72 ผลลัพธ์ สำหรับ *โทษที*
ภาษา
หรือค้นหา: โทษที, -โทษที-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ทัณฑ-, ทัณฑ์ | (ทันดะ-, ทันทะ-, ทัน) น. โทษที่เนื่องด้วยความผิด |
ทัณฑกรรม | (ทันดะ-, ทันทะ-) น. การลงโทษ, โทษที่ลงแก่สามเณรที่ประพฤติผิด |
โทษทางวินัย | น. โทษที่ลงแก่บุคลากรขององค์กรซึ่งปฏิบัติฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางวินัยขององค์กรที่กำหนดไว้ เช่น โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก. |
โทษทางอาญา | น. โทษที่ลงแก่ผู้กระทำความผิดอาญา ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญาได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน. |
นิคหกรรม | น. การลงโทษที่สงฆ์ทำแก่ภิกษุที่ควรปราบเพื่อให้เข็ดหลาบ. |
ปรับโทษ | ก. กำหนดโทษที่จะลง. |
เพชฌฆาต | (เพ็ดชะคาด) น. เจ้าหน้าที่ประหารชีวิตนักโทษที่ต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้ประหารชีวิต. |
ราชทัณฑ์ | น. โทษที่กระทำผิดต่อพระมหากษัตริย์, โทษหลวง, เช่น ต้องราชทัณฑ์, เรียกกรมที่มีหน้าที่ลงโทษผู้กระทำผิดตามตัวบทกฎหมายควบคุมอบรมฝึกวิชาชีพให้แก่ผู้กระทำผิด พักการลงโทษและคุมประพฤติ และขอพระราชทานอภัยโทษ ปลดปล่อยและสงเคราะห์ผู้พ้นโทษ เป็นต้น ว่า กรมราชทัณฑ์. |
โลกันตร์ | น. ชื่อนรกขุมหนึ่งเป็นที่ลงโทษที่หนักที่สุดไม่ผุดไม่เกิด. |
ษมายุมแปลง | น. เครื่องขมาโทษที่ชายนำไปคำนับพ่อแม่หญิงเพื่อขอโทษในการที่ลักพาลูกสาวท่านไป. |
อาบัติ | น. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ มี ๗ อย่าง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ ทุพภาษิต มีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. โทษสถานหนัก เรียกว่า ครุโทษ หรือ มหันตโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่ อาบัติปาราชิก ซึ่งเรียกว่า ครุกาบัติ ๒. โทษสถานกลาง เรียกว่า มัชฌิมโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติต้องอยู่กรรมก่อนจึงจะพ้นโทษ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส และ ๓. โทษสถานเบา เรียกว่า ลหุโทษ ทำให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติที่ตํ่ากว่าอาบัติสังฆาทิเสสต้องปลงอาบัติ คือ บอกอาบัติของตนแก่ภิกษุด้วยกัน ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต ซึ่งเรียกว่า ลหุกาบัติ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
stipulated penalty | ๑. เบี้ยปรับที่กำหนด๒. โทษที่กำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
concurrent sentences | คำพิพากษาลงโทษหลายกระทงพร้อมกัน (โดยถือกำหนดโทษที่ยาวที่สุดเป็นเกณฑ์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
sanction | การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น " [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ขอโทษที่... | [khøthōt thī …] (v, exp) EN: apologize for … FR: s'excuser de/pour … |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
chain gang | (n) นักโทษที่ถูกล่ามโซ่ไว้ด้วยกัน (โดยเฉพาะที่ต้องออกไปทำงานนอกคุก) |
hard drug | (n) ยาเสพติดให้โทษที่รุนแรงมาก เช่น เฮโรอีน โคเคน, Ant. soft drug |
parolee | (n) ผู้พ้นโทษก่อนกำหนด, See also: นักโทษที่ถูกปล่อยจากคุกก่อนกำหนด |
trusty | (n) นักโทษที่ได้รับความไว้วางใจ |
Hope Dictionary
commute | (คะมิวทฺ') { commuted, commuting, commutes } vt. เปลี่ยนเป็นอย่างอื่น, แลกเปลี่ยน, สับเปลี่ยน, เปลี่ยนเป็นนักโทษที่เบากว่า vi. เปลี่ยนแทน, ไป ๆ มา ๆ เสมอ, See also: commuter n., Syn. exchange, alter |
transport | (แทรนซฺพอร์ท') vt. ขนส่ง, นำส่ง, ส่ง, ลำเลียง, ขนย้าย, เนรเทศ. n. การขนส่ง, การนำส่ง, การส่ง, การลำเลียง, การขนย้าย, การเนรเทศ, วิธีการขนส่ง, พาหนะขนส่ง, เครื่องบินโดยสาร, เครื่องบินบรรทุก, ระบบขนส่งมวลชน, อารมณ์รุนแรง, นักโทษที่ถูกเนรเทศ., See also: transportable |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0636 seconds, cache age: 1.446 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม