139 ผลลัพธ์ สำหรับ *เสียงพูด*
ภาษา
หรือค้นหา: เสียงพูด, -เสียงพูด-Longdo Unapproved TH-SOUTH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หลำ | [หล๋ำ] (vt) มั่ว, ไม่รู้จริงแต่พูดเหมือนรู้จริง, แสดงอาการเคลื่อนไปข้างหน้าหลวมตัวไปเรื่อย ๆ มีที่มาจากคำว่าถลำ โดยภาษาไทยจะอ่านว่า ถะหฺลํา แต่ภาคใต้เน้นเสียงพูดแบบเร็วๆ จึงควบคำเป็น หลำ และเอามาใช้ในความหมายในเชิงตำหนิ เมื่อมีใครพูดหรือแสดงอาการกระทำบางอย่างที่ไม่รู้จริงแต่ทำเหมือนรู้จริง ก็จะตำหนิว่า หลำ, See also: S. มั่วนิ่ม, เนียน, R. ถลำ, หลำพ่ก, หลำอิตาย, หลำเมร่อ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เสียงพูด | (n) voice, See also: speech, speaking voice, Example: เมื่ออายุ 9-10 เดือน เด็กจะเริ่มเลียนเสียงพูดของคนอื่น, Thai Definition: เสียงที่เกิดจากการพูด |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กล่องเสียง | น. อวัยวะสำคัญในการเปล่งเสียงพูด อยู่บริเวณส่วนบนของหลอดลม. |
กะหนอกะแหน | (-หฺนอ-แหฺน) ว. เสียงพูดอย่างน่าเอ็นดูเหมือนเสียงเด็กพูด. |
ขาน ๑ | ก. ออกเสียงพูดหรือตอบเป็นต้น เช่น ขานยาม ขานรับ. |
คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท |
คำ ๒ | ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคำหนึ่ง, ลักษณนามบอกจำพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคำหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคำกลอน ว่า คำหนึ่ง. |
งึมงำ | ว. เสียงพูดหรือบ่นพึมพำ. |
ชายา ๒ | น. เมีย. (ป., ส.), บางแห่งใช้หมายความว่า ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น บรรหารท่านหา แขกค้าเคียมครร ถามเขาเขาบรรยายโฉมชายา (สรรพสิทธิ์), เสียงพูดเป็น ฉายา ฉัยยา ไฉยา หรือ สายา ก็มี. |
แปร่ง | (แปฺร่ง) ว. มีเสียงพูดผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ, ไม่สนิท. |
แปร่งหู | ว. ผิดเพี้ยนไปจากที่เคยตกลงกันไว้, มีเสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. |
พยัญชนะ | (พะยันชะนะ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก |
วิทยุติดตามตัว | น. การกระตุ้นเตือนผู้พกพาเครื่องรับวิทยุที่ใช้ติดตัวโดยทางคลื่นวิทยุ ซึ่งกระทำผ่านข่ายโทรศัพท์สาธารณะ การกระตุ้นเตือนอาจประกอบด้วยเสียงพูดหรือรหัสที่มองเห็นได้ ซึ่งส่งมาจากผู้กระตุ้นเตือนหรือจากข่ายโทรศัพท์สาธารณะ. |
สระ ๒ | (สะหฺระ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก |
สัญลักษณ์ | (สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. |
สัทศาสตร์ | (สัดทะ-) น. วิชาว่าด้วยการศึกษาธรรมชาติของการออกเสียงและการเปล่งเสียงพูด. |
สำนาน | น. เสียง, เสียงพูด. |
เสียง | น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด |
เสียงแตก | น. เสียงพูดในตอนแตกเนื้อหนุ่ม เช่น เด็กคนนี้พูดเสียงแตก แสดงว่าเริ่มจะเป็นหนุ่มแล้ว |
เสียงปร่า | น. เสียงพูดที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริง, เสียงตอบรับที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ. |
เสียงแปร่ง | น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ. |
เสียงแปร่งหู | น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. |
เสียงพยัญชนะ | น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก. |
เสียงเพี้ยน | น. เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย. |
เสียงสระ | น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก. |
เสียงเหน่อ | น. เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
หงุงหงิง, หงุง ๆ หงิง ๆ | ว. มีเสียงพูดกันเบา ๆ เช่น เด็ก ๆ คุยกันหงุงหงิง หนุ่มสาวคุยกันหงุง ๆ หงิง ๆ. |
เหน่อ | (เหฺน่อ) ว. มีเสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
เอ่ย ๒ | ก. เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
phonation | การเปล่งเสียงพูด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phonation type | ลักษณะเสียงพูด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resonance, vocal | การสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rhinolalia | เสียงพูดจมูกบี้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
breathy voice | เสียงพูดลมแทรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
creaky voice | เสียงพูดต่ำลึก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dyslalia | ภาวะเสียการออกเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
voice recognition | การรู้จำเสียงพูด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
voice recognition | การรู้จำเสียงพูด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
voice | เสียงพูด [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
voice answer back (VAB) | การตอบกลับด้วยเสียงพูด (แว็บ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
vocal resonance | การสั่นพ้องเสียงพูด, การกำธรเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
voice-grade channel | ช่องสัญญาณช่วงระดับเสียงพูด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
voice-grade line | สายสัญญาณช่วงระดับเสียงพูด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
VAB (voice answer back) | แว็บ (การตอบกลับด้วยเสียงพูด) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
whispery voice | เสียงพูดกระซิบก้อง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Automatic speech recognition | การรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech processing systems | ระบบประมวลผลเสียงพูด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech processing system | ระบบประมวลผลเสียงพูด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
speech recognition | การรู้จำเสียงพูด, Example: การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์เสียงพูดว่าผู้พูดหมายถึงอะไร เทียบกับการที่เราได้ยินผู้อื่นพูดแล้วเราทราบว่าเขาต้องการอะไรนั่นเอง [คอมพิวเตอร์] |
voice recognition | การรู้จำเสียงพูด, Example: ระบบที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์เข้าใจคำสั่งเป็นเสียงพูด ระบบนี้ปัจจุบันมีขีดจำกัดตรงที่จำเสียงพูดได้ไม่กี่คำ และอาจจะจำได้เฉพาะของเสียงคนเพียงคนเดียว เสียงพูดของคนแต่ละคนนั้นมีรูปแบบที่แตกต่างกันมาก จนเป้นการยากที่จะพัฒนาระบบรู้จำเสียงพูดที่เก่งเท่ากับคน [คอมพิวเตอร์] |
Augmentative and Alternative Communication Program | ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology] |
Speech recognition | เทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology] |
Speech Viewer | โปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ "มองเห็น" สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology] |
Automatic speech recognition | การรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ [TU Subject Heading] |
Speech processing systems | ระบบการประมวลผลเสียงพูด [TU Subject Heading] |
Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียงพูด [TU Subject Heading] |
Voice training | การฝึกเสียงพูด [TU Subject Heading] |
Acoustic Horn | ลำโพงขยายเสียงพูด [การแพทย์] |
Audiometry, Speech | การตรวจการได้ยินด้วยเสียงพูด, การทดสอบการได้ยินเสียงด้วยคำพูด [การแพทย์] |
Speech regcognition | ซอฟต์แวร์รู้จำเสียงพูด, Example: ซอฟต์แวร์ช่วยให้ผู้ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงพูดแทนการใช้ส่วนของร่างกายในการป้อนคำสั่ง [Assistive Technology] |
analog signal | สัญญาณแอนะล็อก, สัญญาณที่มีขนาดแอมพลิจูดที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด และเสียงดนตรี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เสียงพูด | [sīeng phūt] (n) EN: voice FR: voix [ f ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bleat | (n) เสียงพูดหรือบ่นเบาๆ |
cough down | (phrv) ไอดังๆ เพื่อกลบเสียงพูด |
haw | (n) เสียงพูดแสดงความลังเล, See also: เสียงอ้ำอึ้ง |
peep | (n) เสียงซุบซิบ, See also: เสียงพูดเบาๆ, Syn. murmur |
phone | (n) เสียงพูด |
yatata-yatata | (sl) เสียงพูดไม่หยุด |
segment | (n) เสียงพูด (ทางภาษาศาสตร์), See also: ส่วนของวงกลมที่ถูกตัดออก, ส่วนตัดของรูปวงกลม |
segmental | (adj) เกี่ยวกับเสียงพูด, See also: เกี่ยวกับเสียงที่เปล่งออกมา |
shout about | (phrv) ตะโกนพูด, See also: ตะเบ็งเสียงพูด |
vocal | (adj) ที่เปล่งเสียงพูด, Syn. uttered, Ant. unuttered, unspoken |
vocal | (adj) เกี่ยวกับเสียงพูด |
vocoder | (n) เครื่องกำเนิดเสียงพูด |
voice | (n) เสียงพูด, See also: เสียงที่เปล่งจากปาก, เสียงร้องเพลง, Syn. speech |
voiceful | (adj) ซึ่งมีเสียงร้อง, See also: มีเสียงพูด, เสียงก้อง |
voiceprint | (n) กราฟแสดงลักษณะเสียงพูดของมนุษย์ |
vox | (n) เสียงพูด, Syn. speech |
whisper | (n) การกระซิบ, See also: การส่งเสียงเบาๆ, การส่งเสียงพูดแผ่วเบา |
Hope Dictionary
haw | (ฮอ) n. ผลไม้ของต้นhawthorn vi. ลังเล, อ้ำอึ้ง. n. เสียงพูดแสดงการลังเล, เสียงอ้ำอึ้ง interj. คำอุทานเรียกสัตว์ให้เลี้ยวซ้าย. vt., vi. (ทำให้) หันซ้าย, (ทำให้) เลี้ยวซ้าย |
inflection | (อินเฟลค'เชิน) n. การทำให้งอ, การทำให้โค้ง, การเปลี่ยนแปลง, การเปลี่ยนแปลงเสียงพูด, การผันคำตามบุรุษและพจน์., See also: inflectional adj., Syn. turn, bend |
mumble | (มัม'เบิล) vi. พูดพึมพำ, พูดไม่ชัด vt. พูดพึมพำ, อ้ำอึ้งอยู่ในปาก. n. เสียงพึมพำ, เสียงพูดที่ไม่ชัด, คำพูดอู้อี้., See also: mumbler n. mumblingly adv., Syn. murmur, Ant. speak up |
phonetic | (ฟะเนท'ทิค) adj. เกี่ยวกับเสียงพูด, เกี่ยวกับการออกเสียง, ซึ่งมีการออกเสียงตรงกัน. |
vaporware | เวเพอร์แวร์ <คำอ่าน>หมายถึง ผลิตภัณฑ์สินค้า ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ยังไม่มีการผลิตออกสู่ตลาด จริง ๆ แต่มีการประชาสัมพันธ์ราวกับว่าได้มีการผลิตออกมาเรียบร้อยแล้ว ชักชวนให้เชื่อว่า จะปฏิวัติระบบเก่า ๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ที่สามารถสั่งงานได้ด้วยเสียงพูด แต่จริง ๆ แล้ว กว่าจะผลิตออกขายได้ ยังต้องใช้เวลาพัฒนาอีกนาน |
vocal | (โว'เคิล) adj. เกี่ยวกับเสียงเปล่ง, เกี่ยวกับเสียงพูด, เกี่ยวกับเสียงร้อง, แสดงด้วยวาจา. n. เสียงดังกล่าว, เสียงร้อง., See also: vocally adv. |
vocal cords | n. สายเสียงที่ยื่นเข้าไปในโพรงกล่องเสียง ทำให้เกิดเสียงพูดเสียงร้องได้ |
voice | (วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง |
voiceful | (วอยซฺ'ฟูล) adj. มีเสียงร้อง, มีเสียงพูด, เสียงก้อง |
Nontri Dictionary
phonic | (adj) เกี่ยวกับเสียงพูด |
phonics | (n) วิชาว่าด้วยเสียงพูด |
vocal | (adj) เกี่ยวกับเสียงพูด |
Longdo Approved JP-TH
音声 | [おんせい, onsei] (n) เสียงพูด (ของคน) |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ボーカル | [ぼーかる, bokaru] (adj) (โว'เคิล) adj. เกี่ยวกับเสียงเปล่ง, เกี่ยวกับเสียงพูด, เกี่ยวกับเสียงร้อง, แสดงด้วยวาจา. n. เสียงดังกล่าว, เสียงร้อง., S. . vocally adv. |
Longdo Approved DE-TH
Stimme | (n) |die, pl. Stimmen| เสียงพูด เสียงร้อง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0303 seconds, cache age: 3.836 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม