181 ผลลัพธ์ สำหรับ *เทป*
ภาษา
หรือค้นหา: เทป, -เทป-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เทป | (n) tape, Example: เทปเสียงเพลงกระหึ่มขึ้นเบาๆ กลบเสียงครางของเครื่องยนต์ให้เงียบไป, Count Unit: ม้วน, Thai Definition: เครื่องบันทึกเสียงหรือภาพ |
เทปูน | (v) cement, See also: bond, mortar, plaster, Example: ช่างก่อสร้างกำลังเทปูนเพื่อสร้างถนน |
เทปใส | (n) clear adhesive tape, Notes: (อังกฤษ) |
ถอดเทป | (v) transcribe, Syn. ถ่ายเทป, Example: ผมได้ถอดเทปตามคำพูดทุกคำในนิทาน แม้จะเป็นหยาบโลนหรือคำผวน |
อัดเทป | (v) tape-record, See also: record, Syn. บันทึกเสียง, อัดเสียง, Example: สารวัตรสั่งให้เจ้าหน้าที่อัดเทปคำพูดของเขาไว้ โดยที่เขาไม่รู้ตัว จึงระเบิดอารมณ์เต็มที่ |
บันทึกเทป | (v) record, See also: copy, Syn. อัดเทป, Example: รายการของเขาถูกถอดออกจากผัง หลังจากบันทึกเทปไปแค่ 4 เทปเท่านั้น, Thai Definition: ทำการบันทึกสัญญาณภาพหรือเสียง, ทำให้เรื่องราวยังอยู่ ในรูปสัญญาณภาพหรือเสียง |
เทปกระดาษ | (n) paper tape |
เครื่องเล่นเทป | (n) cassette player |
เครื่องเล่นวีดีโอเทป | (n) video player |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เทปูน | ก. เอาปูนซีเมนต์ ทราย และปูนขาวผสมกับนํ้าแล้วเทให้เป็นพื้น เสา เป็นต้น. |
ตัดต่อ | ก. ตัดฟิล์มภาพยนตร์ เทปบันทึกภาพ เป็นต้น ที่ไม่ติดต่อกัน แล้วนำมาต่อกันเพื่อให้เป็นไปตามที่ต้องการ. |
ปูน ๑ | ปูนซีเมนต์ ในคำเช่น เทปูน โบกปูน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
apparent dip | มุมเทปรากฏ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
apparent plunge | แนวแกนเทปรากฏ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
charge coupled device (CCD) | อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ (ซีซีดี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CCD (charge coupled device) | ซีซีดี (อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Material | วัสดุ, สิ่งของต่างๆ ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน เช่น รูปภาพ บัตรคำ แผนภูมิ ฟิล์มภาพยนต์ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Tape cassette | เทปตลับ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Tape reel | เทปม้วน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Tape cassette | เทปตลับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Tape reel | เทปม้วน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Charge-coupled device | อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
tape drive | เครื่องขับเทปแม่เหล็ก, Example: อุปกรณ์สำหรับใช้บันทึก/อ่านข้อมูลจำนวนมากลงบนเทปแม่เหล็ก เดิมทีนั้นเทปแม่เหล็กได้รับความนิยมสำหรับใช้ในการบันทึกข้อมูลเพื่อให้โปรแกรมอ่านไปใช้งานต่อมาภายหลังเมื่อเครื่องขับจานแม่เหล็กมีราคาถูกลง ความนิยมใช้เทปแม่เหล็กจึงลดน้อยลง ปัจจุบันนี้เรานิยมใช้เทปแม่เหล็กสำรองข้อมูลและโปรแกรมไว้เพื่อนำกลับมาใช้งานเมื่อข้อมูลและโปรแกรมเดิมสูญหายหรือเสียหายไปมากกว่า [คอมพิวเตอร์] |
Cassettes | เทปบันทึกเป็นตลับ, กล่องใส่ฟิล์ม, ตลับ [การแพทย์] |
Duplicate | ทำซ้ำ, ควบคู่กัน, วีดิโออัดเทป [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บันทึกเทป | [bantheukthēp] (n, exp) EN: recording tape FR: bande d'enregistrement [ f ] |
เครื่องเล่นเทป | [khreūang len thēp] (x) EN: tape recorder ; tape deck ; cassette player ; cassette recorder FR: magnétophone [ m ] ; enregistreur à cassettes [ m ] ; enregistreur à bandes [ m ] |
เรดเทป | [rēt-thaēp] (n, exp) EN: red tape |
สก็อตเทป = สกอตเทป | [Sakot Thēp] (tm) EN: Scotch Tape |
ตลับเทป | [talap thēp] (n, exp) EN: tape cassette |
เทป | [thēp] (n) EN: recording tape FR: bande d'enregistrement [ f ] |
เทป | [thēp] (n) EN: adhesive tape FR: ruban adhésif [ m ] ; ruban [ m ] ; sparadrap [ m ] |
เทปบันทึกเสียง | [thēp ban theuk sīeng] (n, exp) EN: recording tape FR: bande d'enregistrement [ f ] |
เทปเหนียว | [thēp nīo] (n, exp) EN: adhesive tape FR: ruban adhésif [ m ] |
วีดีโอเทป | [wīdīōthēp] (n) EN: videotape |
วิทยุเทป | [witthayu thep] (n, exp) EN: radio cassette recorder FR: deck radio-cassette [ m ] ; combiné radio-cassette [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
meal | (n) กาก เช่น peanut meal หรือ soybean meal หมายถึงกากถั่วลิสงที่คั้นเอาน้ำมันออกแล้ว เหลือส่วนที่เป็นผงค่อนข้างหยาบ ใช้ประโยชน์อย่างอื่นอีกมาก เช่นเป็นอาหารสัตว์ สกัดเป็นกาว ทำกระดาษกาว (gummed paper) หรือเทปกาว (gummed tape) |
velcro | (n) ตีนตุ๊กแกที่ใช้ยึดผ้า, เทปหนามเตยซึ่งประกอบด้วยเทปด้านตะขอและเทปด้านเส้นใยคู่กัน |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
action replay | (n) การเปิดเทปให้ดูใหม่อีกครั้ง เช่น ภาพการแข่งขันกีฬา โดยมากมักจะเป็นภาพเคลื่อนไหวช้า ๆ ให้ดูกันใหม่ |
adhesive | (n) สิ่งที่ทำให้ติดอยู่ได้, See also: สิ่งที่ทำให้ของติดกัน เช่น กาว, เทปกาว |
cassette | (n) ตลับเทป, Syn. tape, audio cassette, cassette tape |
cassette player | (n) เครื่องเล่นเทป, Syn. tape recorder |
cassette recorder | (n) เครื่องเล่นและอัดเทป, Syn. tape recorder |
cassette tape | (n) เทปคาสเซท, Syn. cassette, tape |
deck | (n) เครื่องเล่นเทป (ทางอิเล็กทรอนิกส์), See also: เทปเด็ด, เครื่องเล่นเทปที่ไม่มีภาคขยายเสียง, Syn. tape deck |
document | (vt) บันทึกข้อมูลใส่ฟิล์ม เทป หรือเขียน |
dub | (vt) อัดเสียง, See also: อัดเสียงลงบนแผ่นฟิล์ม, อัดเทป |
instant replay | (n) การถ่ายทอด (โทรทัศน์) ซ้ำทันทีหลังจากบันทึกเทปไว้ |
library | (n) การเก็บต้นฉบับ สิ่งพิมพ์ เทป หรือวัสดุในการค้นคว้าวิจัย |
load | (vt) ใส่ดิสก์หรือเทปลงในคอมพิวเตอร์หรือเครื่องเล่น |
magnetic tape | (n) เทปแม่เหล็ก (สำหรับบันทึกเสียง รูปภาพหรือข้อมูลจากคอมพิวเตอร์) |
masking tape | (n) แผ่นเทปปิดคลุมพื้นผิวป้องกันเปื้อนสี |
play | (vt) เล่น (เกม, เครื่องดนตรี, บอล, วิทยุ, เครื่องเล่นเทป) |
play | (vi) เล่น (เกม, เครื่องดนตรี, บอล, วิทยุ, เครื่องเล่นเทป) |
player | (n) เครื่องเล่นจานเสียง, See also: เครื่องเล่นเทป, เครื่องบันทึกเสียง |
play back | (phrv) กรอเทปกลับ, Syn. playback |
record | (vt) บันทึกเทป, Syn. tape-record |
recording | (n) การบันทึก, See also: บันทึก, เทปบันทึก, Syn. documentation, record-keeping |
rewind | (vt) กรอเทปหรือฟิล์มไปที่ต้นม้วน, Syn. play back, rerun |
rewind | (n) การปุ่มกรอเทปกลับ |
Scotch tape | (n) สก็อตเทป (ยี่ห้อสินค้าประเภทเทปติดกระดาษ) |
tape | (n) เทปกาว, See also: แถบกาว, กระดาษกาว |
tape | (n) แถบบันทึกเสียง, See also: สายเทปบันทึกเสียง |
tape recorder | (n) เครื่องบันทึกเสียง, See also: เครื่องอัดเสียง, เครื่องเล่นเทป |
tape-record | (vt) บันทึกเทป, See also: บันทึกเสียงด้วยสายเทป, Syn. videotape |
track | (n) ร่องเสียงในเทปแม่เหล็ก |
video | (n) ภาพหรือหนังในเทปวิดีโอ, Syn. film |
video | (n) ตลับเทปวิดีโอ, See also: วีดิโอ, Syn. recording |
video | (adj) เกี่ยวกับตลับเทปวิดีโอ |
video | (adj) เกี่ยวกับภาพหรือหนังในเทปวิดีโอ, See also: เกี่ยวกับโทรทัศน์ |
videocassette | (n) ตลับเทปโทรทัศน์, Syn. cassette |
videotape | (n) แผ่นฟิล์มที่ใช้บันทึกภาพโทรทัศน์, See also: เทปวิดีโอ, Syn. magnetic tape, video, recording, tape recorder |
wow | (n) ความแปร่งหรือความแปรปรวนของระดับเสียงที่บันทึกเทป |
Hope Dictionary
audiotape | (ออ'ดีโอเทพ) n. เทปบันทึกเสียง |
begin of tape | จุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
bot | 1. (บอท) n. ด้วยอ่อนของแมลงbotfly 2. (บีโอที) ย่อมาจาก begin of tape (จุดเริ่มต้นเทป) หมายถึง จุดเริ่มต้นที่จะให้มีการบันทึกลงแถบบันทึกหรือเทป (tape) ได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสง ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณบังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลจากจุดนั้นเป็นต้นไป |
bytes per inch | ไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย |
cartridge | (คาร์'ทริจฺ) 1. n. กระสุนปืน, ลูกกระสุน, ลำกล้องดินระเบิด, ภาชนะใส่ของเหลวหรือแก๊ส, ที่ม้วนเทป 2. อาจเป็นได้ทั้งตลับเทปหรือกล่อง ใช้เก็บข้อมูล ปัจจุบัน ไม่ค่อยนิยมใช้ บางทีใช้เป็นที่บรรจุเกมส์ต่าง ๆ เรียกว่า game cartridge ส่วน font cartridge หมายถึง ตลับที่ใช้เก็บแบบตัวอักษรสำหรับใส่ในเครื่องพิมพ์บางชนิด ถ้าใช้กับเครื่องพิมพ์หมายถึงที่ใส่หมึกสำหรับพิมพ์ เรียกว่า toner cartridge |
casette tape | ตลับแถบบันทึกหมายถึง ม้วนแถบพลาสติกอาบแม่เหล็ก นำมาใช้ในการเก็บข้อมูล ใช้ทั้งกับไมโครคอมพิวเตอร์ และเครื่องขนาดใหญ่ (mainframe) ที่นำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์นั้น มีลักษณะเหมือนตลับเทปเพลงธรรมดา สมัยหนึ่งเรานิยมใช้แถบบันทึกนี้เก็บข้อมูล เพราะราคาถูกกว่าสื่ออย่างอื่น แต่จะมีปัญหาตามมามากมาย เช่นในเรื่องความคลาดเคลื่อนของข้อมูล อีกทั้งยังมักจะเสียง่าย ในปัจจุบัน จึงหันมานิยมใช้จานบันทึก (diskette) จานบันทึกอัดแน่นหรือซีดี (CD) แทนกันหมดแล้ว |
casette tape-recorder | n. เครื่องบันทึกเสียงด้วยตลับเทป |
cassette | (คะเซท') n. ตลับเทป |
cassette tape | n. เทปตลับ, ตลับเทป |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
characters per inch | จำนวนอักขระต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า CPI แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึกว่า เนื้อเทป 1 นิ้ว จะเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักขระ |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
drum | (ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum |
eoj | (อีโอเจ) ย่อมาจาก end of job (แปลว่า สิ้นสุดงาน) หมายถึง จุดสิ้นสุดของแฟ้มหรือของข้อมูลชุดหนึ่ง ๆ เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ทำไว้ท้ายแฟ้มข้อมูลที่บันทึกลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าสิ้นสุดแฟ้มข้อมูลหรือสิ้นสุดงานนั้น ๆ มีความหมายเหมือน end of file |
eor | (อีโออาร์) ย่อมาจาก end of reel marker (แปลว่า เครื่องหมายสิ้นสุดแถบบันทึก) หมายถึง จุดสิ้นสุด ทำไว้ที่ปลายแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าไม่สามารถบันทึกต่อจากจุดนี้ได้ เมื่ออ่านหรือบันทึกลงถึงจุดนี้แล้ว เทปจะหยุดทันที ไม่อ่านหรือบันทึกต่อ ส่วนมากจะทำเป็นช่วงสะท้อนแสงยาวประมาณ 1 นิ้ว ซึ่งหัวอ่านและบันทึกของเทปจะสัมผัสได้ด้วยไฟฟ้ามีความหมายเหมือน end of tape marker หรือ EOT |
eot | (อีโอที) 1. ย่อมาจาก end of tape marker (เครื่องหมายสิ้นสุดแถบบันทึก) หมายถึง จุดสิ้นสุดไว้ที่ปลายแถบบันทึกหรือเทป (tape) เพื่อบอกว่าไม่สามารถบันทึกต่อจากจุดนี้ได้ เมื่ออ่านหรือบันทึกลงถึงจุดนี้แล้วเทปจะหยุดทันทีไม่อ่านหรือบันทึกต่อ ส่วนมากจะทำเป็นช่วงสะท้อนแสงยาวประมาณ 1 นิ้ว ซึ่งหัวอ่านและบันทึกของเทปจะสัมผัสได้ด้วยไฟฟ้ามีความหมายเหมือน end of reel หรือ EOR2. ย่อมาจาก end of text ในรหัสแอสกี (ASCII) ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล มีความหมายว่า จบข้อความแล้ว ไม่มีอีกต่อไป |
halt instruction | คำสั่งให้หยุดเป็นคำสั่งในโปรแกรมที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดปฏิบัติการชั่วคราว และให้รอจนกว่าจะมีคำสั่งให้ไปทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น สั่งให้ไปหยิบม้วนเทปมาใส่ หรือเปลี่ยนจานบันทึกแผ่นที่ต้องการ มีความหมายเหมือน pause instruction |
ibg | (ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |
immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access |
interblock gap | ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |
interrecord gap | ช่องว่างระหว่างระเบียนใช้ตัวย่อว่า IRG ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ |
irg | (ไออาร์จี) ย่อมาจาก interrecord gap ที่แปลว่า ช่องว่างระหว่างระเบียน ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้น เราจะบรรจุเป็นระเบียน (record) เรียงกันไป หน่วยขีบเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/write) ดู interblock gap เปรียบเทียบ |
magnetic tape | แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก |
masking tape | เทปปิดคลุมผิวหน้าหรือบริเวณที่ไม่ต้องการถูกสีทาหรือสีพ่น |
paper tape | แถบกระดาษเทปกระดาษเป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกของคอมพิวเตอร์เมนเฟรมในสมัยแรก ๆ โดยทั่วไป แถบกระดาษที่เคยนิยมใช้มีขนาดกว้าง 0.75 ถึง 1 นิ้ว แถบกระดาษม้วนหนึ่ง ๆ ยาว 30 - 1000 ฟุต ม้วนอยู่บนล้อวงกลม ลักษณะการบันทึก ใช้วิธีการเจาะเป็นรูกลม ๆ มีความจุประมาณ 10 ล้านตัวอักขระต่อเทป 1 นิ้ว ปัจจุบัน ไม่มีใครรู้จักแล้ว เพราะแก้ไขยาก ใช้ซ้ำไม่ได้เลย ทำให้สิ้นเปลืองมาก ในการอ่านข้อมูลบนแถบกระดาษ ใช้เครื่องอ่านแถบกระดาษ เรียกว่า paper tape reader ในการบันทึก ใช้เครื่องเจาะแถบกระดาษ ซึ่งเรียกว่า paper tape punch ซึ่งจะทำงานเมื่อได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง สามารถเจาะได้ประมาณ 10 - 150 แถวต่อวินาที |
paper tape punch | เครื่องเจาะแถบกระดาษเครื่องเจาะเทปกระดาษหมายถึง เครื่องเจาะแถบกระดาษให้เป็นรู เพื่อแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เครื่องเจาะนี้จะต้องได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) มีความเร็วในการเจาะประมาณ 15 - 150 แถวต่อวินาที ดู paper tape ประกอบ |
paper tape reader | เครื่องอ่านแถบกระดาษเครื่องอ่านเทปกระดาษหมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการอ่านรูที่เจาะบนแถบกระดาษ แล้วถอดออกมาเป็นรหัส การอ่านรูเหล่านี้ ทำได้โดยใช้แปรงไฟฟ้าสัมผัส แล้วนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อทำหารประมวลผลต่อไปดู paper tape ประกอบ |
perforated tape | แถบเจาะรู <คำแปล>เทปเจาะรูหมายถึง แถบกระดาษ (paper tape) ที่นำมาเจาะรูเพื่อใช้เป็นสื่อส่งข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (ถ้าเป็นบัตร ก็เรียกว่า perforated card) ดู paper tape ประกอบ |
ram | (แรม) n. แกะตัวผู้, กลุ่มดาวแกะ, เครื่องกระทุ้ง, เครื่องกะแทก, เครื่องตอกเสาเข้ม, การยัดเยียดเรื่องราวลงในสมอง., แรมย่อมาจาก random access memory แปลว่า หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่ม หมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ดู ROM เปรียบเทียบ vt. กระทุ้ง, ตอก, กระแทก, ยัด, ยัดเยียด, ดันอย่างแรง., See also: rammer n., Syn. strike, batter, cram |
random access | การเข้าถึงโดยสุ่มการเข้าถึงข้อมูลที่บันทึกไว้โดยสุ่มหมายความว่าเข้าถึงได้ทุก ๆ จุดได้โดยทันทีทันใด เป็นต้นว่า การเข้าถึงข้อมูลที่เก็บในจานบันทึก ซึ่งจะใช้เวลาเท่ากันหมดไม่ว่าเก็บไว้ที่จุดไหน ต่างกับการเข้าถึงข้อมูลที่เก็บไว้ในแถบบันทึกหรือเทป ถ้าข้อมูลที่ต้องการอยู่ตอนปลาย ก็จะต้องรอให้เทปเดินหน้าไปจนถึงจุดนั้นเสียก่อน การเข้าถึงข้อมูลโดยวิธีนี้ จะมีหัวอ่าน/บันทึก (read head) ต่อกับก้านโลหะที่เคลื่อนเข้า/ออกได้ เหนือจานที่หมุนรอบแกนอีกทีหนึ่ง เปรียบเทียบ) ถ้าเปรียบกับการฟังเพลงจากจานเสียงและเทป จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น กล่าวคือ ถ้าเป็นเทปหรือแถบบันทึก หากจะฟังเพลงที่อยู่ในลำดับท้าย ๆ ก็จะต้องรอให้เทปหมุนผ่านเพลงในลำดับแรก ๆ ไปก่อน แต่ถ้าเป็นจานเสียง เราต้องการฟังเพลงใด ก็สั่งได้ทันทีดู sequential access เปรียบเทียบ |
random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มใช้ตัวย่อว่า RAM (อ่านว่า แรม) เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่วางขายทั่วไปจะมีแรมประมาณ 1 - 8 เมกะไบต์ ปัจจุบันโปรแกรมสำเร็จใหญ่ ๆ หลายโปรแกรม เจาะจงว่าจะต้องใช้กับคอมพิวเตอร์ที่มีแรมอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ดู read only memory เปรียบเทียบ |
random access storage | หน่วยเก็บเข้าถึงโดยสุ่มเป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) หน่วยเก็บในที่นี้หมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด นอกจากนั้นยังหมายถึงจานบันทึก ซึ่งใช้เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเท่ากันหมดเช่นกัน |
record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
recording | (รีคอร์ด'ดิง) n. การบันทึก, สิ่งที่บันทึกไว้, จานเสียง, จานเสียง, เทปบันทึกเสียง |
recording film | n. ฟิล์มบันทึก, เทปบันทึกเสียง |
reel | (รีล) n. หลอด, หลอดด้าย, หลอดไม้รวก, รอกม้วน, เครื่องม้วน, จานม้วน, เครื่องปั่นด้าย, ปริมาณด้ายหรือเทปหรือฟิล์มต่อม้วน, อาการหมุน (เคว้ง, โซเซ...) vt. ม้วน, ปั่นด้าย, ทำให้หมุน vi. หมุน, เคว้ง, โซเซ, วกเวียน, หมุนเวียน, รู้สึกเวียนศีรษะ -Phr. (reel of พูดหรือเขียนหรือผลิตออกมาอย่างรวดเร็วและง่ายดาย) |
scotch tape | n. เทปติดกระดาษ |
second generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สองหมายถึงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ราวทศวรรษ 1960 จนถึงต้น 1970 มีคุณสมบัติที่สำคัญคือ มีขนาดเล็กว่ายุคที่หนึ่งมาก ใช้กำลังไฟน้อยลง และให้ความร้อนน้อยลงด้วย เพราะหน่วยความจำที่ใช้เป็น วงจรที่ประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) แทนที่จะเป็นหลอดสุญญากาศเหมือนยุคที่หนึ่ง ส่วนหน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) นิยมใช้เทปหรือแถบบันทึก และจานบันทึก การนำข้อมูลเข้าและการแสดงผล สามารถทำได้ควบคู่ไปกับการคำนวณ เริ่มรู้จักใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system) ควบคุมดูแลการทำงานของคอมพิวเตอร์ |
tape | (เทพ) n. สาย, สายเทป, สายเทปบันทึกเสียง, สายผ้าหรือพลาสติกหรือกระดาษยาวเป็นริบบิ้น, ผ้ายางปิดแผลสำหรับพันสายไฟฟ้า, สายวัด, สายหลักชัยที่จุดสิ้นสุดในการแข่งขัน vt. ใส่เทป, ผูก, มัด |
tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) |
tape recorder | n. เครื่องบันทึกเสียงด้วยสายเทป |
tape recording | n. การบันทึกเสียงด้วยสายเทป, สายเทปบันทึกเสียง |
tape unit | หน่วยแถบบันทึกหมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) หรือบันทึกข้อมูลลงบนแถบบันทึก การอ่านข้อมูลจากเทปนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง แต่การบันทึกจะสามารถทำได้โดยเดินเทปไปข้างหน้าเพียงทิศทางเดียวเท่านั้น หน่วยขับเทปหรือแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสูญญากาศมีความหมายเหมือนกับ tape driveดู tape ประกอบ |
tape-record | (เทพ'ริคอร์ด) vt. บันทึกเสียงด้วยสายเทป |
trailer label | ป้ายชื่อท้ายแฟ้มหมายถึงระเบียนสุดท้ายของเทปหรือแถบบันทึก ซึ่งมีหน้าที่บอกจุดสิ้นสุดของการบันทึกบนม้วนเทปนั้น มักจะเป็นที่เก็บข้อความย่อ ๆ เกี่ยวกับเทปนั้นเองมีความหมายเหมือน trailer record ดู header label เปรียบเทียบ |
trailer record | ระเบียนท้ายหมายถึงระเบียนสุดท้ายของเทปหรือแถบบันทึก ซึ่งมีหน้าที่บอกจุดสิ้นสุดของการบันทึกบนม้วนเทปนั้น มักจะเป็นที่เก็บข้อความย่อ ๆ เกี่ยวกับเทปนั้นเอง มีความหมายเหมือน trailer label ดู header label เปรียบเทียบ |
videocassette | (วิด'ดีโอเคเซท') n. ตลับเทปโทรทัศน์, Syn. cassette |
Nontri Dictionary
cartridge | (n) กระสุนปืน, ม้วนเทป, ม้วนฟิล์ม |
cassette | (n) ตลับเทป, เทปคาสเซ็ท |
tape | (n) แถบ, สายเทป, ริบบิ้น, สายวัด |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
SASD | (jargon, slang) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบเรียงลำดับ ไม่สามารถเข้าถึงโดยตรงได้ เช่น สายเทปบันทึกเสียง |
Sellotape | (n) เทปติดกระดาษ |
tape player and recorder | เครื่องเทป |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
カセットテープ | [かせっとていぷ, kasettoteipu, kasettoteipu , kasettoteipu] (n) เทป(คาสเส็ต) |
テープレコーダー | [ていぷれこうだあ, teipurekoudaa, teipurekoudaa , teipurekoudaa] (n) เครื่องบันทึกและเล่นเทป |
ビヂオ | [びぢお, bidio, bijio , bidio] (n) วีดีโอเทป, เครื่องเล่นวีดีโอ |
Longdo Approved DE-TH
aufnehmen | (vt) |nimmt auf, nahm auf, hat aufgenommen, etw. auf etw.(A)| บันทึก(เพลง, วีดีโอ เป็นต้น) เช่น Im Radio kommen die neuersten Lieder. Franziska will sie auf ein Tonband aufnehmen. ในวิทยุมีเพลงใหม่ล่าสุด ฟรานซิสก้าอยากอัดเพลงพวกนี้ลงบนเทปบันทึกเสียง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0243 seconds, cache age: 3.405 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม