parliament | (n) รัฐสภา, Syn. House of Commons |
parliamentary | (adj) เกี่ยวกับรัฐสภา, Syn. governmental, administrative |
parliamentarian | (n) สมาชิกรัฐสภา, Syn. legislator |
parliamentarian | (n) ผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการและขั้นตอนปฎิบัติงานของรัฐสภา |
parliament | (พาร์'ละเมนท) n. สภา, รัฐสภา, See also: parliamentary adj. |
parliamentarian | (พาร์ลิเมนแท'เรียน) n. สมาชิกรัฐสภา |
parliamentary | (พาร์ละเมน'ทะรี) adj. เกี่ยวกับรัฐสภา |
parliamentary train | n. ขบวนรถไฟที่คิดค่าโดยสารถูก |
unparliamentary | (อันพาร์ละเมน'ทะรี) adj. ขัดกับวิธีการหรือระเบียบของรัฐสภา. |
parliament | (n) รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ |
parliamentary | (adj) เกี่ยวกับรัฐสภา, ของรัฐสภา, ซึ่งมีรัฐสภา |
parliament | รัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliament | รัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
parliament chamber | ที่ประชุมรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliament, Act of | พระราชบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliament, legislative supremacy of | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliamentarian | ๑. ผู้นิยมระบอบรัฐสภา๒. สมาชิกรัฐสภา๓. ผู้เชี่ยวชาญการรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliamentary absenteeism | การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parliamentary committee | คณะกรรมาธิการของสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
Parliamentary practice | กฎและระเบียบปฏิบัติทางการนิติบัญญัติ [TU Subject Heading] |
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เกี่ยวกับรัฐสภา | [kīokap ratthasaphā] (adj) EN: parliamentary FR: parlementaire |
ระบบรัฐสภา | [rabop ratthasaphā] (n, exp) EN: parliamentary system FR: régime parlementaire [ m ] |
รัฐสภา | [ratthasaphā] (n) EN: parliament ; congress FR: parlement [ m ] ; congrès [ m ] |
parliament | |
parliaments | |
parliament's | |
parliamentary | |
parliamentary | |
parliamentarian | |
parliamentarians | |
parliamentarianism | |
parliamentarianism |
parliament | |
parliaments | |
parliamentary | |
parliamentarian | |
parliamentarians |
parliament | (n) a legislative assembly in certain countries |
parliamentarian | (n) an elected member of the British Parliament: a member of the House of Commons, Syn. Member of Parliament |
parliamentarian | (n) an expert in parliamentary rules and procedures |
parliamentary | (adj) relating to or having the nature of a parliament |
parliamentary | (adj) having the supreme legislative power resting with a body of cabinet ministers chosen from and responsible to the legislature or parliament |
parliamentary | (adj) in accord with rules and customs of a legislative or deliberative assembly |
parliamentary agent | (n) a person who is employed to look after the affairs of businesses that are affected by legislation of the British Parliament |
parliamentary democracy | (n) a democracy having a parliament |
parliamentary monarchy | (n) a monarchy having a parliament |
Parliament | n. [ OE. parlement, F. parlement, fr. parler to speak; cf. LL. parlamentum, parliamentum. See Parley. ] But first they held their parliament. Rom. of R. [ 1913 Webster ] They made request that it might be lawful for them to summon a parliament of Gauls. Golding. [ 1913 Webster ] ☞ Thought the sovereign is a constituting branch of Parliament, the word is generally used to denote the three estates named above. [ 1913 Webster ]
|
Parliamental | a. Parliamentary. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Parliamentarian | a. Of or pertaining to Parliament. Wood. [ 1913 Webster ] |
Parliamentarian | n. |
Parliamentarily | adv. In a parliamentary manner. [ 1913 Webster ] |
Parliamentary | a. [ Cf. F. parlementaire. ] [ 1913 Webster ]
|
国会 | [国 会 / 國 會] parliament; Congress; diet #5,003 [Add to Longdo] |
议会 | [议 会 / 議 會] parliament; legislative assembly #5,486 [Add to Longdo] |
议院 | [议 院 / 議 院] parliament; legislative assembly #43,682 [Add to Longdo] |
议会制 | [议 会 制 / 議 會 制] parliamentary system #85,822 [Add to Longdo] |
英国国会 | [英 国 国 会 / 英 國 國 會] parliament of the United Kingdom [Add to Longdo] |
議員 | [ぎいん, giin] (n) member of the Diet, congress or parliament; (P) #510 [Add to Longdo] |
議会 | [ぎかい, gikai] (n) Diet; congress; parliament; (P) #1,285 [Add to Longdo] |
国会 | [こっかい, kokkai] (n, adj-no) (abbr) National Diet; parliament; congress; (P) #2,275 [Add to Longdo] |
議席 | [ぎせき, giseki] (n) parliamentary seat; (P) #4,488 [Add to Longdo] |
法令 | [ほうれい, hourei] (n, adj-no) laws and ordinances; acts (of parliament, congress, etc.); (P) #5,034 [Add to Longdo] |
召集 | [しょうしゅう, shoushuu] (n, vs) convening; calling together (e.g. parliament); (P) #13,304 [Add to Longdo] |
議事 | [ぎじ, giji] (n) proceedings (e.g. parliament, congress); business (of the day); (P) #13,560 [Add to Longdo] |
議院 | [ぎいん, giin] (n) congress or parliament; (P) #15,553 [Add to Longdo] |
政務次官 | [せいむじかん, seimujikan] (n) parliamentary vice-minister; (P) #18,106 [Add to Longdo] |
両院 | [りょういん, ryouin] (n) both Houses of Parliament; (P) #19,632 [Add to Longdo] |
Time: 0.7126 seconds, cache age: 6.595 (clear)