Function point analysis | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Functional equation | สมการเชิงฟังก์ชัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
สมการเชิงฟังก์ชัน | Equation of state [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Spectrum | สเปกตรัม, กราฟหรือแถบแสดงความเข้มของรังสีที่เป็นฟังก์ชันกับความยาวคลื่น พลังงาน ความถี่ โมเมนตัม มวล หรือปริมาณอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับรังสีนั้น, Example: [นิวเคลียร์] |
function key | แป้นฟังก์ชัน, Example: แป้นจำนวนหนึ่งบนแป้นพิมพ์ที่ติดชื่อว่า F1, F2, F3... [คอมพิวเตอร์] |
ฟังก์ชัน | เซตของคู่ลำดับโดยที่คู่ลำดับทุกคู่ไม่มีสมาชิกตัวหน้าซ้ำกัน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ฟังก์ชั่น [คำที่มักเขียนผิด] |
Analytic functions | ฟังก์ชันวิเคราะห์ [TU Subject Heading] |
Functions | ฟังก์ชัน [TU Subject Heading] |
Functions of complex variables | ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน [TU Subject Heading] |
Consumption function | ฟังก์ชันการบริโภค [เศรษฐศาสตร์] |
Production function | ฟังก์ชันการผลิต [เศรษฐศาสตร์] |
Creep | การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (deformation) ของยางเป็นฟังก์ชันของเวลาภายใต้แรงกระทำคงที่ ยางที่มี creep ต่ำ แสดงถึงความยืดหยุ่น (elastic) ที่ค่อนข้างมากของยางนั้น [เทคโนโลยียาง] |
Stress relaxation | การลดลงของความเค้นเป็นฟังก์ชันกับเวลา ณ จุดที่ยางได้รับความเครียดคงที่ ยางที่มี stress relaxation ต่ำ แสดงถึงความยืดหยุ่น (elastic) ที่ค่อนข้างมากของยางนั้น [เทคโนโลยียาง] |
Functional Group | หมู่ฟังก์ชันนัล, หมู่สำคัญในการทำงาน, หมู่ฟังก์ชัน, หมู่ฟังชัน, หมู่ฟังชั่นนาล, หมู่ฟังก์ชันนอล [การแพทย์] |
calculus | แคลคูลัส, วิชาคณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์ของฟังก์ชัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trigonometry | ตรีโกณมิติ, วิชาที่ว่าด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติ และความสัมพันธ์ระหว่างมุมและด้านของรูปสามเหลี่ยม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
function | ฟังก์ชัน, ความสัมพันธ์หรือเซตของคู่อันดับซึ่งในสองคู่อันดับใด ๆ ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้วสมาชิกตัวหลังต้องเหมือนกันด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
quadratic function | ฟังก์ชันกำลังสอง, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ a ¹ 0 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
step function | ฟังก์ชันขั้นบันได, ฟังก์ชันที่มีค่าคงตัวเป็นช่วง ๆ และกราฟของฟังก์ชันมีลักษณะคล้ายขั้นบันได [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
constant function | ฟังก์ชันคงตัว, ฟังก์ชันที่เขียนได้ในรูป f(x) = c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute value function | ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูปค่าสัมบูรณ์ เช่น f(x) = |x - c| เมื่อ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cosine function | ฟังก์ชันโคไซน์, ฟังก์ชันตรีโกณมิติชนิดหนึ่ง เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ cosine θ = x โดยที่ θ เป็นจำนวนจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
function from A into B | ฟังก์ชันจาก A ไป B, ฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนเป็นเซต A และเรนจ์เป็นสับเซตของเซต B [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
function from A onto B | ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B, ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซต A และเรนจ์เป็นเซต B [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
linear function | ฟังก์ชันเชิงเส้น, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริง เช่น f(x) = 2x + 3 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sine function | ฟังก์ชันไซน์, ฟังก์ชันตรีโกณมิติชนิดหนึ่ง อาจนิยามโดยอาศัยวงกลมหนึ่งหน่วยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ sine q = y โดยที่ q เป็นจำนวนจริงที่แทนด้วยความยาวของส่วนโค้งที่วัดจากจุด (1, 0) บนวงกลมหนึ่งหน่วย ไปตามส่วนโค้งของวงกลม(โดยคิดทิศทาง) และมี (x, y) เป็นจุดปลายของส่วนโค้งที่ย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
trigonometric function | ฟังก์ชันตรีโกณมิติ, ฟังก์ชันในเซตของจำนวนจริงสามารถใช้วงกลมหนึ่งหน่วยเป็นหลักในการนิยาม เช่น ฟังก์ชันไซน์ ฟังก์ชันโคไซน์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
composite function | ฟังก์ชันประกอบ, ฟังก์ชันใหม่ที่สร้างขึ้นจาก 2 ฟังก์ชันเดิมคือ f และ g เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ g o f และ (g o f)(x) = g (f(x)) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
polynomial function | ฟังก์ชันพหุนาม, ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = anxn + an-1xn-1 + ... + a2x2+ a1x+ a0 โดยมีเงื่อนไขว่า an, an-1 , ..., a2, a1, a0 เป็นจำนวนจริง และ n เป็นจำนวนเต็มซึ่งมากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
algebraic function | ฟังก์ชันพีชคณิต, ฟังก์ชันที่ค่าของฟังก์ชัน เขียนในรูปสัญลักษณ์ทางพืชคณิต ที่ประกอบด้วยค่าคงตัว ตัวแปร และเครื่องหมาย บวก ลบ คูณ หาร กรณฑ์ กำลัง เช่น y = 2x + 1 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
increasing function | ฟังก์ชันเพิ่ม, ฟังก์ชัน y = f(x) จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มเมื่อค่าของ x เพิ่มขึ้น ค่าของ y จะเพิ่มขึ้น เช่น y = 3x + 1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
decreasing function | ฟังก์ชันลด, ฟังก์ชัน y = f(x) จะเป็นฟังก์ชันลด เมื่อค่าของฟังก์ชันหรือ f(x) ลดลง ขณะที่ค่าของ x เพิ่มขึ้น เช่น f(x) = 1/x [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
logarithmic function | ฟังก์ชันลอการิทึม, ฟังก์ชันที่เขียนในรูป y = logax เมื่อ x เป็นจำนวนจริงบวกและ a เป็นจำนวนจริงบวกที่ไม่เท่ากับ 1 logax อ่านว่า ลอการิทึมของเอกซ์ฐานเอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
one-to-one function | ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง, y = f(x) จะเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ถ้า f(x1) = f(x2) แล้ว x1 = x2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
transcendental function | ฟังก์ชันอดิสัย, ฟังก์ชันใด ๆ ที่ไม่เป็นฟังก์ชันพีชคณิต เช่น ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันลอการิทึม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
inverse function | ฟังก์ชันผกผัน, ฟังก์ชันที่ได้จากการสลับที่สมาชิกตัวหน้าและตัวหลังในแต่ละคู่อันดับของความสัมพันธ์ที่เป็นฟังก์ชัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
exponential function | ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล (ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง), ฟังก์ชันที่สามารถเขียนได้ในรูป y = ax เมื่อ a > 0 และ a ¹ 1 เช่น y = 2x [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
differential equation | สมการเชิงอนุพันธ์, สมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันและอนุพันธ์ของฟังก์ชัน เช่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
derivative of a function | อนุพันธ์ของฟังก์ชัน, อนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ที่ x หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของ f(x) เทียบกับ x ในขณะใด ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
parameter | พารามิเตอร์, ชื่อที่ถูกอ้างถึงในส่วนหัวของฟังก์ชันหรือโปรแกรมย่อย ซึ่งจะถูกแทนที่ด้วยค่าที่ฟังก์ชันผู้เรียกส่งผ่านมาให้ ในขณะที่มีการเรียกใช้ฟังก์ชันหรือโปรแกรมย่อยนั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |