ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การขอ, -การขอ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ packing list | เอกสารแสดงรายการบรรจุหีบห่อที่ผู้ขายจัดทำให้ผู้ซื้อ คล้ายกับ บัญชีราคาสินค้าของผู้ขาย (Commercial Invoice) เพียงแต่ไม่มีราคาสินค้าแสดงไว้ มีแต่รายการของปริมาณ น้ำหนักเฉพาะสินค้า และน้ำหนักรวมของแต่ละหีบห่อกำกับไว้ | sugar' syndrome | (n) Sugar' Syndrome = เป็นอาการของคนที่มักมองคนที่พิการทางร่างกายว่าจะต้องมีอาการพิการทางสมองไปด้วยและไม่เคยถามกันซึ่งๆหน้า (physically disabled people assumed to be mentally disabled too and never asked directly) |
|
| PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
| | กงการ | น. กิจการ, หน้าที่, ธุระ, เช่น กงการอะไรของคุณ ไม่ใช่กงการของฉัน. | กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. | กบดาน | ก. นอนพังพาบกับพื้นใต้นํ้า เป็นอาการของจระเข้, โดยปริยายหมายถึงหลบซ่อนตัวไม่ออกมา. | กรรมสัมปาทิก | บุคคลที่ได้รับเลือกหรือแต่งตั้งให้ทำหน้าที่กรรมการของสมาคม. | กระทำ ๒ | ก. ใช้เวทมนตร์ทำให้ผู้ใดผู้หนึ่งเป็นไปตามต้องการของตน มีให้รักหรือให้ป่วยเจ็บเป็นต้น เช่นว่า กระทำยำเยีย, การถูกเวทมนตร์เช่นนี้ เรียกว่า ถูกกระทำ. | กระเพื่อม | ก. อาการของสิ่งเหลวหรือนุ่มที่ไหวขึ้น ๆ ลง ๆ เช่น นํ้ากระเพื่อม. | กระหมุบกระหมิบ | ก. หมุบหมิบ, อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง, เช่น ทำปากกระหมุบกระหมิบ สวดมนต์กระหมุบกระหมิบ. | กริยา | (กฺริยา, กะริยา) น. คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม. | กรุ่น | (กฺรุ่น) ว. อาการของไฟที่ยังไม่ดับแต่ไม่ถึงกับลุกโพลง เช่น ไฟติดกรุ่นอยู่, โดยปริยายหมายความว่า ยังเหลืออยู่บ้าง, มีเรื่อย ๆ อยู่, เช่น ควันกรุ่น หอมกรุ่น | การคลัง | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ. | การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. | กินหน้า, กินหลัง, กินหาง | ว. ลักษณาการของว่าวที่สายซุงบนสั้น เรียกว่า กินหน้า, ที่สายซุงบนยาว เรียกว่า กินหลัง, ที่เสียหางตัวเอง เรียกว่า กินหาง. | เกรียม | (เกฺรียม) ว. เกือบไหม้, ลักษณะอาการของสิ่งบางอย่างที่ถูกความร้อนมีไฟเป็นต้นเผาจนเปลี่ยนสีเป็นสีนํ้าตาลเป็นต้น เช่น ทอดปลาจนเกรียม ถูกแดดเผาจนหน้าเกรียม, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เป็นทุกข์จนหน้าเกรียม. | ขนหย็อง | น. ขนหัวตั้งชัน ตัวลีบ หางตก เป็นอาการของไก่หรือนกที่รู้สึกกลัวไม่กล้าสู้. ก. โดยปริยายใช้แก่คนที่ไม่กล้าสู้, กลัว. | ขมุบขมิบ | (ขะหฺมุบขะหฺมิบ) ก. อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง, เช่น ทำปากขมุบขมิบ สวดมนต์ขมุบขมิบ, กระหมุบกระหมิบ หรือ หมุบหมิบ ก็ว่า. | ข้อบังคับของบริษัท | น. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทจำกัด เช่น การออกหุ้นและการโอนหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น. | เข้าข้อ | น. อาการของโรคชนิดหนึ่งให้เมื่อยขัดอยู่ในข้อ | คณะกรรมาธิการร่วมกัน | น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย. | คะนอง | เรียกอาการของฟ้าที่มีเสียงลั่นเปรี้ยง ๆ ว่า ฟ้าคะนอง. | ค่าธรรมเนียม | น. เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่เรียกเก็บตามกฎหมาย เนื่องจากการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ เช่น ค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมการส่งออกตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน. | คาย ๑ | โดยปริยายใช้หมายถึงอาการของสิ่งที่ติดแน่นเลื่อนออกจากที่เดิม เช่น เรือคายหมัน ลูกประสักคายตัว, เปิดเผย, แสดงออก, เช่น คายความลับ. | โครงการพระดาบส | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มีสถานที่สอนความรู้วิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิชาช่างไฟฟ้า วิชาช่างเครื่องยนต์ วิชาช่างวิทยุโทรทัศน์ ให้แก่บุคคลทั่วไป โดยไม่จำกัด เพศ วัย และวุฒิการศึกษา โดยครูที่มีความรู้และยินดีอาสาสมัครสอนให้เป็นวิทยาทาน เปรียบเสมือนพระดาบสในสมัยโบราณที่มีกุศลศรัทธาที่จะถ่ายทอดศิลปศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ เริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส และจัดตั้งเป็นมูลนิธิพระดาบสเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของโครงการพระดาบส และกิจการของโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส. | ใคร่ | ใช้เป็นคำช่วยกริยาแสดงการขอร้องอย่างสุภาพ เช่น ใคร่ขออนุญาตดำเนินการ. | งอ | ก. ทำให้มีรูปหรือเป็นเช่นนั้น, เรียกอาการของคนที่หัวเราะจนตัวงอ ว่า หัวเราะงอ. | งอนหง่อ | ว. คู้ตัวงอตัว เป็นอาการของคนที่กลัวมากหรือหนาวมากเป็นต้น. | งาบ ๆ | ว. อาการที่อ้าปากแล้วหุบปาก, อาการที่หายใจทางปาก (เป็นอาการของคนและสัตว์ที่เหนื่อยหอบหรือใกล้จะตาย), พะงาบ พะงาบ ๆ ปะงาบ หรือ ปะงาบ ๆ ก็ว่า. [ ไทขาว งาบ ว่า อ้า, งาบสบ ว่า อ้าปาก (เพื่อหายใจ) ]. | จั๊กเดียม | (จั๊กกะ-) ก. กระดาก, เขินอาย, อาการของคนที่รู้สึกเมื่อถูกจั๊กจี้, มักใช้เข้าคู่กับคำ จั๊กจี้ เป็น จั๊กจี้จั๊กเดียม. | จาม ๒ | ก. อาการของลมที่พุ่งออกมาทางจมูกและปาก มักจะเป็นห้วง ๆ ในทันทีทันใดโดยไม่ตั้งใจ เพราะเกิดระคายเคืองในจมูก | จิก ๑ | ก. กิริยาที่เอาจะงอยปากสับอย่างอาการของนกเป็นต้น, กิริยาที่เอาสิ่งมีปลายคมหรือแหลมกดลงพอให้ติดอยู่ เช่น เอาเล็บจิกให้เป็นรอย เอาปลายเท้าจิกดินให้อยู่ | จิกปีก | ก. งงจนไม่รู้จะทำอะไรได้ (มาจากอาการของไก่ที่ถูกตีจนงงแล้วเอาปากจิกปีกตัวเอง). | จิตวิทยา | (จิดตะ-, จิด-) น. วิชาว่าด้วยจิต, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยปรากฏการณ์ พฤติกรรม และกระบวนการของจิต. | จินตกวี | น. กวีผู้มีความสามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดและจินตนาการของตนเอง. | เจือสม | ก. มีความสอดคล้องหรือสนับสนุนให้น่าเชื่อ เช่น คำให้การของพยานโจทก์กับพยานจำเลยเจือสมกัน. | ฉุย | อาการของควันที่พลุ่งขึ้นมาเรื่อย ๆ เช่น ควันฉุย | เฉียบพลัน | ว. อาการที่เริ่มอย่างรวดเร็วและรุนแรงมาก (มักใช้แก่อาการของโรค) เช่น หัวใจวายเฉียบพลัน. | แฉ่ง | ว. ใช้ประกอบอาการของยิ้มหรือหน้าที่ร่าเริงเบิกบาน เช่น ยิ้มแฉ่ง หน้าแฉ่ง. | แฉลบ ๑ | (ฉะแหฺลบ) ก. อาการของสิ่งแบน ๆ เคลื่อนเฉไปเฉมาไม่ตรงแนวทาง เช่น ว่าวแฉลบ ร่อนกระเบื้องให้แฉลบไปตามผิวน้ำ. | ชาติพันธุ์ | (ชาดติพัน) น. กลุ่มที่มีพันธะเกี่ยวข้องกัน และที่แสดงเอกลักษณ์ออกมา โดยการผูกพันลักษณาการของเชื้อชาติและสัญชาติเข้าด้วยกัน. | ช้ำรั่ว | น. ชื่ออาการของโรคอย่างหนึ่ง เกิดจากความผิดปรกติของกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะเป็นต้น ทำให้ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้เหมือนคนปรกติ นํ้าปัสสาวะอาจไหลออกเป็นครั้งคราวหรือตลอดเวลาก็ได้. | ญัตติ | ข้อเสนอเพื่อให้มีการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดในกิจการของสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ | ฎีกา | ใบแจ้งการขอเบิกเงินจากคลัง | ตรีทูต ๒ | น. ลักษณะบอกอาการของคนเจ็บหนักใกล้จะตาย. | ตีปลาหน้าไซ | ก. พูดหรือทำให้กิจการของผู้อื่นซึ่งกำลังดำเนินไปด้วยดีกลับเสียไป. | ทวัตดึงสาการ | น. อาการของร่างกาย ๓๒ อย่าง มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น. | ทะเบียนบ้าน | น. ทะเบียนประจำบ้านแต่ละบ้านซึ่งแสดงเลขประจำบ้านและรายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน. | ท่าอากาศยาน | น. ที่สำหรับเครื่องบินขึ้นลง ประกอบด้วยลานจอดเครื่องบิน ลู่เครื่องบินขึ้นลง โรงเก็บอุปกรณ์การบิน หอบังคับการบิน ที่ทำการของเจ้าหน้าที่ และที่พักผู้โดยสารเข้าออกเป็นต้น, (ปาก) สนามบิน. | ทำปลา | ก. ทำปลาให้สะอาดด้วยการขอดเกล็ด ผ่าท้องเอาไส้พุงออกเป็นต้นให้เหมาะแก่การปรุงอาหาร. | ทำเนียบ ๑ | น. ที่พักทางราชการของผู้มีตำแหน่งสูง เช่น ทำเนียบผู้สำเร็จราชการ, ที่ทำการของคณะรัฐบาล เรียกว่า ทำเนียบรัฐบาล. | แทรกแซง | ก. แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น. | นายเวร | น. นายตำรวจชั้นสัญญาบัตร มีหน้าที่เป็นเลขานุการของผู้ที่มีตำแหน่งสูงกว่าตน เช่น นายเวรผู้บังคับการ นายเวรผู้บัญชาการ หรือเป็นหัวหน้าปกครองเจ้าหน้าที่เสมียนพนักงานในบังคับบัญชาเป็นต้น |
| parliamentary committee | คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | public hearing; hearing | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | privatization | การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | referendum | การขอประชามติ, การลงประชามติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | requisition | ๑. การเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก (สิ่งที่ต้องการ)๓. การขอให้ส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | requisition, military | ๑. การเรียกเกณฑ์ทางทหาร๒. การขอเบิกทางทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | set operation | การดำเนินการของเซต [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | organic law | กฎหมายจัดระเบียบองค์การของรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | osseous defect | ๑. ความวิการของกระดูก๒. กระดูกวิการ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | Ombudsman | ผู้ตรวจการของรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Ombudsman | ผู้ตรวจการของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | ontogeny | พัฒนาการของพืช [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] | osteotrophy | โภชนาการของกระดูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | apology | การขอขมาโทษ, การขออภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | affidavit of documents | การขอให้แสดงเอกสารเกี่ยวกับคดีต่อศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | asynergia; asynergy | การเสียสหการของอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | asynergy; asynergia | การเสียสหการของอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | arrest of inquest | การขอให้ยับยั้งการพิจารณาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arrest of judgment | การขอให้ยับยั้งการพิพากษาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | military requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์ทางทหาร๒. การขอเบิกทางทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | compulsory process | การขอให้ศาลออกหมายเรียกบุคคล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | defect, osseous | ๑. ความวิการของกระดูก๒. กระดูกวิการ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] | deposition | ๑. การให้พ้นจากตำแหน่ง๒. การให้การของพยาน, คำให้การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | depostition | การให้การของพยาน, คำให้การ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | exchange area | พื้นที่บริการของชุมสาย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | expert evidence; expert testimony | คำให้การของพยานผู้เชี่ยวชาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | expert testimony; expert evidence | คำให้การของพยานผู้เชี่ยวชาญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | inspection of documents | การขอตรวจดูเอกสาร (โดยคู่ความ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | transcript | ๑. บทสำเนา, ใบสำเนา, ใบแสดงผลการศึกษา๒. คำให้การของพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | tender of performance | การขอปฏิบัติชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | hearing, public; hearing | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | hearing; hearing, public | ๑. การให้มาชี้แจง (ต่อคณะกรรมาธิการของสภา)๒. การสืบพยาน๓. การฟังความคิดเห็นของประชาชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Library hour | เวลาเปิดทำการของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | พระบรมราชโองการ | คำสั่งราชการของพระราชา [ศัพท์พระราชพิธี] | Special monitoring | การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์] | Action research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] | Field research | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยแบบมีส่วนร่วม เน้นการปฏิบัติและมีการร่วมมือ ใช้การทำงานเป็นกลุ่ม ผู้ร่วมวิจัยทุกคนมีส่วนสำคัญและมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกกระบวนการของการวิจัย ทั้งการเสนอความคิดเชิงทฤษฎี และการปฏิบัติ ตลอดจนการวางนโยบายการวิจัย [Assistive Technology] | interactive learning | การเรียนแบบโต้ตอบสองทาง, การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนตามความต้องการของตนเอง ตรงข้ามกับการสอนในชั้นเรียนซึ่งมักจะเป็นการสื่อสารข้างเดียว [Assistive Technology] | Apologizing | การขอโทษ [TU Subject Heading] | Arrest (Police methods) | การจับกุม (วิธีการของตำรวจ) [TU Subject Heading] | Arrest of judgment | การขอให้ยับยั้งการพิพากษาคดี [TU Subject Heading] | Charging systems (Libraries) | ระบบค่าบริการของห้องสมุด [TU Subject Heading] | Child development | พัฒนาการของเด็ก [TU Subject Heading] | Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] | Deinstitutionalization | การลดการพึ่งพิงบริการของรัฐ [TU Subject Heading] | Hospital care | บริการของโรงพยาบาล [TU Subject Heading] | Human development | พัฒนาการของมนุษย์ [TU Subject Heading] | Human evolution | วิวัฒนาการของมนุษย์ [TU Subject Heading] | Library catalogs | รายการของห้องสมุด [TU Subject Heading] | Police services for juveniles | บริการของตำรวจสำหรับเยาวชน [TU Subject Heading] | Police services for the mentally ill | บริการของตำรวจสำหรับผู้ป่วยโรคจิต [TU Subject Heading] | Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Public services (Libraries) | บริการของห้องสมุด [TU Subject Heading] | Social evolution | วิวัฒนาการของสังคม [TU Subject Heading] | Tax refunds | การขอคืนภาษี [TU Subject Heading] | Waste Management Model | แบบจำลองการจัดการของเสีย [สิ่งแวดล้อม] | Waste Management Facilities | โรงจัดการของเสีย, เครื่องมือ, Example: โรงงานและอุปกรณ์ต่างๆ ในการจัดการของเสีย [สิ่งแวดล้อม] | Waste Management License | ใบอนุญาตจัดการของเสีย [สิ่งแวดล้อม] | Waste Management | การจัดการของเสีย, Example: การจัดการของเสียตามขั้นตอนทั้งหมด ตั้งแต่การเกิดการโยกย้าย เก็บ ขนส่ง บำบัด การทิ้งขั้นสุดท้าย รวมทั้ง Duty of Care [สิ่งแวดล้อม] | Hazardous Waste Management | การจัดการของเสียที่เป็นอันตราย, Example: กิจกรรมใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการของเสียที่เป็นอันตราย ได้แก่ การลดปริมาณ (Minimization) การวิเคราะห์ (Analysis) การคัดแยก (Segregation) การเก็บรวบรวม (Storage) การเก็บขน (Collection) การขนส่ง (Transportation) การขนถ่าย (Transfer) การบำบัด (treatment) การกำจัด (Disposal) รวมทั้งการนำกลับมาใช้ประโยชน์ (Recycling) ตลอดจนกิจรรมอื่นที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาของเสียที่เป็นอันตราย [สิ่งแวดล้อม] | African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] | Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] | ASEAN Food Security Reserve Board | คณะกรรมการสำรองอาหารเพื่อความมั่นคงแห่งภูมิภาคอาเซียน เป็นกลไกประสานด้านการสำรองอาหารเพื่อความมั่นคงของภูมิภาค จัดตั้งขึ้นตามหลักการของปฏิญญาความสมานฉันท์แห่งอาเซียน 2514 [การทูต] | Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | Bangkok Plan of Action | แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด [การทูต] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | ASEAN Coordinating Committee on Services | คณะกรรมการประสานงานด้านบริการของอาเซียน [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consulate | ตัวอาคารสถานที่ทำการของกงสุล และคณะเจ้าหน้าที่ทางกงสุล คำนี้อย่าเข้าใจปะปนกับคำว่า ?Chancery? ซึ่งหมายถึงอาคารสถานที่ทำการของเอกอัครราชทูตและคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ของตน [การทูต] | Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] | Credential หรือ Letter of Credence | เอกสารทางราชการที่ประมุขของประเทศเป็นผู้ลงนาม ในเอกสารนั้น ประมุขของประเทศจะกล่าวยกย่องตัวทูตต่อประมุขของรัฐที่ผู้ที่เป็นทูตไปประจำ อยู่ (รัฐผู้รับ) ภาษาที่ใช้ในเอกสารจะเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนหรูหรา และกล่าวถึงคุณสมบัติของทูตอย่างสูงส่ง แล้วลงท้ายด้วยการขอให้ความเชื่อถือแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทูตอาจจะกล่าวใน นามของรัฐบาลของตน [การทูต] | Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] | DP.1 (Entry Form for Customs Clearance) | แบบฟอร์มการขอยกเว้นภาษีนำเข้าของผู้มีเอกสิทธิ์ทางการทูต [การทูต] | entourage | คณะผู้ติดตามทางการของแขกผู้มาเยือน [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | food security | ความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต] | Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | HABITAT | ดูที่ UNCHF = ศูนย์เพื่อการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ ทำหน้าที่เป็นสำนักเลขาธิการของคณะกรรมาธิการว่าด้วยการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ (Commission on Human Settlements) ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงานกิจกรรมการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ของสหประชา ชาติที่เน้นในเรื่องที่พักพิง (shelter) และบริการทางสังคม การจัดการเมือง สิ่งแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน และการประเมิน ติดตามข่าวสารข้อมูลทางด้านการตั้งถิ่นฐานมนุษย์ [การทูต] |
| His editor. | บรรณาธิการของเขา Basic Instinct (1992) | Killing Irena and telling Dr. Green she was planning to do it that was the riskiest thing she could do. | ฆ่าเออเรน่าและบอก ดร. กรีน เกี่ยวกับแผนการของเธอ... ...ว่ามันเป็นสิ่งที่เสี่ยงภัยที่สุด ที่เธอจะทำได้ Basic Instinct (1992) | My pen creates stories of a world that might have been- a world of my imagining. | ปากกาก่อสร้างเป็นเรื่องราว ของโลก ว่ามันคงจะเป็นแบบใด โลกในจินตนาการของดิฉัน Wuthering Heights (1992) | They want to suppress my work! | พวกนั้นจะยุบโครงการของฉัน! The Lawnmower Man (1992) | It's an essential step for us to determine... certain covert sector applications for Angelo's work. | มันเป็นสิ่งที่เราต้องการจะรู้.. ..ถ้าอยากจะให้ โครงการของแอนเจโลดำเนินต่อไป The Lawnmower Man (1992) | Man may evolve a thousandfold through this technology... but the rush must be tempered with wisdom. | แต่ก็อาจช่วยแก้ปัญหา นับพันประการของเทคโนโลยีสมัยนี้ แต่ทั้งหมด.. ล้วนขึ้นอยู่กับผู้ที่ควบคุมมัน The Lawnmower Man (1992) | He'll get used to your methods, and then he'll clam up. | เขาจะได้รับใช้วิธีการของคุณ แล้วเขาจะหอยขึ้น In the Name of the Father (1993) | - You can read our demands. | - - คุณสามารถอ่านความต้องการของเรา In the Name of the Father (1993) | Society demands that they serve their time. | ความต้องการของสังคม ที่พวกเขาให้บริการเวลาของพวกเข? In the Name of the Father (1993) | She think this too much ask. | เธอคิดว่ามันเป็นการขอร้องที่มากเกินไป The Joy Luck Club (1993) | If I were on his boogie list | - ถ้าฉันอยู่ในรายการของบูกี้ The Nightmare Before Christmas (1993) | I'd hate to see his work go unfinished because of budget constraints. | ฉันไม่อยากเห็นโครงการของเขาถูกยุบเพราะเรื่องงบประมาณ Junior (1994) | Then why would Diana Reddin's account show continuing requisitions... for Expectane components? | แล้วทำไมรายการของไดอานา เรดดิน ถึงมีรายการสิ่งของ สำหรับปรุงยาเอ็กซ์เพกเทนล่ะ Junior (1994) | - Mia. How did Marsellus and her meet? | - Mia อย่างไร Marsellus และตอบสนองความต้องการของเธอ? Pulp Fiction (1994) | Now, look, maybe your method of massage differs from mine. | ตอนนี้ดูอาจจะวิธีการของคุณของการนวดมีความแตกต่างจากเหมือง Pulp Fiction (1994) | - My name's Pitt, and your ass ain't talkin' your way outta this shit. | - ชื่อของฉันของพิตต์และลาของคุณไม่ได้พูด 'วิธีการของคุณ outta อึนี้ Pulp Fiction (1994) | "The path of the righteous man... is beset on all sides by the inequities of the selfish... and the tyranny of evil men. | "เส้นทางของคนชอบธรรม ... จะรุมเร้าทุกด้านโดยไม่เสมอภาคของความเห็นแก่ตัว ... และการปกครองแบบเผด็จการของคนชั่ว Pulp Fiction (1994) | - and the tyranny of evil men. | - และการปกครองแบบเผด็จการของคนชั่ว Pulp Fiction (1994) | "The path of the righteous man is beset on all sides... by the inequities of the selfish... and the tyranny of evil men. | "เส้นทางของคนชอบธรรมถูกรุมเร้าทุกด้าน ... โดยไม่เสมอภาคของความเห็นแก่ตัว ... และการปกครองแบบเผด็จการของคนชั่ว Pulp Fiction (1994) | The truth is, you're the weak... and I'm the tyranny of evil men. | ความจริงก็คือ คุณอ่อนแอ ... และฉันปกครองแบบเผด็จการของคนชั่ว Pulp Fiction (1994) | I don't need your Long Ear handouts. And we were never Friends! | ข้าไม่ต้องการของๆพวกหูยาว และเราไม่เคยเป็นเพื่อนกัน Rapa Nui (1994) | But I will grant these requests, on one condition. | กินวิญญาณเจ้าในนรกชั่วนิรันดร์ แต่ข้าจะอนุมัติการขอของเจ้าโดยมีเงื่อนไข Rapa Nui (1994) | To honor The reign of the new Birdman, Your insolence today! | เพื่อเป็นเกียรติแก่หัวหน้าใหม่ เพราะความอหังการของพวกเจ้าวันนี้ Rapa Nui (1994) | How's that horse of mine doing? | วิธีการของม้าของฉันที่ทำอะไร The Shawshank Redemption (1994) | Bob, how are you doing? How's the wife treating you? | บ๊อบ, วิธีการที่คุณทำอะไร วิธีการของการรักษาภรรยาของคุณได้อย่างไร The Shawshank Redemption (1994) | We trust this will fill your needs. | เราเชื่อว่านี้จะช่วยเติมเต็มความต้องการของคุณ The Shawshank Redemption (1994) | If they ever trace any of those accounts, they're going to wind up chasing a figment of my imagination. | ถ้าพวกเขาเคยติดตามใด ๆ ของบัญชีเหล่านั้น พวกเขากำลังจะลมขึ้นไล่ความฝันของจินตนาการของฉัน The Shawshank Redemption (1994) | Before long, Andy started him on his course requirements. | หลังจากนั้นไม่นานแอนดี้เริ่มเขากับความต้องการของหลักสูตรของเขา The Shawshank Redemption (1994) | The same reason he hung his fantasy girlies on the wall. | เหตุผลเดียวกับที่เขาแขวน girlies จินตนาการของเขาบนผนัง The Shawshank Redemption (1994) | RED: 40 years I've been asking permission to piss. | RED: 40 ปีที่ฉันได้รับการขออนุญาตที่จะฉี่ The Shawshank Redemption (1994) | I could use a good man to help me get my project on wheels. | ฉันสามารถใช้เป็นคนดี จะช่วยให้ฉันได้รับโครงการของฉันบนล้อ The Shawshank Redemption (1994) | He's not suicidal. It was a call for help. | เขาไม่ได้ฆ่าตัวตาย มันเป็นการขอความช่วยเหลือ Don Juan DeMarco (1994) | Linda reads books for a living. She's one of our best editors. | ลินดาชอบอ่านเป็นชีวิตจิตใจ เธอคือหนึ่งในสุดยอดบรรณาธิการของเรา In the Mouth of Madness (1994) | What scares me about Cane's work... is what might happen if reality shared his point of view. | งานของเคนทำให้ฉันกลัวเพราะฉันคิดว่า ความจริงอาจกลายเป็นจินตนาการของเขา In the Mouth of Madness (1994) | Anyone in need of refreshments? | ใครต้องการของว่างบ้าง The Englishman Who Went Up a Hill But Came Down a Mountain (1995) | Dictator of the World! | จอมผเด็จการของโลก The Great Dictator (1940) | Dictator of the World! | จอมผเด็จการของโลก The Great Dictator (1940) | This isn't at all your idea of a proposal, is it? | นี่ไม่ใช่การขอเเต่งงาน อย่างที่คุณวาดภาพไว้เลยใช่มั้ยครับ Rebecca (1940) | The evidence you give will be the truth, the whole truth and nothing but the truth, so help you God? | คำให้การของคุณเป็นความจริง เป็นความจริงทั้งหมด - ไม่ใช่อย่างอื่นนอกจากความจริง Rebecca (1940) | Sorry to drag you back for further questioning, Mr. De Winter. But you've heard the statement of Mr. Tabb. | ผมเสียใจที่ต้องลากคุณเข้ามาสอบถามเพิ่ม แต่คุณก็ได้ยินคําให้การของคุณเเท็บบ์เเล้ว Rebecca (1940) | Actually, he offered to withhold a vital piece of evidence from the inquest if I made it worth his while. | อันที่จริงเขาเสนอจะปกปิดหลักฐานชิ้นสําคัญ ถ้าหากผมสนองความต้องการของเขาได้ Rebecca (1940) | According to the testimony, the boy looks guilty. Maybe he is. | ตามคำให้การของเด็กที่มีลักษณะความผิด บางทีเขาอาจจะ 12 Angry Men (1957) | According to the police testimony, the boy was questioned in the kitchen, while the body of his father was lying in the bedroom. | ตามคำให้การของตำรวจเด็กก็ถามในครัว ในขณะที่ร่างกายของพ่อของเขากำลังนอนอยู่ในห้องนอน 12 Angry Men (1957) | At least he used to carry lists of horses in his pocket at all times. | อย่างน้อยเขาใช้ในการดำเนิน รายการของม้า ในกระเป๋าของเขาตลอดเวลา The Old Man and the Sea (1958) | (Man) Killer of demons, gorge on this flesh, our offering. | นักฆ่าของปีศาจกินเนื้อนี้ ให้บริการของเรา Help! (1965) | How's your equilibrium, Ringo? | วิธีการของสมดุลของ ริงโก้ ? Help! (1965) | ...killer of demons, drink of this vessel, gorge on this blood, our offering... | ดื่มของเรือนี้ กินเลือดนี้ให้บริการของเรา Help! (1965) | We are going onto the wily Pathan and the use of anti-gas carpet. | เป็นเขี้ยวลากดินปาทานตามมา ด้วย การใช้และการจัดการของพรม ป้องกันก๊าซ How I Won the War (1967) | On the approach of a friendly aircraft, the bearer stands in a prominent position and displays the triangle thus. | เกี่ยวกับวิธีการของเครื่องบิน มิตร ผู้ถือยืนอยู่ในตำแหน่งที่โดด เด่น และแสดงรูปสามเหลี่ยมจึง How I Won the War (1967) | Eight, nine... | แปดเก้าวิธีการของทฤษฎีขา ของคุณ How I Won the War (1967) |
| | narcolepsy | (n) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/ | to see a man about a horse | (phrase, slang) เป็นการขอโทษเมื่อต้องการจะออกไปข้างนอก มักพูดเมื่อจะขอตัวไปห้องน้ำ หรือออกไปซื้อเครื่องดื่ม เช่น Can we stop, Simon? I have to see a man about a horse., Syn. to see a man about a dog | post exchange | (n) ร้านค้าสวัสดิการของค่ายทหาร ย่อด้วย PX, Syn. base exchange BX | anthropogenic | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic | homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย | chabad | (n) ย่อมาจากคำว่า Chabad House เป็นสถานนมัสการของชาวยิวนิกาย Chabad Lubavitch ซึ่งมีลักษณะกึ่งโรงแรม, Syn. Synagouge | demand schedule | (n) รายการของปริมาณความต้องการซื้อเทียบกับราคาเสนอซื้อบนเส้นอุปสงค์ซึ่งมักจะอยู่ในรูปของตาราง แต่ก็อาจจะอยู่ในรูปของกราฟก็ได้, Syn. demand curve |
| Afrikaans | (n) ชื่อภาษาราชการของแอฟริกาใต้ | apologetic | (adj) ที่แสดงถึงการขออภัย, See also: ที่แสดงการเสียใจต่อ, Syn. regretful, remorseful, sorry | apology | (n) คำขอโทษ, See also: การขอโทษ, การขอขมา, การขออภัย, Syn. excuse, regrets | application | (n) การขอ, Syn. request, petition | benediction | (n) การขอพรในตอนท้ายพิธีสวด, See also: การอวยพร, การขอบคุณ, Syn. blessing | block | (n) การหยุดชะงักของพัฒนาการของกระบวนการทางความคิดหยุดชะงัก | catechise | (vt) สอนหลักการของศาสนาคริสต์โดยการถามตอบ, Syn. catechize | catechism | (n) คำถามและคำตอบที่ใช้ในการสอนถึงหลักการของศาสนาคริสต์ | catechize | (vt) สอนหลักการของศาสนาคริสต์โดยการถามตอบ, Syn. catechise | champ | (n) ผู้ชนะเลิศ (ใช้ไม่เป็นทางการของคำว่า champion), See also: แชมป์เปี้ยน, Syn. champion, conqueror, winner, Ant. loser | collection | (n) การเรี่ยไรเงิน, See also: การขอบริจาคเงิน, การเก็บเงิน, Syn. solicitation, appeal | courtship | (n) การขอความรัก, Syn. courting, wooing | cry | (n) การเรียกร้องของมวลชน, See also: ความต้องการของมวลชน | found on | (phrv) ตั้งอยู่บนหลักการของ, Syn. base on, found upon, ground on | found upon | (phrv) ตั้งอยู่บนหลักการของ, Syn. base on, found on, ground on | debit | (n) รายการของเงินที่ถูกหักจากบัญชี, See also: เดบิต | denationalise | (vt) ขายกิจการของรัฐให้กับเอกชน, Syn. privatize, Ant. nationalize | denationalize | (vt) ขายกิจการของรัฐให้กับเอกชน, Syn. privatize, Ant. nationalize | deposition | (n) คำให้การของพยาน, Syn. legal evidence | dogmatist | (n) ผู้เชื่อในหลักการของตนเอง, See also: ผู้เชื่อในกฎเกณฑ์ของตนเอง | embryology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของมนุษย์ | enquiry | (n) การสอบถาม, See also: การขอข้อมูล, Syn. query, request | entreaty | (n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, การออดอ้อน, Syn. plea, request, supplication | fieldwork | (n) การทำป้อมปราการของทหาร | gubernatorial | (adj) เกี่ยวกับผู้ว่าการรัฐ (ในสหรัฐอเมริกา), See also: เกี่ยวกับที่ทำการของผู้ว่าการรัฐ, Syn. administrative, governmental | Hitler | (n) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จอมเผด็จการของเยอรมันและเป็น ผู้นำลัทธินาซี (ค.ศ.1889-1945) | Kremlin | (n) พระราชวังเครมลินในเมืองมอสโคว์ (เป็นที่ทำการของรัฐบาลรัสเซีย) | longitudinal | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องพัฒนาการของบุคคลหรือกลุ่มในช่วงเวลาหลายปี | lord | (n) บรรดาศักดิ์อย่างเป็นทางการของพระในคริสตศาสนา | Machiavellianism | (n) การยึดหลักการของ Machiavelli | Machiavellism | (n) การยึดหลักการของ Machiavelli | mail | (vi) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (คำไม่เป็นทางการของ e-mail) | Maoism | (n) ลัทธิเหมาเซตุง, See also: ลัทธิสังคมนิยมของเหมาเซตุงซึ่งยึดถือหลักการของมาร์กซิสและเลนิน, Syn. communism, Marxism-Leninism | may | (aux) สามารถจะ (ใช้แสดงการขออนุญาต), Syn. be permitted, be allowed | mendicancy | (n) การขอทาน, Syn. poverty | mendicant | (adj) ซึ่งดำรงชีวิตด้วยการขอทาน, Syn. alms-seeking | mixed economy | (n) ระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสานระหว่างกิจการของรัฐและเอกชน | ombudsman | (n) ผู้ตรวจการของรัฐสภา, See also: ผู้ตรวจการที่ไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาล | pardon | (n) การขอโทษ, See also: การขอขมา, การกล่าวขอโทษ, การขออภัย | pedology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก | petition | (n) การอ้อนวอน, See also: การสวดอ้อนวอน, การขอร้อง, Syn. appeal, solicitation | phylogenesis | (n) การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต | phylogenetic | (adj) เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต | plea | (n) การขอร้อง, See also: การวิงวอน, Syn. appeal, request | pleadings | (n) การแก้ต่าง, See also: การแก้ตัว, การแก้ฟ้อง, การขอร้อง, การวิงวอน | please | (adv) ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง), See also: กรุณา, โปรด | please | (int) ได้โปรด (ใช้แสดงการขอร้อง), See also: กรุณา, โปรด | polity | (n) แบบการปกครอง, See also: ระบบการปกครอง, องค์การปกครอง, องค์การของรัฐ | postmaster general | (n) ผู้อำนวยการของการไปรษณีย์ | prefecture | (n) ที่ทำการของเจ้าหน้าที่, Syn. officials, directors |
| a la | (อา' ลา) fr. ตามวิธีการของ...... | absolute idea | หลักการที่ว่าขบวนการของโลกเป็นการแสดงออกและบรรลุผล (spiritual principle) | activism | (แอค' ทิฟวิซึม) n. ทฤษฎีที่ว่าความจริงคือการดำเนินการที่บริสุทธิ์โดยเฉพาะทางจิต, ทฤษฎีที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างจิตและวัตถุ การดำเนินการหรือขบวนการของจิต, ลัทธิดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง (essence of reality) | agrobiology | (แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology) | amends | (อะเมนซ') n. การชดเชยค่าเสียหาย, การชดเชย, การฟื้นฟูสภาพเดิม, การขอขมา | amharic | (แอมฮา' ริค, อามฮา' ริค) n. ภาษาราชการของเอธิโอเปีย. -adj. เกี่ยวกับภาษานี้ | amnesiac | (แอมมี' ซิแอค) n. ผู้สูญเสียความจำทั้งหมดหรือบางส่วน. -adj. ซึ่งมีอาการของ amnesia (person affected by amnesia) | annalist | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) | annals | (แอน' นัลซฺ) บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) | apologetic | (อะพอล'ละเจท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการขออภัย, เต็มที่หรือต้องการขออภัย, Syn. regretful, sorry, Ant. unrepentant | apology | (อะพอล'โลจี) n. การขออภัย, การขอโทษ, คำขอโทษหรือขออภัย, Syn. plea, excuse | appetite | (แอพ'พิไททฺ) n. ความอยากอาหารหรือเครื่องดื่ม, ความต้องการของร่างกาย, ความปรารถนา, ความชอบ, Syn. desire, craving, relish, liking, Ant. aversion, distaste | art 2 | (อาร์ทฺ) n. ศิลป, ฝีมือ, อุบาย, เล่ห์กระเท่ห์, เล่ห์เหลี่ยม, ความสามารถ, หลักการหรือวิธีการของการเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญในกิจกรรมของมนุษย์, สาขาวิชาที่เกี่ยวกับศิลปศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, Syn. skill, craft, Ant. artlessness, guilelessness | benediction | (เบนนิดิค'เชิน) n. การให้พร, การขอพร, การอวยพร, การขอบคุณ, พิธีอวยพร, See also: benedictory adj. ให้พร benedictive adj. ให้พร | broad seal | n. ตราราชการของประเทศหรือของรัฐ | by-your-leave | n. การขอขมาที่ไม่ได้ขออนุญาต | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | catholicism | (คะธอล'ลิซิสซึม) n. ศรัทธาระบบและการปฏิบัติการของนิกายคาทอลิก, ความมีใจกว้าง, การแพร่หลาย, การมีอยู่ทั่วไป, Syn. catholicity | chancery | (ชาน'ซะรี) n. ศาลฎีกา, ที่เก็บเอกสารทางราชการ, ที่ทำการของเสนาบดี, ภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออก | church of christ | n. ชื่อทางการของ Christian Science Church | conge | (คอน'เจ) n. การอำลา, การขออนุญาตลาจาก | courtship | (คอร์ท'ชิพ) n. การเกี้ยว, การจีบ, การขอความรัก, ระยะเวลาที่มีการเกี้ยวกัน, การประจบ | deprecatory | (เดพ'ระคะโทรี) adj. เกี่ยวกับการคัดค้าน, เกี่ยวกับการติเตียน, เป็นการขอโทษ, See also: deprecatorily adv. deprecatoriness n | disk operating system | ระบบปฏิบัติการแบบใช้จานโปรแกรมระบบที่ทำหน้าที่สั่งการให้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทำงาน ถ้าจะแปลให้ตรงตัว ก็จะเรียกได้ว่า เป็นระบบปฏิบัติการแบบที่ใช้จานบันทึกข้อมูล เรามักจะใช้คำย่อที่เป็นที่รู้จักกันดีว่า DOS (อ่านว่า ดอส) ส่วนระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกว่า OS อ่านว่า โอเอส (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ประเภทเทียบเคียงกับไอบีเอ็ม (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้ "ดอส" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกันว่าMS-DOS หรือ Microsoft DOS ส่วนระบบปฏิบัติการที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช มีชื่อว่า System 6 หรือ 7 | disoblige | (ดิสอะไบลจ') vt. ไม่สนองความต้องการของ, ผิดใจ, ทำให้ไม่สะดวก., See also: disobligingly adv. | entreaty | (เอนทรี'ที่) n. การขอร้อง, การวิงวอน, คำขอร้อง, คำวิงวอน, คำอ้อนวอน | epileptic | adj., n. (คนที่) เกี่ยวกับอาการของโรคลมบ้าหมู | evocation | (เอฟวะเค'เชิน) n. การเรียกปลุก, การขอร้อง, การเรียก, การกระตุ้นให้เกิดขึ้น, การนำมาซึ่ง | excusatory | adj. ซึ่งเป็นการขอโทษ, ซึ่งเป็นการแสดงความเสียใจ | finder | (ไฟ'เดอะ) n. ผู้ค้นหา, สิ่งที่ใช้ค้นหา, กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล, กล้องดูภาพ, เครื่องวัด, เครื่องตรวจสอบ ตัวหาเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (ดูใน System Folder) ที่ทำหน้าที่จัดการ ในเรื่องสัญรูป (icon) การแสดงรายการต่าง ๆ ตลอดถึงการแสดงวินโดว์ การคัดลอก การย้าย และการลบแฟ้มข้อมูล หากไม่มี โปรแกรมนี้ การทำงานจะช้ากว่านี้ มาก เครื่องแมคอินทอช รุ่นใหม่ ๆ จะแสดงเป็นเมนูดัง ที่เห็นในภาพข้าง ๆ | first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ | good offices | การบริการของผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทอิทธิพล | gramercy | (กระเมอ'ซี่) n. การอุทานแสดงความประหลาดใจ-อารมณ์รุนแรง. n. การขอบคุณ | harmonic mean | ส่วนกลับของค่าเฉลี่ยของผลบวกของส่วนกลับแต่ละรายการของข้อมูลสถิติ | humanly | (ฮิว'มินลี) adv. โดยวิธีการของมนุษย์, เกี่ยวกับมนุษย์ปุถุชน | imamate | (อิมา'เมท) n. ที่ทำการของimam, อาณาเขตการปกครองของ imam | impersonality | (อิมเพอซะแนล' ลิที) n. การขาดลักษณะของมนุษย์, การไม่มีอารมณ์เกี่ยวข้อง, การขาดความห่วงต่อความต้องการของแต่ละบุคคล, การขาดผู้ติดต่อหรือผู้จัดการ, การขาดบุคลิกภาพ | importunity | (อิมพอร์ทู' นิที) n. การรบเร้า, การเรียกร้อง, การพร่ำ, การขอร้องอย่างไม่หยุด | inauguration day | วันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง) | incremental back up | การสำรองเพิ่มขึ้นหมายถึง กระบวนการของการคัดลอกแฟ้มข้อมูล ซึ่งเพิ่งสร้างเสร็จใหม่ ๆ หรือไม่ก็เป็นแฟ้มที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ หลังจากที่ได้คัดลอกทำสำรองไปแล้วชุดหนึ่ง | indicator | (อิน' ดิเคเทอะ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ, Syn. pointer, guide, sign หมายถึง อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวชี้บอกสภาพบางประการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า มีไฟแดงขึ้นที่หน่วยขับจานบันทึก disk drive เพื่อบอกว่าอุปกรณ์ส่วนนี้กำลังทำงาน หรืออาจเป็นสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโผล่ขึ้นบนจอภาพในระหว่างการกระทำการ execution เช่น มีสัญลักษณ์แสดงว่า ข้อมูลล้นหน่วยความจำ overflow เป็นต้น | jain | (ไจน์) n. ผู้ยึดหลักการของJainism | job control program | ชุดคำสั่งควบคุมงานหมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชุดหนึ่ง ที่มีหน้าที่ควบคุมสายงานในการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่อ่านข้อมูลเข้าไปเก็บ กำหนดว่าจะต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดคำสั่งใดบ้าง (เช่น ตัวแปลภาษาใด) กำหนดการเริ่มกระทำการ (execute) และการส่งผลที่คำนวณแล้วไปยังเครื่องพิมพ์ ฯมีความหมายเหมือน job control language | kremlin | (เครม'ลิน) n. ที่ทำการของรัฐบาลรัสเซียในกรุงมอสโก, ราชวังเครมลิน, รัฐบาลรัสเซีย | law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง | layman | (เล'เมิน) n. ฆราวาส (ไม่ใช่สงฆ์) , บุคคลธรรมดา (ไม่ใช่ผู้ชำนาญการของอาชีพ) pl. laymen, Syn. nonprofessional | legate | (เลก'กิท) n. ทูต, ทูตขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูต, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูตขององค์สันตะปาปา, See also: legationary adj. | magnetic ink character re | เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็กใช้ตัวย่อว่า MICR (อ่านว่า เอ็มไอซีอาร์) หมายถึง เครื่องอ่านตัวอักขระที่พิมพ์ด้วยหมึกแม่เหล็ก การอ่านหมึกแม่เหล็กที่ว่านี้ ใช้วิธีอ่านด้วยแสง ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์นำข้อมูลที่อ่านไปเก็บในหน่วยความจำแล้วประมวลผลให้ เหมือนกับการป้อนข้อมูลทางแป้น ส่วนมากใช้อ่านในกิจการของธนาคาร เช่น อ่านเลขที่บัญชีของลูกค้าในสมุดเช็ค เป็นต้น | masterhead | (มาส'เทอะเฮด) n. หัวเสา, ส่วนสูงสุดของเสา, ข้อความระบุชื่อผู้พิมพ์ เจ้าของและกองบรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือสิ่งตีพิมพ์อื่น ๆ , ป้ายชื่อ. vt. ชักขึ้น. adj. สู่ยอดเขา | mendicancy | (เมน'ดะดันซี่) n. การขอทาน, |
| adjuration | (n) การขอร้อง, การอ้อนวอน, การให้คำสัตย์, คำสั่ง | apology | (n) คำขอโทษ, คำขออภัย, คำแก้ตัว, การขอโทษ, การขออภัย | benediction | (n) การขอพร, การอวยพร, การประสาทพร | canvass | (n) การถามสารทุกข์สุขดิบ, การตรวจตรา, การหาเสียง, การขอ | challenge | (n) การท้าทาย, คำท้า, การขอดวล, การร้องถาม | courtship | (n) การจีบ, การเกี้ยวพาราสี, การขอความรัก, การประจบ, การติดผู้หญิง | entreaty | (n) การอ้อนวอน, การวิงวอน, การขอร้อง, การร้องขอ, คำขอร้อง | gratitude | (n) ความกตัญญู, ความรู้คุณ, การขอบคุณ | hysterics | (n) อาการของโรคประสาท, การตีโพยตีพาย | importunity | (n) การคะยั้นคะยอ, การรบเร้า, การเรียกร้อง, การขอร้อง | intercession | (n) การขอร้อง, การร้องขอความกรุณา | invocation | (n) การภาวนา, การขอร้อง, การอุทธรณ์, การเรียกผี | invoice | (vt) ทำรายการของที่ซื้อ, ทำบัญชีใบส่งของ | pontificate | (n) ที่ทำการของสังฆราช, ตำแหน่งสังฆราช | prelacy | (n) ที่ทำการของสังฆราชา, ตำแหน่งพระราชาคณะ | proposal | (n) ข้อเสนอ, การขอแต่งงาน, การเสนอความเห็น, คำขอ | rainmaking | (n) การทำฝนเทียม, การขอฝน | recourse | (n) การพึ่งพา, การขอความช่วยเหลือ | request | (n) คำร้อง, การขอร้อง, คำขอ, การเรียกร้อง, ความต้องการ | see | (n) ที่ทำการของสังฆราชา | solicitation | (n) การวิงวอน, การขอร้อง, การเชื้อเชิญ, การชักชวน, การจูงใจ | summons | (n) หมายศาล, หมายเรียกตัว, การเรียกตัว, การขอร้อง | suppliance | (n) การอุทธรณ์, การขอร้อง, การเรียกร้อง | supplication | (n) การเรียกร้อง, การขอร้อง, การอ้อนวอน, การอุทธรณ์ | tender | (n) การขอให้รับสิ่งที่ให้ | testimony | (n) พยาน, ข้อพิสูจน์, หลักฐาน, บัญญัติ 10 ประการของโมเสส | thanks | (n) การขอบใจ, ความกตัญญู | thanksgiving | (n) การขอบใจ, การสวดมนตร์ขอบคุณพระเจ้า | trust | (n) การดูแลกิจการของผู้อื่น, การพิทักษ์, การปกครอง |
| Airbus | ยี่ห้อเครื่องบินโดยสารยี่ห้อหนึ่ง มีมากมายหลายรุ่น โดยชื่อรุ่น เช่น A320, A380 คำว่า Airbus เป็นเครื่องหมายการค้าและบริการของ Airbus Operations GmbH แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี | Ark of the Covenant | (n) หีบแห่งพันธสัญญา บรรจุบัญญัติสิบประการของพระเจ้าไว้ | Carbonic Anhydrase Inhibitors (CAIs) | เป็นชั้นของยาที่ระงับกิจกรรมของคาร์บอ ในทางการใช้ทางคลินิกได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของโรคต้อหิน, ยาขับปัสสาวะ, ยากันชัก, ในการจัดการของเข่มาภูเขา, กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเป็นแผล, ความผิดปกติของระบบประสาท, หรือโรคกระดูกพรุน | Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง | community enterprise | กิจการของชุมชนเกี่ยวกับการผลิตสินค้า การให้บริการ หรือการอื่น ๆ ที่ดำเนินการโดยคณะบุคคลที่มีความผูกพัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและรวมตัวกันประกอบกิจการดังกล่าว เพื่อสร้างรายได้และเพื่อการพึ่งพาตนเองของครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน | constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " | customize | (vt) ทำตามความต้องการของเจ้าของหรือผู้ซื้อ | judicial conference | (n) สภาตุลาการของสหรัฐ | sdiox | (n, jargon, uniq) สมการของความกวนที่สุดในโลก, เกย์บ้าเทคโนโลยี | serve the needs | (vt) ตอบสนองความต้องการของ |
| 官邸 | [かんてい, kantei] (n) ทำเนียบ, บ้านพักอย่างเป็นทางการของผู้นำประเทศ |
| 願い | [ねがい, negai] การขอร้อง คำขอร้อง | 特採申請 | [とくさいしんせい, tokusaishinsei] (n) การขออนุญาิตลูกค้าส่งของในกรณีพิเศษ | 更年期 | [こうねんき, kounenki] (n) วัยทอง (อาการของคนในวัยหมดประจำเดือน) | 提議 | [ていぎ, teigi] (n) n. การเสนอ, ข้อเสนอ, แผน, โครงการ, การขอแต่งงาน, | 症候群 | [しょうこうぐん, shoukougun] กลุ่มอาการของโรค, See also: R. syndrome |
| 公社 | [こうしゃ, kousha] TH: กิจการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ |
| Lastschrift | (n) |die, pl. Lastschriften| รายการของเงินที่ถูกหักจากบัญชี, See also: A. Gutschrift | zweifeln | (vi) |zweifelte, hat gezweifelt, an etw.(D)/jmdm.| สงสัย, เคลือบแคลง เช่น Die Polizei hat an der Aussage des Zeugen gezweifelt. ตำรวจสงสัยคำให้การของพยาน | Staatsanwaltschaft | (n) |die, pl. Staatsanwaltschaften| สำนักงานอัยการของรัฐ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |