170 ผลลัพธ์ สำหรับ *เงินเดือน*
ภาษา
หรือค้นหา: เงินเดือน, -เงินเดือน-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เงินเดือน | (n) salary, See also: monthly wage, pay, Syn. ค่าจ้างรายเดือน, ค่าตอบแทนรายเดือน, Example: รัฐบาลมีนโยบายปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการ, Count Unit: บาท, Thai Definition: ค่าตอบแทนการทำงานที่กำหนดให้เป็นรายเดือน |
ตัดเงินเดือน | (v) cut wages, See also: reduce wages, Syn. ตัดเงิน, หักเงิน, หักเงินเดือน |
ขึ้นเงินเดือน | (v) raise the salary, Example: บริษัทโทรศัพท์มือถือยักษ์ใหญ่ขึ้นเงินเดือนให้พนักงานทุกคน, Thai Definition: เพิ่มจำนวนเงินเดือนให้มากขึ้น |
จ่ายเงินเดือน | (v) pay wages, See also: pay salaries, Syn. จ่ายค่าจ้าง, Ant. รับเงินเดือน, Example: จนป่านนี้บริษัทยังไม่จ่ายเงินเดือนให้กับพนักงานอีก |
อัตราเงินเดือน | (n) rate of salary |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เงินดาวเงินเดือน, เงินเดือนเงินดาว | น. เงินเดือน. |
เงินเดือน | น. เงินค่าตอบแทนการทำงานที่กำหนดให้เป็นรายเดือน. |
กรมการในทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งข้าราชการที่มีเงินเดือน ซึ่งจัดเป็น ๒ พวก กรมการชั้นผู้ใหญ่ ประกอบด้วย ปลัด ยกกระบัตร และผู้ช่วยราชการ กับกรมการชั้นผู้น้อย ประกอบด้วย จ่าเมือง สัสดี แพ่ง ศุภมาตรา และสารเลข. |
ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. |
ตัด | ทอน เช่น ตัดฟืนเป็นท่อน ๆ, ทำให้ลดลง, หักออก, เช่น ตัดเงินเดือน ตัดคะแนน, ลัด เช่น เดินตัดทาง |
โทษทางวินัย | น. โทษที่ลงแก่บุคลากรขององค์กรซึ่งปฏิบัติฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางวินัยขององค์กรที่กำหนดไว้ เช่น โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนสามัญตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก. |
บุคลากร | (บุกคะลากอน) น. ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล เช่น ในการบรรจุแต่งตั้ง เลื่อนขั้น เลื่อนเงินเดือน เป็นต้น |
โบนัส | น. เงินพิเศษที่รัฐวิสาหกิจ องค์การ บริษัท ห้างร้าน เป็นต้น จ่ายให้เป็นบำเหน็จรางวัลแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ของตน นอกเหนือจากเงินเดือนค่าจ้าง, เงินที่ให้เป็นส่วนแบ่งพิเศษแก่ผู้ถือหุ้น. |
เรา | ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นคำแทนตัวผู้พูด จะเป็นคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ถ้าผู้พูดเป็นคนคนเดียว อาจพูดแทนคนอื่น ๆ รวมทั้งตัวเองด้วย เช่น เราทุกคนเป็นคนไทย หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะเสมอกัน เช่น เรามีความเห็นอย่างนี้ เธอมีความเห็นอย่างไร หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า เช่น อธิบดีพูดกับนักการว่า ปีนี้เราจะขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น, สรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นคำใช้สำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น เจ้าหน้าที่ถามผู้ต้องหาว่า เราจะรับสารภาพไหม. |
เวร ๑ | คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมของตนในอดีต เช่น เวรของฉันแท้ ๆ ทำเงินเดือนหายไปทั้งเดือน, กรรมเวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า. |
แว่ว | ก. ได้ยินแต่ไม่ชัดแจ้ง เช่น มีข่าวแว่วมาว่าปีนี้จะได้เงินเดือนขึ้น, ได้ยินมาจากที่ไกล เช่น แว่วเสียงขลุ่ยมาจากชายป่า. |
โวยวาย | ก. ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจ เป็นต้น เช่น พอประกาศเงินเดือนขึ้นอีกกลุ่มก็โวยวาย. |
โวยวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น เช่น เขาไม่ได้เงินเดือนขึ้นก็ส่งเสียงโวยวาย, กระโวยกระวาย ก็ว่า. |
สมควร | ว. ควรยิ่ง, เหมาะสมยิ่ง, เช่น เขาทำงานดีสมควรขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น. |
สาแก่ใจ | ว. หนำใจ, สะใจ, (มักใช้ในความประชดหรือแดกดัน) เช่น บอกแล้วว่าอย่าไปยุ่งกับเขา โดนเขาด่ามา สาแก่ใจไหมล่ะ วันนี้เงินเดือนออก ต้องจ่ายให้สาแก่ใจ. |
สุรุ่ยสุร่าย | ว. ชอบจับจ่ายใช้สอยสิ้นเปลืองโดยไม่จำเป็น เช่น เขามีนิสัยสุรุ่ยสุร่าย เงินเดือนจึงไม่พอใช้. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
perquisite | ประโยชน์พิเศษ (ที่ให้แก่พนักงานของรัฐ นอกเหนือไปจากเงินเดือน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
list, civil | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reduction of salary | การตัดเงินเดือน, การลดเงินเดือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
salary | เงินเดือน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salary saving insurance | การประกันชีวิตโดยหักเงินเดือน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salary, reduction of | การตัดเงินเดือน, การลดเงินเดือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
salaried employee | ลูกจ้างที่รับเงินเดือน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
salary | เงินเดือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civil list | ๑. เงินปีพระมหากษัตริย์, งบค่าใช้จ่ายส่วนพระมหากษัตริย์๒. งบเงินเดือนข้าราชการพลเรือน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Payroll tax | ภาษีเงินเดือน [เศรษฐศาสตร์] |
Payrolls | บัญชีเงินเดือน [TU Subject Heading] |
Salaries, etc. | เงินเดือน [TU Subject Heading] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Payroll | เงินเดือน [การบัญชี] |
Salary | เงินเดือน [การบัญชี] |
accounting | ซอฟต์แวร์ระบบงานบัญชี, ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะทาง ที่บริษัทผู้ผลิตได้ออกแบบมาเพื่อรองรับงานด้านธุรกิจ เช่นระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อัตราเงินเดือน | [attrā ngoendeūoen] (n, exp) EN: rate of salary FR: niveau des salaires [ m ] |
อายัดเงินเดือน | [āyat ngoendeūoen] (v, exp) EN: freeze wages FR: geler les salaires |
ใบแจ้งยอดเงินเดือน | [baijaēng yøt ngoendeūoen] (n, exp) EN: pay slip |
ใบรับเงินเดือน | [bairap ngoendeūoen] (n, exp) EN: salary statement ; pay slip FR: fiche de salaire [ f ] ; bulletin de paie/paye [ m ] |
บัญชีเงินเดือน | [banchī ngoendeūoen] (n, exp) EN: payroll |
ช่วงเงินเดือน | [chūang ngoendeūoen] (n, exp) EN: salary span |
ได้เงินเดือน ละ ... | [dāi ngoen deūoen la ...] (v, exp) EN: earn ... (+ amount) a month FR: gagner ... (+ chif.) par mois |
จ่ายเงินเดือน | [jāi ngoendeūoen] (v, exp) EN: pay wages ; pay salaries FR: payer les salaires |
การอายัดเงินเดือน | [kān āyat ngoendeūoen] (n, exp) EN: ? FR: ? |
การขึ้นเงินเดือน | [kān kheun ngoendeūoen] (n, exp) EN: pay rise FR: hausse de salaire [ f ] |
การเลื่อนขั้นเงินเดือน | [kān leūoen ngoendeūoen] (n, exp) FR: avancement salarial [ m ] |
การลดเงินเดือน | [kān lot ngoendeūoen] (n, exp) EN: salary cut FR: diminution de salaire [ f ] |
ขั้นเงินเดือน | [khan ngoendeūoen] (n, exp) EN: salary bracket ; grade |
ขึ้นเงินเดือน | [kheun ngoen deūoen] (v, exp) FR: augmenter le salaire ; augmenter le rémunération |
เงินเดือน | [ngoendeūoen] (n) EN: monthly salary ; salary ; pay FR: salaire [ m ] ; salaire mensuel [ m ] ; traitement (mensuel) [ m ] ; paie [ f ] ; paye [ f ] ; appointements [ mpl ] ; rémunération [ f ] |
เงินเดือนพื้นฐาน | [ngoendeūoen pheūnthān] (n, exp) EN: basic salary FR: salaire de base [ m ] |
เพิ่มเงินเดือน | [phoēm ngoendeūoen] (v, exp) EN: increase the salary |
ระดับเงินเดือนที่ต้องการ | [radap ngoendeūoen thī tǿngkān] (n, exp) EN: expected salary FR: salaire espéré [ m ] ; salaire souhaité [ m ] |
รับเงินเดือน | [rap ngoendeūoen] (v, exp) FR: toucher son salaire ; toucher sa paie/paye |
ตัดเงินเดือน | [tat ngoendeūoen] (v, exp) EN: reduce wages ; cut wages ; cut the salary FR: réduire les salaires ; diminuer le salaire |
ทำงานกินเงินเดือน | [thamngān kin ngoendeūoen] (v, exp) EN: be a salary earner FR: être salarié |
วันเงินเดือนออก | [wan ngoendeūoen øk] (n) EN: payday FR: jour de paie [ m ] |
ยอดเงินเดือน | [yøt ngoendeūoen] (n, exp) EN: pay |
Longdo Approved EN-TH
salaryman | (n) มนุษย์เงินเดือน, คำเรียกชาวญี่ปุ่นที่ทำงานในบริษัท (รับเงินเดือน) |
payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bonus | (n) เงินที่ได้พิเศษนอกเหนือจากเงินเดือน, See also: โบนัส, เงิน, รางวัลพิเศษ, รางวัลสมนาคุณ, Syn. gratuity |
checkoff | (n) การเก็บเงินค่าสมาชิกสหภาพแรงงานโดยหักจากเงินเดือน |
fringe benefit | (n) สิ่งที่ลูกจ้างสมควรได้รับนอกจากค่าจ้างหรือเงินเดือน |
earnings | (n) รายได้, See also: เงินที่หาได้, ค่าจ้าง, เงินเดือน, ผลกำไร, Syn. income, remuneration, salary, wage |
emolument | (n) เงินรายได้ (คำทางการ), See also: เงินเดือน, Syn. payment, salary, wages |
freelance | (n) คนที่ทำงานอิสระไม่ได้รับเป็นเงินเดือนประจำ |
freelance | (adj) ซึ่งทำงานอิสระไม่ได้รับเป็นเงินเดือนประจำ, Syn. self-employed |
freelance | (vi) ทำงานอิสระไม่ได้รับเป็นเงินเดือนประจำ |
worth one's salt | (idm) คุณค่าของเงินเดือน |
payoff | (n) การจ่ายเงินเดือน, Syn. payday, salary |
payroll | (n) บัญชีเงินเดือน |
raise | (n) รายได้ที่เพิ่มขึ้น, See also: เงินเดือนที่เพิ่มขึ้น |
salaried | (adj) ซึ่งได้รับเงินเดือน, See also: paid |
salary | (n) เงินเดือน, See also: ค่าจ้างรายเดือน, Syn. wage, wages |
stipend | (n) เงินเดือน, See also: ค่าจ้าง, เงินค่าครองชีพ, Syn. allowance, salary, wage |
well-paid | (adj) ซึ่งมีค่าตอบแทนมาก, See also: ซึ่งให้เงินเดือนสูง |
white-collar | (n) เกี่ยวกับงานนั่งโต๊ะ มีเงินเดือนประจำ และไม่ต้องใช้แรงงาน |
Hope Dictionary
benefice | (เบน'นิฟิส) n. ตำแหน่งที่มีรายได้, ตำแหน่งบาทหลวงที่มีเงินเดือน, ตำแหน่งพระสอนศาสนา, ที่ดินที่ให้ครอบครอง |
checkoff | n. การเก็บเงินค่าสมาชิกสหภาพกรรมการหรือแรงงาน โดยหักจากเงินเดือนประจำ |
data record | ระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ |
earned income | n. เงินรายได้จากค่าจ้าง เงินเดือนหรืออื่น ๆ (ไม่ใช่จากดอกเบี้ย) |
earning | (เอิร์น'นิง) n. การหารายได้, การหามา., See also: earnings รายได้, ค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร |
emolument | (อิมอล'ลิวเมินทฺ) n. เงินค่าตอบแทน, เงินเดือน, รายได้ |
free lance | คนที่ทำงานโดยอิสระ โดยไม่ได้เป็นลูกจ้างกินเงินเดือนใคร, คนที่ต่อสู้ในเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องของตัว |
living | (ลิฟ'วิง) adj. มีชีวิตอยู่, ไม่ตาย, มีอยู่, แรง, ขะมักเขม้น, คุกรุ่น, ไหล, เกี่ยวกับการครองชีพ, ในสภาพธรรมชาติ, แน่นอนที่สุด, n. การดำรงชีพ, วิธีการครองชีพ, คนที่มีชีวิตอยู่, เงินเดือนของพระ (ศาสนาคริสต์), Syn. live, alive, -A. dead, dull |
master file | แฟ้มหลักหมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ทำไว้ค่อนข้างถาวร และมีข้อมูลเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ในการแก้ไขหรือปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักนี้ (เช่น ถ้าเป็นแฟ้มประวัติพนักงานของบริษัท ที่จะมีการแก้ไขเฉพาะรายการเงินเดือน ส่วนรายการอื่นไม่มีการแก้) มักจะใช้วิธีสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลเฉพาะบางรายการ เรียกว่า "แฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลง " (transaction file) แล้วเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์อ่านแฟ้มข้อมูล ใหม่นี้ เข้าไปจัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มหลักให้ ดู transaction file เปรียบเทียบ |
payday | n. วันจ่ายเงินเดือน, วันจ่ายเงิน, ค่าจ้าง |
payoff | (เพ'ออฟ) n. การจ่ายเงินเดือน, การชำระหนี้, เวลาการจ่ายเงิน, ผลที่ตามมา |
record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
salaried | (แซล'ละรีด) adj. มีเงินเดือน |
salary | (แซล'ละรี) n. เงินเดือน, Syn. wages |
salt | (ซอลทฺ) n. เกลือ, กลาสีเรือ, บ่อเกลือ; vt. ใส่เกลือ, จัดให้ได้รับเกลือ, salt away เก็บสงวน. adj. มีเกลือเจือปน. -Phr. (grain of salt สงสัย) -Phr. (worth one's salt สมกับค่าจ้างหรือเงินเดือน), See also: saltness n., Syn. sodi |
screw | (สครู) n. ตะปูควง, ควงตัวผู้, สลักเกลียว, เดือยเกลียว, ตัวหนอน, รูเกลียว, สิ่งที่เป็นเกลียว, ไขควง, การบิด, การหมุน, ม้าแก่, เงินเดือน, ค่าจ้าง, คนขี้เหนียว, เจ้าหน้าที่เรือนจำ, พัสดี, การสังวาส vt. ขันสครู, บีบบังคับ, ขันแน่น, กวดขัน, ไช. vi. หมุนตะปูควง, ยึดติดด้วยตะปูควง, |
stipend | (สไท'เพินดฺ) n. ค่าจ้าง, เงินเดือน, การจ่ายเงินเป็นคราว ๆ , เงินค่าครองชีพ, เงินปีสำหรับพระ. -stipendless adj., Syn. pay, fee |
vicar | (วิค'เคอะ) n. (ศาสนาคริสต์นิกายโบสถ์อังกฤษ) พระ, พระที่ได้รับเงินเดือนเล็กน้อย, ผู้ช่วยบิชอพ, ตัวแทน, ผู้แทน, See also: vicarly adj. vicarship n. |
wage | (เวจฺ) n. ค่าจ้าง, เงินเดือน, ค่าแรง, ค่าตอบแทน, ความมั่นคง vt. ดำเนินต่อไป, ว่าจ้าง, ให้คำมั่น vi. ต่อสู้, ดิ้นรน, Syn. earnings, emolument |
well-paid | (เวล'เพด) adj. มีค่าตอบแทนมาก, ให้เงินเดือนสูง |
Nontri Dictionary
earnings | (n) ค่าจ้าง, เงินเดือน, รายได้, ผลกำไร |
emolument | (n) ผลกำไร, ค่าตอบแทน, ผลตอบแทน, รายได้, เงินเดือน |
income | (n) รายได้, รายรับ, ดอกเบี้ย, เงินเดือน |
pay | (n) ค่าตอบแทน, ค่าจ้าง, เงินเดือน |
payday | (n) วันเงินเดือนออก, วันจ่ายเงิน, วันชำระเงิน |
payroll | (n) บัญชีเงินเดือน |
salary | (n) เงินเดือน |
stipend | (n) ค่าจ้าง, เงินเดือน, เงินค่าครองชีพ |
Longdo Approved JP-TH
昇給 | [しょうきゅう, shoukyuu] (n, vt) การขึ้นเงินเดือน |
給料 | [きゅうりょう, kyuuryou] (n) เงินเดือน |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
給与体系 | [きゅうよたいけい, kyuuyotaikei] (n) โครงสร้างเงินเดือน รูปแบบเงินเดือน |
基本給 | [きほんきゅう, kihonkyuu] (n) เงินเดือนพื้นฐาน |
リーマン | [りいまん, riiman] (n, slang) มนุษย์เงินเดือน (คำย่อของ サラリーマン), See also: S. サラリーマン |
給与 | [きゅうよ, kyuuyo] (n) เงินเดือน |
Longdo Approved DE-TH
fordern | (vt) |forderte, hat gefordert| เรียกร้อง, แสดงความต้องการ เช่น Er fordert das Gehalt in einer Höhe von 2000 Euro von der Firma. เขาเรียกเงินเดือนสองพันยูโรจากบริษัท, Syn. verlangen |
Urlaubsgeld | (n) |das| เงินสำหรับพักร้อนที่ได้จากนายจ้างนอกเหนือจากเงินเดือน |
erheblich | (adj) สำคัญ, มาก, ที่ต้องนึกถึง เช่น Es ist kein erhebliches Problem. มันไม่ใช่ปัญหาที่สำคัญนัก, In Thailand verdient man erheblich weniger als in Deutschland. ที่เมืองไทยผู้คนทำงานได้เงินเดือนน้อยกว่าที่เยอรมนีมาก, See also: viel, Syn. wesentlich |
Gehalt | (n) |das, pl. Gehälter| เงินเดือน, ค่าจ้างต่อเดือน เช่น In Deutschland erhält man normalerweise ein höheres Gehalt als in Thailand. |
Longdo Approved FR-TH
salaire | (n) |m| เงินเดือน, ค่าจ้าง เช่น Le salaire minimum est fixé par le gouvernement du Québec., Syn. la paie |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0298 seconds, cache age: 4.558 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม