27 ผลลัพธ์ สำหรับ สุญญากาศ
ภาษา
หรือค้นหา: -สุญญากาศ-, *สุญญากาศ*NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สุญญากาศ | (adj) vacuum, Syn. สุญญากาศ, Example: เครื่องมือผลิตรังสีเอกซ์เป็นหลอดแก้วสูญญากาศรูปผลชมพู่ เรียกชื่อว่าหลอดรังสี หรือหลอดเอกซเรย์, Thai Definition: ที่ไม่มีอากาศ |
สุญญากาศ | (n) space, Example: เสียงเคลื่อนที่ผ่านสุญญากาศไม่ได้, Thai Definition: ที่ที่ไม่มีอากาศอยู่เลย |
สุญญากาศ | (adj) space, See also: airless, Example: เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์, Thai Definition: ลักษณะที่ไม่มีอากาศอยู่เลย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
สุญญากาศ | (สุนยากาด) น. ที่ที่ไม่มีอากาศ เช่น อยู่ในสุญญากาศ. |
สุญญากาศ | (สุนยากาด) ว. ที่ไม่มีอากาศ เช่น ขวดสุญญากาศ หลอดสุญญากาศ. |
สุญญากาศ | ดู สุญ, สุญ-, สุญญ-. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
vacuum | สุญญากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Vacuum | สุญญากาศ [TU Subject Heading] |
vacuum | สุญญากาศ, ที่ว่างซึ่งมีความดันแก๊สต่ำ กล่าวคือ ยังคงมีโมเลกุลของแก๊สอยู่เล็กน้อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
สุญญากาศ | [sunyākāt] (n) EN: vacuum FR: vacuum [ m ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
vacuum | (n) สุญญากาศ, See also: บริเวณที่ไม่มีอากาศ, Syn. blankness, emptiness, rarefaction |
Hope Dictionary
cupping | n. การใช้ถ้วยดูดเลือด (โดยทำให้เกิดสุญญากาศในถ้วย) |
first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ |
second generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ |
tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0203 seconds, cache age: 1.533 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม