., See also: embroideer n. ดูembroider embroidery n. ดูembroider |
encore | (เอนคอร์') interj. อีก! เอาอีก! -n. ความต้องการอีกเช่นโดยการตบมือเรียกร้อง, การแสดงอีกครั้งตามคำเรียกร้อง vt. เรียกร้องให้แสดงอีก |
encumbrance | (เอนคัม'บรันซฺ) n. สิ่งกีดขวาง, เครื่องถ่วงความเจริญ, ผู้ที่ต้องพึ่งพาคนอื่น , การเรียกร้องสิทธิในทรัพย์ สิน, การติดพัน, Syn. incumbrance |
entertainer | n. นักร้อง, ตัวตลก, ผู้แสดง, ผู้ทำให้เพลิดเพลิน, ผู้ต้อนรับแขก |
exact | (อิดแซคทฺ') { exacted, exacting, exacts } adj. แน่นอน, แน่ชัด, ถูกต้อง, เที่ยง, แม่นยำ. vt. บีบบังคับ, เรียกร้อง, ต้องการ., See also: exactable adj. ดูexact exacter n. ดูexact exactor n. ดูexact exactness n. ดูexact -S... |
exacting | (อิคแซค'ทิง) adj. ซึ่งเข้มงวดมาก, ซึ่งเรียกร้องความต้องการมาก, เกรี้ยวกราด, พิถีพิถันมาก., See also: exactingness n. ดูexacting, Syn. strict |
exaction | (อิคแซค'เชิน) n. การบีบบังคับ, การเรียกร้องความต้องการ, สิ่งที่เรียกร้อง |
fancywork | n. งานเย็บปักถักร้อย |
glee club | หมู่นักร้องประสานเสียง |
gleeman | (กลี'มัน) n. นักร้องอาชีพที่เที่ยวเดินไปมา |
goldfinch | n. นกร้องคล้ายเสียงเพลงจำพวกหนึ่ง |
haberdasher | n. คนขายเครื่องแต่งตัวของผู้ชาย, พ่อค้าเครื่องปักถักร้อย |
hist | (ฮิสท) interj. คำอุทาน "ฮือ!" (เรียกร้องความสนใจหรือขอร้องให้คนเงียบ) |
implore | (อิมพลอร์') vt. ขอร้อง, เรียกร้อง, วิงวอน, อ้อนวอน., See also: implorer n. imploringly adv., Syn. beseech, entreat |
importunate | (อิมพอ' ชะนิท) adj. รีบด่วน, เร่งด่วน, รบเร้า, เรียกร้อง, พร่ำ, รบกวน., See also: importunately adv. importunateness n., Syn. insistent, persistent, eager |
importune | (อิมพอร์ทูน') vt. รบเร้า, เรียกร้อง, พร่ำ, รบกวน. -vt. รบเร้าไม่หยุด, เรียกร้องไม่หยุด, See also: importunely adv. importuner n. |
importunity | (อิมพอร์ทู' นิที) n. การรบเร้า, การเรียกร้อง, การพร่ำ, การขอร้องอย่างไม่หยุด |
alto | (n) ระดับเสียงของนักร้อง |
appeal | (vt) ขอร้อง, อ้อนวอน, ร้องเรียน, อุทธรณ์, เรียกร้อง, ดึงดูดความสนใจ |
baritone | (n) เสียงนักร้องชาย |
bower | (n) ร่มไม้, ซุ้มไม้, ศาลาพักร้อน |
broider | (n) งานเย็บปักถักร้อย, งานฝีมือ |
calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ |
cauterize | (vt) ทำให้ไหม้, จี้ด้วยเหล็กร้อน, กัดกร่อน |
cautery | (n) เหล็กร้อน, สารกัดกร่อน, สิ่งที่ทำให้ไหม้ |
challenge | (vt) ท้าทาย, ท้าดวล, เรียกร้อง |
choir | (n) คณะนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
chorister | (n) นักร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
chorus | (n) การร้องประสานเสียง, ลูกคู่, นักร้องประสาน, คอรัส |
claim | (n) สิทธิ, คำร้อง, การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ |
claim | (vt) อ้างสิทธิ, เรียกร้องสิทธิ์, ยืนยัน |
claimant | (n) ผู้อ้างสิทธิ, ผู้เรียกร้องสิทธิ์, โจทก์ |
counterclaim | (n) การแย้ง, การเรียกร้องแย้ง |
demand | (n) ความต้องการ, คำขอร้อง, อุปสงค์, การเรียกร้อง |
demand | (vt) ต้องการ, ขอร้อง, เรียกร้อง, ขอทราบ, ถาม |
embroider | (vt) ถัก, ร้อย, เย็บปักถักร้อย, ตกแต่ง |
embroidery | (n) การถัก, การร้อย, การเย็บปักถักร้อย, การตกแต่ง |
encore | (n) การร้องขอให้ทำอีก, การเรียกร้องให้แสดงอีก |
encore | (vt) ขอให้ทำอีก, เรียกร้องให้แสดงอีก |
implore | (vt) วิงวอน, อ้อนวอน, ขอร้อง, เรียกร้อง |
importune | (vt) คะยั้นคะยอ, รบเร้า, เรียกร้อง |
importunity | (n) การคะยั้นคะยอ, การรบเร้า, การเรียกร้อง, การขอร้อง |
impose | (vt) ลงโทษ, เรียกร้อง, เอาเปรียบ, กำหนด, บังคับ |
insist | (vi) คะยั้นคะยอ, ยืนยัน, รบเร้า, เรียกร้อง |
insistence | (n) การคะยั้นคะยอ, การยืนยัน, การรบเร้า, การเรียกร้อง |
kiosk | (n) แผงขายหนังสือพิมพ์, ตู้โทรศัพท์, ปะรำ, ศาลาพักร้อน, เวทีดนตรี |
minstrel | (n) นักดนตรี, กวี, นักร้อง |
muzzle | (n) ตะกร้อสวมปากสุนัข, ปากกระบอกปืน |
needlewoman | (n) หญิงเย็บปักถักร้อย |
needlework | (n) งานเย็บปักถักร้อย |
overdraw | (vt) ถอนเงินเกินบัญชี, เรียกร้องมากไป, ขยายความ |
pretension | (n) การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ์, การอวดอ้าง, มารยา |
prosecute | (vt) ฟ้องร้อง, ดำเนินคดี, เรียกร้องสิทธิ์ |
prosecution | (n) การฟ้องร้อง, การดำเนินคดี, การเรียกร้องสิทธิ์ |
request | (n) คำร้อง, การขอร้อง, คำขอ, การเรียกร้อง, ความต้องการ |
request | (vt) ต้องการ, ขอร้อง, ขอ, เรียกร้อง, ถามหา |
require | (vt) เรียกร้อง, ต้องการ, บังคับ, ปรารถนา, ประสงค์ |
requirement | (n) ข้อกำหนด, ความต้องการ, ความจำเป็น, ข้อบังคับ, การเรียกร้อง |
requisition | (n) การเรียกร้อง, ปัจจัยที่จำเป็น |
requisition | (vt) เกณฑ์, เรียกร้อง, ต้องการ |
sigh | (vi) ถอนหายใจ, โหยหา, เรียกร้อง |
singer | (n) นักร้อง |
songster | (n) คนเขียนบทเพลง, นักร้อง, นักแต่งบทกวี |
songstress | (n) คนเขียนบทเพลงหญิง, นักร้องหญิง, นักแต่งบทกวีหญิง |
suppliance | (n) การอุทธรณ์, การขอร้อง, การเรียกร้อง |
suppliant | (adj) เรียกร้อง, ขอร้อง, อ้อนวอน, อุทธรณ์ |
supplicate | (vt) เรียกร้อง, ขอร้อง, อ้อนวอน, อุทธรณ์ |
Er kommt erst heute nach seinem Urlaub. | เขาเพิ่งจะมาวันนี้หลังจากที่หยุดพักร้อนมา, erst ใช้เสริมเหตุการณ์ที่ผู้พูดรู้สึกว่า เพิ่งเกิดขึ้น, ไม่นานมานี้ |
dort | ที่โน่น เช่น Wir haben einen Urlaub in Thailand gemacht. Dort haben wir 40 Grad erlebt. เราไปพักร้อนที่เมืองไทยมา ที่นั่นเราได้เผชิญความร้อนถึงสี่สิบองศา |
fordern | (vt) |forderte, hat gefordert| เรียกร้อง, แสดงความต้องการ เช่น Er fordert das Gehalt in einer Höhe von 2000 Euro von der Firma. เขาเรียกเงินเดือนสองพันยูโรจากบริษัท, Syn. verlangen |
inzwischen | (adv) ระหว่างนั้น(ช่วงเวลา) เช่น Er ist 2 Wochen im Urlaub gewesen. Ich habe inzwischen allein gearbeitet. เขาไปพักร้อนมาสองอาทิตย์ ระหว่างนั้นฉันทำงานเพียงลำพัง, See also: währenddessen, Syn. in der Zwischenzeit |
Urlaubsgeld | (n) |das| เงินสำหรับพักร้อนที่ได้จากนายจ้างนอกเหนือจากเงินเดือน |
Urlaub | (n) |der, pl. Urlaube| ช่วงหยุดพักร้อน |
Urlauber | (n) |der, pl. Urlauber| คนที่กำลังหยุดพักร้อน, See also: der Tourist |
ein Risiko eingehen | เสี่ยง เช่น Er geht das Risiko nicht ein, in der Sahara Urlaub zu machen. เขาไม่ขอเสี่ยงไปเที่ยวช่วงหยุดพักร้อนในทะเลทรายซาฮารา |
verlangen | (vt) |verlangte, hat verlangt| เรียกร้อง, อยากได้ |
jmdn. dabeihaben | (vt) |hatte dabei, hat dabeigehabt| มีคนติดตาม เช่น Er hat seine Freundin im Urlaub dabeigehabt. เขามีแฟนไปด้วยระหว่างที่ไปพักร้อน |
sich erholen | (vt) |erholte sich, hat sich erholt| พักฟื้น, พักผ่อน(ช่วงเวลาพักยาวนานกว่า sich ausruhen และโดยมากหมายถึงพักหลังจากป่วยไข้หรือการทำงานหนัก) เช่น Sie sollen sich im Urlaub ganz von der Arbeit erholen. คุณควรพักฟื้นจากการทำงานในช่วงพักร้อนซะ, See also: Related: sich ausruhen |
Terrasse | (n) |die, pl. Terrassen| ลานหน้าบ้าน, ลานหลังบ้าน, เฉลียงหรือระเบียงบ้านที่อยู่ติดกับพื้นดิน(ไม่จำเป็นต้องมีรั้วกั้นเป็นขอบ) เช่น Im Urlaub haben wir uns auf der Terrasse im Hotel getroffen und zusammen gefrühstückt. เราเจอกันช่วงหยุดพักร้อนที่เฉลียงของโรงแรม และทานอาหารเช้าด้วยกัน, See also: Related: Balkon |
auffordern | (vt) |forderte auf, hat aufgefordert, zu + D| ขอร้องหรือเรียกร้องให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Ich wurde am Flughafen aufgefordert, den Koffer zu öffnen. ฉันถูกขอร้องให้เปิดกระเป๋าเดินทางที่สนามบิน, See also: fordern |