59 ผลลัพธ์ สำหรับ *แสดงความคิดเห็น*
หรือค้นหา: แสดงความคิดเห็น, -แสดงความคิดเห็น-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
แสดงความคิดเห็น(v) voice/give one's opinion, See also: show/express one's opinion, Syn. ให้ความคิดเห็น, Example: กองทัพบกเปิดโอกาสให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกองทัพ ทั้งทางจดหมายและโทรศัพท์
การแสดงความคิดเห็น(n) opinion, See also: voice, view, idea, point of view, Syn. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, การเสนอความคิดเห็น, Example: รัฐบาลยอมรับการแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จิตวิสัยเรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบจิตวิสัย, อัตนัย ก็ว่า.
บทความน. ข้อเขียนซึ่งเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร สารานุกรม เป็นต้น.
บทบรรณาธิการน. ข้อเขียนที่บรรณาธิการหรือนักเขียนชั้นนำเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นอันเป็นจุดยืนของหนังสือนั้น ๆ.
ปรนัย(ปะระ-, ปอระ-) ว. เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบปรนัย, คู่กับ อัตนัย, วัตถุวิสัย ก็ว่า.
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นก. ผลัดกันแสดงความคิดเห็นในการประชุมเป็นต้น.
วัตถุวิสัยเรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า.
สงวนท่าที, สงวนทีท่าก. ไม่แสดงท่าทีให้ปรากฏชัดแจ้ง เพื่อไม่ให้ผู้อื่นรู้ความคิดของตน เช่น เขาสงวนท่าทีไม่ยอมแสดงความคิดเห็นในที่ประชุม, ระมัดระวังกิริยาวาจาไม่ให้ใครดูถูก เช่น ก่อนจะทักทายใคร ควรสงวนทีท่าไว้บ้าง.
เสียงเงียบน. กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด.
อภิปราย(อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น.
อัตนัยว. ที่เปิดโอกาสให้แสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัวได้, เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบอัตนัย, คู่กับ ปรนัย, จิตวิสัย ก็ว่า.
เออ ๆ คะ ๆก. รับฟังโดยไม่ขัดคอ, รับฟังไปตามเรื่องตามราวโดยไม่แสดงความคิดเห็น, เช่น ฉันก็เออ ๆ คะ ๆ ไปอย่างนั้นแหละ.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Personal Diplomacyคือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต]
Potsdam Proclamationคือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต]
Consensus, Highเนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การแสดงความคิดเห็น[kān sadaēng khwām khit-hen] (n, exp) EN: opinion ; voice ; view ; idea ; point of view  FR: opinion [ f ] ; point de vue [ m ]
แสดงความคิดเห็น[sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: voice/give one's opinion ; show/express one's opinion  FR: exprimer son opinion ; faire entendre sa voix ; exprimer son point de vue
แสดงความคิดเห็น[theū wisāsa sadaēng khwām khithen] (v, exp) EN: make bold to express one's view ; venture an opinion

Longdo Approved EN-TH
mansplaining(n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/
Cancel Culture[แคน'เซิล คัล'เชอะ] (n) การแบนหรือคว่ำบาตรคนดัง ศิลปิน องค์กร หรือใครก็ตามแต่ที่แสดงความคิดเห็น สนับสนุน หรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลงในโซเชียลมีเดีย ที่ทำให้คนทั่วไปไม่พอใจหรือผิดหวังในตัวคนคนนั้น

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
animadvert on(phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า)
animadvert upon(phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ (อย่างวางท่า)
call-in(n) รายการที่ให้ผู้ชมหรือผู้ฟังโทรเข้าไปแสดงความคิดเห็น, Syn. phone-in
clamor(n) การแสดงความคิดเห็นของสาธารณะชน, Syn. protesting, complaint
comment(vi) แสดงความคิดเห็น, Syn. commentate
comment(vt) แสดงความคิดเห็น
criticize(vt) วิจารณ์, See also: แสดงความคิดเห็น, Syn. study, probe
criticize(vi) วิจารณ์, See also: แสดงความคิดเห็น
comment on(phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ, Syn. comment upon
comment upon(phrv) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ, Syn. comment on
deliver oneself of(phrv) แสดงความคิดเห็น
fact-sheet(n) ใบแสดงความคิดเห็น
forum(n) ที่สำหรับอภิปราย, See also: ที่แสดงความคิดเห็น
forum(n) การประชุมแสดงความคิดเห็น
latitude(n) ความอิสระในการคิดหรือกระทำ, See also: การแสดงความคิดเห็น, Syn. extent, liberty, indulgence, freedom
noncommittal(adj) ซึ่งไม่แสดงความคิดเห็นหรือเข้าข้าง, See also: ซึ่งไม่เปิดเผยความคิดหรือความรู้สึก, ซึ่งระมัดระวัง, Syn. cautious, wary
noncommittally(adv) อย่างไม่แสดงความคิดเห็น, See also: อย่างไม่เข้าข้าง
obiter dictum(n) คำพูดแสดงความคิดเห็น ความจริง หลักการหรืออื่นๆ
opine(vi) แสดงความคิดเห็น, See also: มีความคิดเห็น, Syn. say, guess
opine(vt) แสดงความคิดเห็น, See also: มีความคิดเห็น, Syn. say, suggest, guess
represent to(phrv) แสดงความคิดเห็นกับ
say(vi) พูด, See also: กล่าว, เอ่ย, แสดงความคิดเห็น, Syn. express
self-assertion(n) การยืนยันในความคิดตน, See also: การยืนกราน, การกล้าแสดงความคิดเห็นของตน, Syn. assertiveness, egotism, insolence
voice(n) สิทธิในการแสดงความคิดเห็น

Hope Dictionary
express(อิคซฺเพรส') { expressed, expressing, expresses } vt. แสดงเป็นคำพูด, แสดงความคิดเห็น, แสดงเป็นเครื่องหมายหรือเป็นสูตร, ส่งด่วน, บีบ, คั้น adj. ชัดเจน, ชัดแจ้ง, แน่นอน, เหมาะสม, ด่วน, เร็วเป็นพิเศษ, โดยเฉพาะ, พิเศษ. n. ขบวนรถด่วน, การส่งด่วน, บริษัทขนส่งด่วน, คนเดินหนังสือพิ
free-spokenadj. ซึ่งพูดแสดงความคิดเห็นได้โดยอิสระ, ขวานผ่าซาก, พูดจาโผงผาง, See also: free-spokenly adv. free-spokenness n.
opine(โอไพน์') vt., vi. มีความคิดเห็น, แสดงความคิดเห็น, รู้สึกว่า, เข้าใจว่า
vend(เวนดฺ) vt. จำหน่าย, ขาย, ขายเร่, แสดงความคิดเห็น, ตีพิมพ์. vi. ค้าขาย, จำหน่าย, ขาย, Syn. sell
voice(วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง

Nontri Dictionary
opine(vi) ออกความเห็น, แสดงความคิดเห็น
vend(vt) ขาย, จำหน่าย, ตีพิมพ์, แสดงความคิดเห็น

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
climate(n) ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ ไม่ใช่คำแปล คำนี้ไม่ได้มีความหมายคล้ายกับ weather คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้เข้าใจความหมายอย่างชัดเจนระหว่างคำสองคำนี้ จึงอยากให้ทางลองดูช่วยให้ความหมายอย่างชัดเจนว่า climate หมายถึง ลักษณะภูมิอากาศของภูมิประเทศ ส่วน weather คือ ลักษณะอากาศขณะหนึ่ง
mansplainingการกระทำที่ผู้พูด อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟังในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม

Longdo Approved DE-TH
Stellung nehmenแสดงความคิดเห็น
schweigen(vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein
sich äußern(vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen
knallhart(adv) โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น เช่น ich hab' ihm knallhart meine Meinung gesagt! = ผมแสดงความคิดเห็นกับเขาโดยไม่ต้องเกรงใจอะไร, See also: schonungslos, Syn. deutlich

Longdo Approved FR-TH
entendre(vt) ฟัง, (comprendre)เข้าใจ, (vouloir dire)แสดงความคิดเห็น, (vouloir)ต้องการจะ เช่น j'entends par là que... = ฉันอยากจะบอกว่า..., ผมอยากจะพูดว่า...

Time: 0.5375 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/