ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

กระมล

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -กระมล-, *กระมล*
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา กระมล มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *กระมล*)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กระมล(-มน) น. บัว
กระมลใจ.
กมลใจ เช่น ดวงกมล, บางทีใช้ว่า กระมล.
กมล(กะมน) ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล.
กระชอกก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์ (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒).
กระหม่าก. ประหม่า, สะทกสะท้าน, พรั่นใจ, เช่น กระมลบ้ากระหม่ามะเมอ (สมุทรโฆษ).
กำโบล ๒ก. ลูบ, ลูบคลำ, ลูบไล้, เช่น ฤๅอาจกำโบลปิยุทร์นงเยาว์ ฤๅอาจอุกเอา กระมลยุคลมามือ (สรรพ-สิทธิ์), คำโบล ก็ใช้.
เกลี้ย(เกฺลี้ย) ก. ชักชวน, ทำให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย (ตะเลงพ่าย).
นาคราชแผลงฤทธิ์ ๑น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๘ คำ บังคับซ้ำเสียงพยัญชนะ ๓ คำ คือ คำท้ายวรรค (คำที่ ๖, ๗ และ ๘) กับ ๓ คำต้นวรรคถัดไป (คำที่ ๑, ๒ และ ๓) และซ้ำเสียงสระวรรคละ ๓ คู่ ในคำที่ ๓ กับ ๔ คำที่ ๕ กับ ๗ และคำที่ ๘ กับคำที่ ๑ ในวรรคถัดไป เช่น กรุงกระษัตริย์ตรัสฟังแค้นคั่งจิตร คิดแค้นใจไหวหวิดในจิตรฉงน จนฉงายกายไฉงใจร้อนรน จนร้าวราญการกระมลจิตรวนเวียน (ศิริวิบุลกิตติ์).

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กระมล(-มน) น. บัว
กระมลใจ.
กมลใจ เช่น ดวงกมล, บางทีใช้ว่า กระมล.
กมล(กะมน) ว. เหมือนบัว เช่น เต้าสุวรรณกมลคนที (ม. คำหลวง หิมพานต์), บางทีใช้ว่า กระมล.
กระชอกก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์ (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒).
กระหม่าก. ประหม่า, สะทกสะท้าน, พรั่นใจ, เช่น กระมลบ้ากระหม่ามะเมอ (สมุทรโฆษ).
กำโบล ๒ก. ลูบ, ลูบคลำ, ลูบไล้, เช่น ฤๅอาจกำโบลปิยุทร์นงเยาว์ ฤๅอาจอุกเอา กระมลยุคลมามือ (สรรพ-สิทธิ์), คำโบล ก็ใช้.
เกลี้ย(เกฺลี้ย) ก. ชักชวน, ทำให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย (ตะเลงพ่าย).
นาคราชแผลงฤทธิ์ ๑น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๘ คำ บังคับซ้ำเสียงพยัญชนะ ๓ คำ คือ คำท้ายวรรค (คำที่ ๖, ๗ และ ๘) กับ ๓ คำต้นวรรคถัดไป (คำที่ ๑, ๒ และ ๓) และซ้ำเสียงสระวรรคละ ๓ คู่ ในคำที่ ๓ กับ ๔ คำที่ ๕ กับ ๗ และคำที่ ๘ กับคำที่ ๑ ในวรรคถัดไป เช่น กรุงกระษัตริย์ตรัสฟังแค้นคั่งจิตร คิดแค้นใจไหวหวิดในจิตรฉงน จนฉงายกายไฉงใจร้อนรน จนร้าวราญการกระมลจิตรวนเวียน (ศิริวิบุลกิตติ์).

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top