206 ผลลัพธ์ สำหรับ *ํ*
ภาษา
หรือค้นหา: ํ, -ํ-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ | [ชุ-ติ-กาญน์ ศรี-วิ-บูลย์] (n, name) รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รับมอบยาฟ้าทะลายโจร จํานวน ๕๐๐ ขวด จากคุณปรินดา ตั้งวิรุฬธรรม ผู้จัดการบริษัทฉมา แอ็สเซ็ท ในวันศุกร์ที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เพื่อนําไปใช้ในการดูแลสุขภาพของบุคลากร และประชาชนทั่วไปในคลินิคแพทย์แผนไทยวังสวนสุนันทา |
นีร์ | [(นีระ-)] น. นํ้า. นีร- (นีระ-) น. นํ้า. นีรจร น. ปลาหรือสัตว์นํ้าอื่น ๆ. นีรช, นีรชะ (-รด, -ระชะ) น. บัว. นีรนาท ก. กึกก้อง เช่น ปฐพีนีรนาทหวาดไหว (คำพากย์), เนียรนาท ก็ใช้. |
Longdo Unapproved TH - TH-DHAMMA
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หงส์ | (n) หํส |
หงส์ | (n) หํส (น. ปุ.) เสตจฺฉท (น. ปุ.) ธตรฏฺฐ (น. ปุ.) |
หงส์ | (n) หํส (น.ปุ.), เสตจฺฉท (น.ปุ.), ธตรฏฺฐ (น.ปุ.) |
หงส์ขาว | น. ปากหํส (ปุ.), เสตหํส (ปุ.) |
หม่น | ค. อนาวิล, มลิน, มลีน, กิลินฺน, ลูข, อุปกิลิฏฺฐ, อีสํกณฺห, See also: S. หม่นหมอง, หม่นไหม้ |
Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ | [หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ |
Longdo Unapproved TH-DHAMMA - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หํส | [หัง-สะ] (n, (ปุ)) หงส์ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ลํ้าค่า | (adj) precious, See also: priceless, invaluable, Syn. สูงค่า |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระแสนํ้า | น. สายนํ้า. |
กกช้าง | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Typha angustifolia</i> L. ในวงศ์ Typhaceae ขึ้นในนํ้า ช่อดอกคล้ายธูปขนาดใหญ่, กกธูป ธูปฤๅษี ปรือ หรือ เฟื้อ ก็เรียก. |
กงวาน | น. กงที่มีรูสำหรับนํ้าเดินที่ท้องเรือ เช่น สำเภาลำใดของพาณิชซึ่งจะตกแต่งต่อติดเป็นกงวาน (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กฐิน, กฐิน- | คำ <b><i>กฐิน </i></b> นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า <b><i>ผ้ากฐิน </i></b> ในฤดูกาลเรียกว่า <b><i>กฐินกาล </i></b> [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่า<b><i>เทศกาลกฐิน </i></b>[ เทดสะกานกะถิน ] <b><i>ฤดูกฐิน </i></b> หรือ <b><i>หน้ากฐิน </i></b> ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า <b><i>จองกฐิน </i></b> การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า <b><i>ทอดกฐิน </i></b>พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า <b><i>ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน </i></b> หรือ <b><i>องค์ครองกฐิน </i></b>เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า <b><i>องค์กฐิน </i></b>ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า <b><i>เครื่องกฐิน </i></b>หรือ <b><i>บริวารกฐิน </i></b>[ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า <b><i>แห่กฐิน </i></b>ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า <b><i>ฉลองกฐิน </i></b> การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า <b><i>อนุโมทนากฐิน </i></b>[ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น <b><i>ผู้กรานกฐิน </i></b> ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า <b><i>อานิสงส์กฐิน </i></b>, ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า <b><i>อานิสงส์กฐิน </i></b>เช่นกัน. <i> (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน)</i>. |
กด ๒ | น. ชื่อปลาไม่มีเกล็ด มีหนวด หลายชนิด หลายขนาด ครีบหลังตอนแรกและครีบอกมีก้านครีบเป็นเงี่ยง ครีบหลังตอนที่ ๒ เป็นครีบไขมัน ส่วนใหญ่เป็นสกุล <i> Arius</i> ในวงศ์ Ariidae พบมากในเขตนํ้ากร่อย เช่น กดแดงหรือกดหัวโม่ง (<i> A. caelatus</i>Valencienne<i> s</i>) บางชนิดพบในทะเล เช่น กดทะเลหรือริวกิว [ <i> A</i>.<i> thalassinus</i> (Rüppell) ], ที่อยู่ในสกุล <i> Ketengus</i> ได้แก่ กดหัวโต (<i> K. typus</i>Bleeker), ในสกุล <i> Hemipimelodus</i> เช่น กดโป๊ะ [ <i> H. borneensis</i> (Bleeker) ]. |
กด ๒ | ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดในสกุล <i> Hemibagrus</i> วงศ์ Bagridae ลักษณะทั่วไปคล้ายกด (๑) เช่น กดเหลือง ชงโลง หรือ กดขาว [ <i> H. nemurus</i> (Valenciennes) ] กดคัง [ <i> H. wyckii</i> (Bleeker) ]. |
กดน้ำ | ก. ใช้กำลังกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มิดลงไปในนํ้า ในความว่า จับกดน้ำ จับหัวกดน้ำ. |
กน ๒ | ก. มัว, คอย, เฝ้า, เช่น จะกนกินแต่นํ้าตาอนาทร (นิ. ลอนดอน). |
ก้นปล่อง | น. ชื่อยุงในสกุล <i> Anopheles</i> วงศ์ Culicidae ที่พบทั่วไป เช่น ชนิด <i> A. dirus</i> Peyton & Harrison, <i> A. minimus</i>Theobald, <i> A. maculatus</i> Theobald ยุงเหล่านี้เวลาเกาะหรือดูดเลือดคนหรือสัตว์ หัวจะปักลง ก้นชี้ขึ้น ผนังด้านล่างของส่วนท้องไม่มีเกล็ด ทั้งเพศผู้และเพศเมียมีรยางค์ปากยื่นยาวออกมา ๑ คู่ ทำให้เหมือนกับมีปากเป็นสามแฉก เพศเมียดูดเลือดและบางชนิดเป็นพาหะในการนำโรคมาสู่คนและสัตว์ เช่น ไข้มาลาเรีย เพศผู้กินนํ้าหรือนํ้าหวานจากเกสรดอกไม้. |
กบดาน | ก. นอนพังพาบกับพื้นใต้นํ้า เป็นอาการของจระเข้, โดยปริยายหมายถึงหลบซ่อนตัวไม่ออกมา. |
ก้ม | ก. ทำให้ตํ่าลงโดยอาการน้อม (ใช้เฉพาะ หัว หน้า และหลัง) เช่น ก้มหัว ก้มหน้า ก้มหลัง. |
กมณฑลาภิเษก | (กะมนทะ-) น. หม้อนํ้าสรง เช่น อนนเต็มในกมณฑลาภิเษก (ม. คำหลวง มหาราช). |
กมณฑโลทก | (กะมนทะ-) น. นํ้าในหม้อ เช่น ชำระพระองค์ด้วยกมณฑโลทก (ม. คำหลวง มหาราช). |
กมัณฑลุ | (กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค). |
กรณฑ์ ๑ | (กฺรน) น. ภาชนะมีฝาปิด, ภาชนะใส่นํ้า เช่น หม้อกรณฑ์, กรัณฑ์ หรือ กรัณฑก ก็เรียก |
กรด ๑ | มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกำหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเจนไอออน (H+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้ |
กรด ๒ | (กฺรด) ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม. |
กรด ๓ | (กฺรด) น. ชื่อไม้เถาชนิด <i> Combretum</i><i> tetralophum</i> C. B. Clarke ในวงศ์ Combretaceae มักขึ้นในที่นํ้าท่วม เช่น ตามฝั่งนํ้าลำคลอง ใบโดยมากออกรอบข้อ ๒ หรือ ๓ ใบ ใบอ่อนสีม่วงดำ เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเขียว ผลมีสันแข็งเป็น ๔ ครีบ, เถาวัลย์กรด ก็เรียก |
กรด ๔ | (กฺรด) น. ภาชนะใส่นํ้าเทพมนตร์ของพราหมณ์ ลักษณะเหมือนคนโทมีฝาปิด มีพวยอย่างกานํ้า. |
กรรเชียง | (กัน-) น. เครื่องพุ้ยนํ้าให้เรือเคลื่อนไป รูปคล้ายแจวแต่ไม่มีหมวกแจว พาดกับหูกรรเชียงบนหลักที่อยู่ข้างแคมเรือข้างละอันคู่กัน ใช้เหนี่ยวด้ามให้พุ้ยน้ำ, ใช้ว่า กระเชียง ก็มี, ท่าว่ายน้ำโดยนอนหงายแล้วใช้แขนทั้ง ๒ พุ้ยน้ำให้ตัวเลื่อนไป, ตีกรรเชียง ก็ว่า. ก. กิริยาที่นั่งหันหน้าไปทางท้ายเรือแล้วใช้มือเหนี่ยวกรรเชียงพุ้ยน้ำให้เรือเคลื่อนไป, ตีกรรเชียง ก็ว่า. |
กรวด ๓ | (กฺรวด) ก. หลั่งนํ้า เช่น นํ้าพระเต้าสิโตทกธารามารดริน กรวดลงในมืออินทพฤฒาจารย์ (ม. กาพย์ สักบรรพ). |
กรวดน้ำ | ก. แผ่ส่วนบุญด้วยวิธีหลั่งนํ้า. |
กรวย ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด <i> Horsfieldia irya</i> (Gaertn.) Warb. ในวงศ์ Myristicaceae ขึ้นตามฝั่งนํ้าลำคลอง ใบเป็นมันคล้ายใบจำปี แต่เรียวและนิ่มกว่า ดอกสีเหลือง ผลกลมเป็นพวงคล้ายมะไฟ, กรวยบ้าน ก็เรียก. |
กร้อ | น. เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ (โคลงกวี), สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. |
กรอก ๒ | (กฺรอก-) น. ชื่อนกยางขนาดเล็ก ในวงศ์ Ardeidae นอกฤดูผสมพันธุ์เพศผู้และเพศเมียสีลำตัวคล้ายกัน แต่ในฤดูผสมพันธุ์สีต่างกัน ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ ยางกรอกพันธุ์จีน [ <i> Ardeola bacchus</i> (Bonaparte) ] หัวสีนํ้าตาลแดง หลังสีเทาดำ อกสีแดง ยางกรอกพันธุ์ชวา [ <i> A. speciosa</i> (Horsfield) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีเทาดำ อกสีเหลือง และยางกรอกพันธุ์อินเดีย [ <i> A. grayii</i> (Sykes) ] หัวและคอสีเหลือง หลังสีแดงเข้ม อกสีน้ำตาลเหลือง กินปลาและสัตว์น้ำ. |
กรอง ๒ | (กฺรอง) ก. เอาของละเอียดออกจากของหยาบ เช่น กรองทราย, เอาฝุ่นละอองหรือของสกปรกออก เช่น กรองน้ำมัน กรองอากาศ, ใช้เครื่องกรองมีผ้าเป็นต้น คัดเอาผงหรือกากออกจากนํ้าหรือสิ่งที่เป็นน้ำ เช่น กรองน้ำ กรองกะทิ. |
กรอม ๒ | (กฺรอม) ว. ระทม, เจ็บชํ้าอยู่ภายในเรื่อยไป, เช่น กรอมใจ. |
กร่อม ๑, กร่อม ๆ | ว. ช้า ๆ เงื่อง ๆ แต่ทำเรื่อยไป (มักใช้แก่การเดิน พายเรือ หรือลุยนํ้า) เช่น เดินกร่อม ๆ กรำฝนฟ้า พายเรือกร่อม ๆ. |
กระ ๑ | น. ชื่อเต่าทะเลขนาดใหญ่ชนิด <i> Eretmochelys</i><i> imbricata</i> Rüppell ในวงศ์ Cheloniidae ปากยาวงุ้มคล้ายปากเหยี่ยว หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ ซ้อนเหลื่อมกันอย่างกระเบื้องมุงหลังคา สีนํ้าตาลลายเหลือง ขาแบนเป็นพาย มีไข่กลมเปลือกนิ่มเหนียว เรียก ไข่จะละเม็ด ไข่ตามหาดทรายครั้งละ ๑๕๐-๒๕๐ ฟอง. |
กระ ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด <i> Elateriospermum tapos</i> Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae ผลกลมมี ๓ พู เปลือกแข็ง เมื่อแก่สีคลํ้าเกือบดำ เมล็ดรูปยาวรี เปลือกแข็งเป็นมันสีนํ้าตาลเข้ม ภายในมีเนื้อขาว ๒ กลีบประกบกัน เมื่อดิบมีพิษร้ายแรง ดองหรือคั่วแล้วกินได้ รสมัน เรียกว่า ลูกกระ ปักษ์ใต้และมลายูเรียก ประ. |
กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. |
กระเกลือก | ก. เกลือกไปมา เช่น กลํ่าตากระเลือก กระเกลือกกลอกตากลม (ลอ). |
กระจกนูน | น. วัตถุที่มีผิวมัน ลักษณะกลีบบัวควํ่า สะท้อนแสงให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งมองเห็นได้ที่ผิวกระจกนั้น. |
กระจ้อน ๑ | น. ชื่อกระรอกชนิด <i> Menetes berdmorei</i> (Blyth) ในวงศ์ Sciuridae ขนสีนํ้าตาล มีลายสีดำและนํ้าตาลอ่อนตามยาวข้าง ๆ ตัว หางเป็นพวง มักวิ่งหากินตามพื้นดิน, จ้อน ก็เรียก. |
กระจัง ๒ | น. ชื่อปลานํ้ากร่อยชนิด <i> Periophthalmodon</i><i> schlosseri</i> (Pallas) ในวงศ์ Gobiidae พบในบริเวณป่าชายเลน รูปร่าง การเคลื่อนไหว และความสามารถขึ้นมาพ้นนํ้าได้คล้ายปลาจุมพรวดซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า มีครีบอกเป็นกล้ามเนื้อใช้ต่างตีน ช่วยครีบหาง ทำรูลึกอยู่ในเลน เคลื่อนไหวได้รวดเร็วบนผิวเลนและผิวนํ้า ปีนเกาะบนที่ชันและกระโจนเป็นห้วง ๆ ได้ ขนาดยาวได้ถึง ๒๗ เซนติเมตร, กะจัง ก็เรียก. |
กระจับ ๑ | น. ชื่อไม้นํ้าหลายชนิดในสกุล <i> Trapa</i> วงศ์ Trapaceae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้าโดยอาศัยก้านใบเป็นทุ่น ฝักแก่สีดำแข็ง มี ๒ เขา คล้ายเขาควาย เนื้อในขาว รสหวานมัน |
กระจับบก | น. ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งขึ้นในป่าตํ่าตามที่นํ้าท่วม มักขึ้นปะปนกับเถากรด ซึ่งดูผาด ๆ คล้ายคลึงกัน ใบคู่ ขอบใบตอนบนที่ใกล้หรือติดกับก้านมีต่อมข้างละต่อม ผลนัยว่าแบน ๆ รูปสามเหลี่ยม ไม้ใช้ทำฟืน. |
กระจายนะมณฑล | น. ชื่อกลบท วรรคต้นใช้อักษรสูงนำหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรตํ่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กำจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา (ชุมนุมตำรากลอน). |
กระแจะ ๒ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด <i> Naringi</i><i> crenulata</i> (Roxb.) Nicolson ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ต้นและกิ่งมีหนามเปลือกขรุขระสีเทา ดอกเล็กสีขาวเป็นช่อสั้น ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร กลิ่นหอมอ่อน ท่อนไม้ฝนกับนํ้าใช้เป็นเครื่องประทิ่นผิว รากใช้ทำยา, กะแจะ ขะแจะ ตุมตัง หรือ พญายา ก็เรียก. |
กระฉอก | ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเพื่อมอย่างแรงหรือล้นหกเพราะความสั่นสะเทือน, (ปาก) กระดอนหรือกระเด้ง เช่น ลูกบอลกระฉอกออกจากมือผู้รักษาประตู. |
กระฉีก | น. ของหวานทำด้วยมะพร้าวทึนทึกขูด กวนกับนํ้าตาลปึกให้เข้ากันจนเหนียว อบด้วยควันเทียนอบให้หอม ใช้เป็นไส้หรือหน้าขนม เรียกว่า หน้ากระฉีก เช่น ขนมใส่ไส้มีไส้เป็นหน้ากระฉีก ข้าวเหนียวหน้ากระฉีก. |
กระเฉด | น. ชื่อไม้นํ้าชนิด <i> Neptunia oleracea</i> Lour. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นลอยอยู่ในนํ้า ลำต้นอ่อนอุ้มน้ำ มีปลอกเป็นปุยขาว ๆ เป็นทุ่น เรียกว่า นม ใบย่อยเล็กเมื่อถูกสัมผัสก็หุบราบไป ดอกสีเหลืองเล็กออกชิดกันเป็นช่อกลม ลำต้นและใบใช้เป็นอาหารได้, พายัพเรียก ผักหนอง, คำสุภาพเรียกว่า ผักรู้นอน. |
กระแฉ่น | ก. ดังสนั่น เช่น ฟ้ากระแฉ่นเรือนผยองช่วยดู (แช่งนํ้า). |
กระชัง ๒ | น. เครื่องสำหรับขังปลาชนิดหนึ่ง ใช้ไม้ไผ่ทำเป็นกง ๔ อัน แล้วผูกด้วยซี่ไม้ไผ่โดยรอบ รูปกลม หัวท้ายเรียว ตอนบนเจาะเป็นช่อง มีฝาปิด ใช้ไม้ขัดฝา ๒ ข้าง ใช้ไม้ไผ่กระหนาบเพื่อให้ลอยได้ ในขณะออกไปจับปลาตามกรํ่า เมื่อจับปลาหรือกุ้งได้ก็เอาใส่ไว้ในนั้นชั่วคราว, อีกชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่ มีปากเปิดกว้างคล้าย ๆ ตะกร้าหรือเข่งใส่ของ แต่ใหญ่กว่ากระชังชั่วคราวนั้นหลายเท่า เป็นที่สำหรับจับปลาขนาดใหญ่มาขังไว้หรือเลี้ยงลูกปลาให้โตตามที่ต้องการ เพื่อบริโภคหรือค้าขาย และเอากระชังนี้ผูกติดหลักแช่ลอยนํ้าไว้. |
กระชัง ๓ | น. นํ้าปัสสาวะแห่งทารก, นํ้าครํ่า, เขียนเป็น กะชัง ก็มี. |
กระชับ ๑ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Xanthium indicum</i> K. Koenig ex Roxb. ในวงศ์ Compositae มักขึ้นเป็นวัชพืชในทุ่งนาและริมนํ้า ลำต้นและใบคาย ใบมนเว้า ขอบจัก โคนใบแหลม ดอกเล็กรวมเป็นกระจุกแน่น ผลรี ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีหนามปลายงอทั่วทั้งผล รากหอมอ่อน ๆ ใช้อบผ้าได้ บางส่วนของไม้นี้ใช้เป็นยาได้ แต่ทั้งต้นเป็นพิษต่อปศุสัตว์, ขี้ครอก หรือ ขี้อ้น ก็เรียก. |
กระชาเดิม | น. ร้านหรือเรือที่ขายเครื่องหอมต่าง ๆ มีแป้งและนํ้าหอมเป็นต้น. |
กระชาย | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด <i> Boesenbergia rotunda</i> (L.) Mansf. ในวงศ์ Zingiberaceae สูงประมาณ ๖๐ เซนติเมตร มีลำต้นอยู่ใต้ดินเป็นหัวกลม ๆ มีรากสะสมอาหาร ซึ่งเรียวยาว อวบนํ้า ออกเป็นกระจุก ใช้เป็นผักและเป็นเครื่องปรุงประกอบอาหาร, พายัพเรียก กะแอน หรือ ละแอน. |
กระเชา | น. ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด<i> Holoptelea integrifolia</i> (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทำเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา หรือ กระจาว, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา. |
กระเช้าผีมด | ชื่อไม้พุ่มอิงอาศัยชนิด <i> Hydnophytum</i><i> formicarum</i> Jack ในวงศ์ Rubiaceae ชอบเกาะไม้ต้นในป่าดิบชื้นใกล้ฝั่งทะเล ลำต้นทรงกลมอวบนํ้า มีรูพรุนภายในเป็นที่อาศัยของมด ส่วนที่เป็นรูพรุนใช้ทำยาได้, หัวร้อยรู ก็เรียก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
academy | สํานักวิชา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Catalog | แค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
เจ้าพนักงานภูษามาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระภูษา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
พนักงานพระมาลา | ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงาน พระมาลา [ศัพท์พระราชพิธี] |
เครื่องสุกำศพ | สิ่งของที่ใช้ในการทําสุกําศพ มีผ้าขาว ด้ายดิบ กระดาษฟาง นํ้ายาฟอร์มาลิน [ศัพท์พระราชพิธี] |
ธงเยาวราชใหญ่ | ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาว รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง [ศัพท์พระราชพิธี] |
สวรรคต | ไปสู่สวรรค์, ตาย, (ใช้ในราชาศัพท์สําหรับพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพระบรมราชวงศ์ที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น). (ส. สฺวรฺค + คต ว่า ไปสู่สวรรค์) [ศัพท์พระราชพิธี] |
ทักษิโณทก | นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือนํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
พวงมาลา | ดอกไม้ที่จัดแต่งขึ้นตามโครงรูปต่าง ๆ เช่น วงกลม วงรี มักมีใบไม้เป็นส่วนประกอบด้วย สําหรับวางที่อนุสาวรีย์ พระบรมรูป หรือศพ เป็นต้น เพื่อเป็นเกียรติหรือแสดงความเคารพ [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] |
ประดิษฐาน | [ ปฺระดิดสะถาน ] ก. ตั้งไว้ (ใช้แก่สิ่งที่เคารพนับถือ) เช่น นําพระพุทธรูปไปประดิษฐานไว้ในโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา, แต่งตั้งไว้ในตําแหน่งสูง เช่น ประดิษฐานไว้ในตําแหน่งอัครมเหสี [ศัพท์พระราชพิธี] |
ประเคน | ก. ถวายของพระโดยวิธียกส่งให้ตามพิธีการที่กําหนดไว้ เช่น ประเคนอาหาร; ส่งให้ถึงมือ (ใช้ในความแดกดัน) เช่น ต้องเอาไปประเคนให้จนถึงที่; (ปาก) ตี เช่น ประเคนกระบาล ๓ ที [ศัพท์พระราชพิธี] |
ประทับ | ก. (ราชา) อยู่ที่, อยู่กับที่, เช่น ประทับที่พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน, (ราชา) นั่ง เช่น ประทับบนพระราชอาสน์; แนบอยู่, แนบชิด, แนบลง, เช่น กอดประทับอก เอาปืนประทับบ่า [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระแท่นแว่นฟ้า | กระจก, เรียกพระแท่นที่ประดับกระจกว่า พระแท่นแว่นฟ้า เรียกพานที่ซ้อนกัน ๒ ชั้น ชนิดหนึ่งประดับมุกหรือกระจกเป็นต้นใบบนเป็นพานทรงสูงซ้อนกันอยู่บนตะลุ่ม อีกชนิดหนึ่งทําด้วยโลหะจําหลักลายกะไหล่ทองใบบนเป็นพานเล็กซ้อนอยู่บนพานใหญ่ว่า พานแว่นฟ้า [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระบุพโพ | [ บุบโพ ] น. นํ้าหนอง, นํ้าเหลือง. (ป. ปุพฺพ) [ศัพท์พระราชพิธี] |
มณฑป | เรือนยอดขนาดใหญ่มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือเป็นรูปตัด มุม หรือย่อไม้แปด ย่อไม้สิบสอง ยอดหลังคาเป็นทรงจอมแห, ใช้ว่า มรฑป ก็มี. (ป., ส.); ขันนํ้าเย็นของพระเจ้าแผ่นดินที่มีฝาเป็นรูปอย่างมณฑป เรียกว่า พระมณฑป [ศัพท์พระราชพิธี] |
อวมงคล | [ อะวะมงคน ] ว. ที่มิใช่มงคล, เรียกงานทําบุญเกี่ยวกับการศพว่า งานอวมงคล. (ป.) [ศัพท์พระราชพิธี] |
พระที่นั่งชุมสาย | เรียกพระที่นั่งสําหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี ประทับในงานต่าง ๆ ของทหาร ลูกเสือ และงานพิเศษบางโอกาส ลักษณะเป็นแท่นสี่เหลี่ยม ดาดด้วยหลังคาผ้าระบาย ๓ ชั้น มีสายไหมห้อย [ศัพท์พระราชพิธี] |
ศราทธพรต | [ สาดทะพฺรด ] น. พิธีทําบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว.(ส. ศฺราทฺธ+ วฺรต) [ศัพท์พระราชพิธี] |
ชาวม่าน | ใช้เรียกเจ้าพนักงานที่ทําหน้าที่ไขพระวิสูตรในงานพระราชพิธีต่าง ๆ [ศัพท์พระราชพิธี] |
protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech recognition | เทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology] |
Cycloserine | ซํยโคลเซอรีน, ไซโคลเซอรีน [การแพทย์] |
Fluid Therapy | การรักษาด้วยสารน้ำ, การบําบัดด้วยสารน้ำ, การรักษาที่ต้องให้น้ำเกลือ [การแพทย์] |
latent heat of vapourisation | ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ, ความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊สหรือไอ เช่น ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของน้ำมีค่าเท่ากับ 2, 256 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 100 ํC ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
latent heat of fusion | ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว, ความร้อนแฝงที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น ความร้อนแฝงจำเพาะของการหลอมเหลวของน้าแข็งมีค่าเท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 0 ํC ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
boiling point | จุดเดือด, อุณหภูมิซึ่งของเหลว มีความดันไอเท่ากับความดันของบรรยากาศรอบ ๆ และของเหลวกำลังเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอ เช่น น้ำบริสุทธิ์ มีจุดเดือด 100 ํ C ที่ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
freezing point | จุดเยือกแข็ง, อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เช่น ที่ความดันปกติ น้ำบริสุทธิ์มีจุดเยือกแข็ง 0 ํC เป็นจุดเดียวกับจุดหลอมเหลวของน้ำแข็ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Celcius | เซสเซียส, หน่วยของอุณหภูมิ ซึ่งเดิมใช้เป็นเซนติเกรด ใช้สัญลักษณ์ ํ C โดยกำหนดให้น้ำมีจุดเยือกแข็งที่ 0 ํ C จุดเดือดที่ 100 ํ C ที่ความดันปกติ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
projectile | โพรเจกไทล์, วัตถุใด ๆ ที่ถูกขว้างหรือถูกยิงออกไป ถ้าวัตถุนั้นถูกยิงออกไปบนพื้นโลกทำมุม q กับแนวระดับ เส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจะเป็นรูปพาราโบ ลา (q < 90 ํ และความเร็วต้นมีค่าน้อยกว่าความเร็วหลุดพ้น) เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ํC | องศาเซลเซียส, สัญลักษณ์ของหน่วยอุณหภูมิ ดู Celcius [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
absolute zero temperature | อุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์, อุณหภูมิ 0 K หรือ -273 ํC ซึ่งตามทฤษฎีจลน์ พลังงานของอนุภาคทั้งระบบจะมีค่าเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
wireless access point | จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย, อุปกรณ์ทําหน้าที่รองรับการเชื่อมโยงการรับส่งข้อมูลสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย ซึ่งข้อมูลจะถูกส่งผ่านทางคลื่นวิทยุความถี่สูง โดยจะต้องใช้งานร่วมกับการ์ดแลนไร้สายที่ติดตั้งอยู่กับคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ เช่น เครื่องพิมพ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Movement, Finely Coordinated | การเคลื่อนไหวที่อาศํยความสัมพันธ์ของอวัยวะ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
–ํ | [yātnāmkhāng] (n) EN: vowel mark –ํ FR: signe vocalique –ํ |
Longdo Approved EN-TH
amnesia | (n) อาการความจําเสื่อม |
amniocentesis | (n) การเจาะนํ้าครํ่าไปตรวจ เช่น Find out about the risks and benefits of amniocentesis during pregnancy. |
cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
100ce | [วันฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ one hundrice |
101ma | [ทีนทิฟอมา] (adj) คําย่อของ twenty forma |
101ma | [ทีนทิฟอมา] (adj) คําย่อของ teenty forma |
101ma | [เท็นทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ tenty forma |
10ce | [เท็นซฺ] (adv) คําย่อของ tence |
1ce | [วันซฺ] (adv) คําย่อของ once |
1ma | [ฟอ'มะ] (adj) คําย่อของ forma |
200ce | [ทุฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ two hundrice |
20ce | [เซเคิน'ไทซฺ] (adv) คําย่อของ secontice |
20ce | [ทเวน'ไทซฺ] (adv) คําย่อของ twentice |
21ma | [เซเคินทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ seconty forma |
21ma | [ทเว็นทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ twenty forma |
22nd | [เซเคินทิเซเคินดฺ] (adj) คําย่อของ seconty second |
22nd | [ทเว็นทิเซเคินดฺ] คําย่อของ twenty second |
23rd | [เซเคินดิเธอด] (adj) คําย่อของ seconty third |
23rd | [ทเว็นดิเธอด] (adj) คําย่อของ twenty third |
2ce | [ทไวซฺ] (adv) คําย่อของ twice |
300ce | [ฑริฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ three hundrice |
30ce | [เธอ'ไทซฺ] (adv) คําย่อของ thirtice |
30ce | [ธเรน'ไทซฺ] (adv) คําย่อของ threntice |
31ma | [เธอทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ thirty forma |
31ma | [เธร็นทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ threnty forma |
32nd | [เธอดิเซเคินดฺ] (adj) คําย่อของ thirty second |
32nd | [เธอดิเซเคินดฺ] (adj) คําย่อของ thirty second |
32nd | [ธเร็นทิเซเคินดฺ] (adj) คําย่อของ threnty second |
33rd | [เธอดิเธอด] (adj) คําย่อของ thirty third |
33rd | [เธร็นดิเธอด] คําย่อของ threnty third |
33rd | [ธเร็นทิเซเธอด] (adj) คําย่อของ threnty third |
33rd | [ธเร็นดิเธอด] (adj) คําย่อของ threnty third |
3ce | [ไธรซฺ] (adv) คําย่อของ thrice |
400ce | [ฟอฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ four hundrice |
40ce | [ฟอไทซฺ] (adv) คําย่อของ fortice |
41ma | [ฟอทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ forty forma |
4ce | [โฟซ] (adv) คําย่อของ fource |
500th | [ไฟฟฺฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ five hundrice |
50ce | (adv) คําย่อของ iftice |
50ce | (adv) คําย่อของ fiftice |
50ce | [ฟิฟไทซฺ] (adv) คําย่อของ ftice |
51ma | [ฟิฟทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ fifty forma |
5ce | [ฟิฟซฺ] (adv) คําย่อของ fifce |
600ce | [ซิคซฺฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ six hundrice |
60ce | [ซิคซฺ'ไทซฺ] (adv) คําย่อของ sixtice |
61ma | [ซิคซฺทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ sixty forma |
6ce | [ซิคซฺ'ซฺ] (adv) คําย่อของ sixce |
6ce | [ซิคซฺ'ซฺ] (adv) คําย่อของ sixce |
700ce | [เซฟเวินฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ seven hundrice |
70ce | [เซฟเวินไทซฺ] (adv) คําย่อของ seventice |
71ma | [เซฟเวินทิฟอมะ] (adj) คําย่อของ seventy forma |
7ce | [เซฟเวินซฺ] (adv) คําย่อของ sevence |
800ce | [เอทฮันไดรซฺ] (adv) คําย่อของ eight hundrice |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
関連 | [かんれん, kanren] TH: ความสัมพัํนธ์ EN: relation |
本当 | [ほんとう, hontou] TH: จริํง EN: truth |
Longdo Approved DE-TH
kochen | (vt) |kochte, gekocht| เตรียมอาหาร, ทําอาหาร, ต้ม(ชา, กาแฟ) |
eiskalt | (adj) เย็นเหมือนนํ้าแข็ง |
Kaufkraft | (n) |die, pl.-| กําลังซื้อ |
Kaution | (n) |die, pl. Kautionen| ค่ามัดจํา (เวลาเช่าบ้านหรือรถ) |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0343 seconds, cache age: 3.504 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม