238 ผลลัพธ์ สำหรับ *อุปสรรค*
ภาษา
หรือค้นหา: อุปสรรค, -อุปสรรค-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
อุปสรรค | (อุปะสัก, อุบปะสัก) น. เครื่องขัดข้อง, ความขัดข้อง, เครื่องขัดขวาง. (ส. อุปสรฺค; ป. อุปสคฺค) |
อุปสรรค | คำสำหรับใช้เติมข้างหน้าคำนามหรือคำกริยาที่เป็นรูปคำบาลีหรือสันสกฤตให้มีความหมายแผกเพี้ยนไปจากเดิม หรือมีความหมายตรงข้ามกับความหมายเดิมเป็นต้น และถือเป็นคำเดียวกับคำนามหรือคำกริยานั้น เพราะตามปรกติจะไม่ใช้ตามลำพัง เช่น วัฒน์ = เจริญ อภิวัฒน์ = เจริญยิ่ง ปักษ์ = ฝ่าย ปฏิปักษ์ = ฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ศัตรู. |
ขวากหนาม | น. อุปสรรค, เครื่องขัดข้อง, เครื่องขัดขวาง. |
ข้ามน้ำข้ามทะเล, ข้ามน้ำข้ามท่า | ก. ต้องฟันฝ่าอุปสรรคและความลำบากต่าง ๆ กว่าจะได้ผลสำเร็จ. |
จระเข้คับคลอง | น. ผู้ที่ชอบวางตัวใหญ่โตเกินไปย่อมมีอุปสรรคในการดำรงตนในสังคม. |
ตลอดรอดฝั่ง | ว. ถึงจุดหมายปลายทาง, พ้นอันตราย, ผ่านอุปสรรคมาได้. |
ทร- | (ทอระ-) คำอุปสรรค แปลว่า ชั่ว เช่น ทรชน ทรลักษณ์, ยาก, ลำบาก, เช่น ทรกรรม, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรพล. |
ทุ ๑ | ว. คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เช่น ทุจริต ว่า ความประพฤติชั่ว, ทุกร ว่า ทำได้โดยยาก, ทุปปัญญา ว่า ปัญญาทราม เป็นต้น. (ดู ทุร ประกอบ). |
นุ ๑ | ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์). |
บุกป่าฝ่าดง | ก. พยายามต่อสู้อุปสรรคต่าง ๆ. |
เบียนธาตุ | ก. ทำให้ความหมายของธาตุในภาษาบาลีและสันสกฤตแผกเพี้ยนไปจากเดิมโดยการเติมอุปสรรค เช่น ธาตุ คม แปลว่า ไป เติม อา เบียนธาตุ เป็น อาคม แปลว่า มา. |
ปฏิ- | (ปะติ-) คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ เช่น ปฏิทิน, ตอบ เช่น ปฏิพากย์, ทวน เช่น ปฏิโลม, กลับ เช่น ปฏิวัติ. |
ปริ- ๑ | (ปะริ-) เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล. |
ผจญ, ผจัญ | (ผะจน, ผะจัน) ก. พยายามต่อสู้, พยายามเอาชนะ, เช่น มารผจญ, ต่อสู้ดิ้นรนเพื่อเอาชนะ เช่น ผจญความทุกข์ยาก ผจญอุปสรรค, ประจญ หรือ ประจัญ ก็ว่า. |
ฝ่า ๒ | ก. กล้าผ่านเข้าไปหรือออกมาจากที่อันตรายหรือที่ลำบาก เช่น ฝ่าอุปสรรค ฝ่าฝูงชน ฝ่าอันตราย, ทนรับ, ทนสู้, เช่น ฝ่าแดดฝน |
ฝ่ามรสุม | ก. ต่อสู้ฟันฝ่าอุปสรรคชีวิตมามาก. |
พบ | ก. เห็น (ใช้แก่อาการเห็นซึ่งต่อเนื่องกับกิริยาอื่น เช่น ขุดพบ ค้นพบ ไปพบ หาพบ), ปะ, ประสบ, เจอะ, เจอ, เช่น พบเพื่อน พบอุปสรรค. |
พิฆน์ | น. อุปสรรค |
ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. |
มาร, มาร- | ผู้ฆ่า, ผู้ทำลาย, ในพระพุทธศาสนาหมายถึงผู้กีดกันบุญกุศล มี ๕ อย่าง เรียกว่า เบญจพิธมาร คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร เทวบุตรมาร, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่เป็นอุปสรรคขัดขวาง. |
ยิ้มสู้ | ก. ยิ้มพร้อมที่จะสู้กับอุปสรรคอันตรายใด ๆ โดยไม่ยอมถอย. |
ราบรื่น | ว. เรียบร้อย, ปราศจากอุปสรรคใด ๆ, เช่น งานสำเร็จลงอย่างราบรื่น ชีวิตสมรสราบรื่น. |
เรือล่มเมื่อจอดตาบอดเมื่อแก่ | ก. มีอุปสรรคเมื่อใกล้จะสำเร็จ. |
ลัย, ลัย- | ที่อาศัย โดยมากมักเติมอุปสรรคข้างหน้า เช่น อาลัย |
ลัย, ลัย- | การหายไป โดยมากมักเติมอุปสรรคข้างหน้า เช่น วิลัย บรรลัย. |
โล่ง | ว. มีลักษณะว่าง เตียน ไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง เช่น ที่โล่ง ป่าถูกตัดต้นไม้เสียโล่ง, ที่เปิดตลอดไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง เช่น ห้องโล่ง, โดยปริยายหมายความว่า ปราศจากอุปสรรค เช่น เปิดทางโล่งแล้ว. |
วิฆนะ | (วิคะ-) น. การขัดขวาง, เครื่องขัดขวาง, อุปสรรค, ความขัดข้อง. |
สายตาพิการ | น. ความพิการในการเห็น, สายตาที่บกพร่องมองเห็นไม่เหมือนคนปรกติ เช่นตาบอดสี, การเห็นไม่ดีจนเป็นอุปสรรคต่อการงานซึ่งต้องใช้การมองเห็นเป็นหลัก. |
สุ ๓ | คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ดี งาม ง่าย สำหรับเติมข้างหน้าคำ เช่น สุคนธ์. |
สุว- | (-วะ-) คำอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤตแปลว่า ดี, งาม, ง่าย, สำหรับเติมหน้าคำ เช่น สุวคนธ์. |
เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. |
หนักแน่น | ว. มั่นคง, ไม่ท้อถอย, เช่น เขามีใจหนักแน่นไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคใด ๆ ทั้งสิ้น |
หลักตอ | น. อุปสรรคขัดขวาง. |
อวเคราะห์ | (อะวะเคฺราะ) น. อุปสรรค, เครื่องกีดขวาง |
อันตรการณ์ | น. เหตุขัดข้อง, อุปสรรค, ความติดขัด. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
obstacle | อุปสรรค [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
impediment to marriage | อุปสรรคทางกฎหมายในการสมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
impediment | อุปสรรคทางกฎหมาย, ข้อขัดข้องทางกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
intervening obstacle | อุปสรรคแทรก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Barriers to entry (Industrial organization) | อุปสรรคต่อการเข้าตลาด [TU Subject Heading] |
Suffixes and prefixes | อุปสรรคและปัจจัย [TU Subject Heading] |
Technical Barrier to Trade | อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า, Example: การกำหนดระเบียบหรือกฎเกณฑ์ใดๆ เกี่ยวกับการกำหนดมาตรฐานของสินค้า ระบบใบรับรองด้านสุขอนามัยของสินค้านำเข้า หรือส่งออกที่ประเทศหนึ่งกำหนดขึ้น ซึ่งบางครั้งก่อให้เกิดอุปสรรค หรือเป็นเครื่องมือกีดกันการค้าระหว่างประเทศได้ แกตต์ ได้มีข้อตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barrier to Trade Agreement)เพื่อมิให้ประเทศภาคีใช้กฎข้อบังคับทางเทคนิคและมาตรฐานรวมถึงการ ทดสอบและการรับรองด้านสุขอนามัย ในทางที่จะก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการค้าโดยไม่จำเป็น [สิ่งแวดล้อม] |
Trade Barrier | อุปสรรคทางการค้า, Example: มาตรการต่างๆ ของรัฐบาลที่เป็นการจำกัดการค้าเสรี ระหว่างองค์กรหรือหน่วยธุรกิจของประเทศนั้นกับต่างประเทศ มาตรการต่างๆ เหล่านี้ รวมถึง ภาษี โควต้า (ดู QRs) การห้ามซื้อขายสินค้า การคว่ำบาตรทางการค้า (ดู Boycott) กฎระเบียบต่างๆ ที่ทำให้การค้าขายดำเนินไปอย่างไม่คล่องตัว [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Economic Integration | การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ " หมายถึง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเดียวกัน ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป โดยการยกเลิกการเรียกเก็บภาษีศุลกากรและมาตรการอื่น ๆ ที่เป็นอุปสรรคทางการค้าให้แก่กันและกัน รวมทั้งอาจใช้นโยบายต่าง ๆ ร่วมกัน จำแนกได้หลายรูปแบบ เช่น เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม และสหภาพเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Joint Commission | คณะกรรมาธิการร่วม " เป็นกลไกความร่วมมือในระดับทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก JC มีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ การค้า การลงทุน วัฒนธรรม และสังคม โดยแต่ละฝ่ายจะสลับกันเป็นเจ้าภาพในการจัดการประชุม ซึ่งอาจมีขึ้นปีละครั้งหรือ 2-3 ปีต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความสะดวกของทั้งสองฝ่าย JC อาจมีกลไกย่อยหรือคณะกรรมการภายใต้ JC เพื่อกำกับดูแลเฉพาะเรื่องหรือมีคณะกรรมการในระดับส่วน ภูมิภาค เช่น ไทยกับมาเลเซียมีคณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee - GBC) มีบทบาทในการดูแลความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงบริเวณชายแดน และมีคณะกรรมการจัดทำหลักเขตแดนทางบก (Land Boundary Committee - LBC) เพื่อดูแลการจัดทำหลักเขตแดนระหว่างประเทศทั้งสอง นอกจากนั้น ยังมีคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Committee - JTC) ระหว่างไทยกับบางประเทศ เป็นกลไกเพื่อส่งเสริมการค้าและขจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกัน " [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
regionalism | ภูมิภาคนิยม " เป็นการรวมกลุ่มของประเทศในภูมิภาคบนพื้นฐานของการตระหนักถึงผลประโยชน์ร่วม กันในการพัฒนาและความจำเป็นที่จะต้องร่วมมือกันในด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นการระดมพลังในการปกป้องและเสริมสร้างความก้าวหน้าและสันติภาพความ มั่นคงของแต่ละประเทศและของภูมิภาคโดยส่วนรวม - open regionalism ภูมิภาคนิยมแบบเปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยไม่มีการกีดกันประเทศภายนอก - closed regionalism ภูมิภาคนิยมแบบปิด เป็นกระบวนการ รวมตัวและร่วมมือกันในภูมิภาคเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าซึ่งกันและกัน โดยมีการกีดกันประเทศภายนอก " [การทูต] |
Sanitary and Phytosanitary | สุขอนามัยและสุขอนามัยพืช เป็นมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชสำหรับผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค ในขณะเดียวกันมาตรการดังกล่าวจะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ [การทูต] |
The League of Nations | สันนิบาตชาติ เป็นองค์การที่ตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาแวร์ซาย และสนธิสัญญาอื่น ๆ ที่ทำขึ้นตอนเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา สันนิบาตชาติมีหน้าที่สำคัญสองประการ คือ1. ดูแลให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามสนธิสัญญา2. ให้โลกมีสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศแต่สันนิบาตชาติมีอายุอยู่ได้ ไม่นาน อุปสรรคสำคัญที่สุดอันหนึ่ง คือ ไม่มีสหรัฐอเมริการ่วมเป็นสมาชิกขององค์การด้วย สันนิบาตชาติประชุมกันเป็นสมัยประชุมครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1939 และหมดสภาพเป็นองค์การระหว่างประเทศลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดได้โอนไปให้แก่องค์การสหประชาชาติ [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Ad hoc Group on Article 13 | (คณะกรรมการ) ที่จัดตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยแรก, (คณะกรรมการ) ที่จัดตั้งโดยที่ประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาฯ สมัยแรก เพื่อหาทางช่วยเหลือรัฐบาลที่เกี่ยวข้องในการขจัดอุปสรรคที่อาจประสบในการดำเนินการตามพันธกรณี [Climate Change] |
Achievement | ประสบความสำเร็จ, ชัยชนะจากอุปสรรคทั้งปวง, ความสำเร็จ, ความสำเร็จของงาน, สัมฤทธิ์ผล, ประสิทธิผล, ความสำเร็จของงาน [การแพทย์] |
Adversity Intelligence/Quotient | ความสามารถฝ่าฝันอุปสรรค, Example: ความสามารถของบุคคลในการเผชิญหน้ากับสถานการณ์ทางลบที่เกิดขึ้นกับตน ด้วยความอดทนทางกาย และความอดกลั้นทางจิตใจ เพื่อเผชิญและเอาชนะเพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยอาจเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและไม่มีความแน่นอน สถานการณ์หรือปัญหานั้นอาจจะดูเล็กน้อย [สุขภาพจิต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ฝ่าฟันอุปสรรค | [fāfan uppasak] (v, exp) EN: overcome difficulties FR: surmonter les difficultés |
คำอุปสรรค | [kham uppasak] (n, exp) EN: prefix FR: préfixe [ m ] |
ประสบกับอุปสรรค | [prasop kap uppasak] (v, exp) EN: come up against difficulties; meet with difficulties FR: rencontrer des difficultés |
อุปสรรค | [uppasak] (n) EN: obstacle ; obstruction ; barrier ; impediment ; difficulty ; trouble ; hardship FR: obstacle [ m ] ; obstruction [ f ] ; barrière [ f ] ; entrave [ f ] ; difficulté [ f ] ; épreuve [ f ] ; problème [ m ] |
อุปสรรค | [uppasak] (n) EN: prefix FR: préfixe [ m ] |
อุปสรรคในการพัฒนา | [uppasak nai kān patthanā] (n, exp) EN: barrier to development FR: obstacle au développement |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
bar | (บาร์) { barred, barring, bars } n. ท่อน, แท่ง, ไม้ขวาง, แถบ, กลอน, สลักประตู, ไม้ราว, กระบอง, ลูกกรง, สิ่งกั้น, รั้ว, อุปสรรค์, ลำ, เส้น, สาย, คอก (ในศาล) , อาชีพทนายความ, ราวที่ทนายความว่าความในศาล, บัลลังก์สอบสวนในศาล, ที่จำหน่ายเครื่องดื่ม, สายสะพายอิสริยาภรณ์, บาร์ vt. ใส่กลอน |
barrier | (แบร์'รีเออะ) n. สิ่งกีดขวางทางผ่าน, สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค, Syn. obstacle |
block | (บลอค) { blocked, blocking, blocks } n. ท่อนไม้, ท่อนหิน, ก้อนใหญ่, ชิ้นใหญ่, ห่อดินระเบิด, แท่นโลหะ, เขียง, แม่พิมพ์, ลูกรอก, ตะแลงแกง, ตึกที่แบ่งออกเป็นส่วน, เครื่องกีดขวาง, ทั้งแถว, ทั้งก้อน, ทั้งปีก, ตึกใหญ่, คฤหาสน์ใหญ่, อุปสรรค, การขัดขวาง, เขตหนึ่งของตัวเมือง, เขตห่างไกลท |
breakthrough | (เบรค'ธรู) n. การพัฒนาอย่างมากมายยิ่ง, การก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญยิ่ง, การฝ่าอุปสรรค, การบุกทะลวง, Syn. advance -Conf.break through |
bridge | (บริดจฺ) n. สะพาน, สิ่งเชื่อมประสาน, ดั้ง, ดั้งจมูก, ดั้งแว่นตา, หอบังคับการเรือ, ไพ่บริดจ์. vt. ทอดสะพานข้าม, ข้าม, ทอดข้าม, ผ่านพ้น (อุปสรรค) , เชื่อมต่อ, ข้ามให้พ้น, Syn. span |
clean | (คลีน) adj. สะอาด, เกลี้ยง, หมดจด, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สุจริต, ไม่หยาบคาย, ไม่มีกัมมันตภาพรังสี, ไม่มีรอยแก้, ไม่มีอุปสรรค์, เป็นระเบียบเรียบร้อย, ไม่มีทั้งสิ้น, ไร้เดียงสา, ไม่มีอาวุธซ่อนอยู่ -adv. อย่างสะอาด, รักสะอาด, สมบูรณ์, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น. vt. ลบออก, ขจัดออก. v |
clear | (เคลียร์) { cleared, clearing, clears } adj., adv. ใส, ไม่ขุ่น, ไม่มีฝุ่น, แจ่มแจ้ง, ใสแจ๋ว, ใสสะอาด, ไร้มลทิน, ชัดเจน, แน่ชัด, ไม่มีอุปสรรค์, เปิดเผย, ไม่มีสินค้า, ไม่มีหนี้สิน, ไม่มีส่วนลด vt. ทำให้สะอาด, ทำให้ใสแจ๋ว, กวาดล้าง vi. ใส, กลายเป็นใสสะอาด, กลายเป็นชัดเจน, แลกเปลี่ |
clog | (คลอก) { clogged, clogging, clogs } v. ขัดขวาง, เต็มไปด้วย, อุดตัน, ติดเกาะ, ติดกัน, n. สิ่งที่ขัดขวาง, อุปสรรค, รองเท้าส้นไม้., See also: clogginess n. ดูclog cloggy adj. ดูclog, Syn. choke |
cross | (ครอส) { crossed, crossing, crosses } n. กากบาท, ไม้กางเขน, -Phr. (the Crossไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึงตนตาย) , สัญลักษณ์ศาสนาคริสต์, ศาสนาคริสต์, แกงไต, รูปไขว้, ตรา, การตัดสลับกัน, การประสบอุปสรรค, ความลำบาก, ความยุ่งยากใจ, การผสมข้ามพันธ์ (สัตว์หรือพืช) , พันธุ์ผสม, หมัดเหว |
difficult | (ดิฟ'ฟะคัลทฺ) adj. ยาก, ลำบาก, มีอุปสรรค, ขัดสน, ดื้อรั้น, Syn. hard, Ant. easy |
difficulty | (ดิฟ'ฟะคัลที) n. ความยากลำบาก, ความยุ่งยาก, อุปสรรค, ความดื้อรั้น, ความขัดสน -make difficulties ทำให้ยุ่งยาก, คัดค้าน, Syn. quarrel |
dike | (ไดคฺ) { diked, diking, dikes } n. เขื่อน, กำแพงกั้นน้ำ, สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค, หญิงที่รักร่วมเพศ, เลสเบี้ยน, vt. สร้างเขื่อน, ยับยั้ง, ป้องกัน, Syn. dyke |
drawback | (ดรอ'แบค) n. อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, จุดบกพร่อง, การถอนคืน, การถอนเงิน, การคืนภาษี, การคืนเงิน, Syn. hindrance |
embarrass | (เอมแบ'เริส) { embarrassed, embarrassign, embarrasses } vt. ทำให้ขวยเขิน, ทำให้ลำบากใจ, เป็นอุปสรรค, กีดขวาง vi. อึดอัดใจ, ลำบากใจ., See also: embarrassedly adv. ดูembarrass embarrassingly adv. ดูembarrass embarrassment n. ดูembarrass คำที่มีควา |
foul-up | (เฟาลฺ'อัพ) n. ความสับสนวุ่นวาย, ความติดขัด, อุปสรรค |
frustration | (ฟรัสเทร'เชิน) n. ความขัดข้องใจ, ความผิดหวัง, การพบอุปสรรค |
handicap | n. อุปสรรค, ข้อเสียเปรียบ, ความบกพร่องทางกาย, การแข่งขันต่อแต้ม vt. ทำให้เสียเปรียบ, ขัดขวาง, กีดขวาง |
hindrance | (ฮิน'ดรันซฺ) n. การหยุดยั้ง, การป้องกัน, วิธีการขัดขวาง, อุปสรรค, Syn. obstruction |
hitch | (ฮีทชฺ) v. ผูกเชือก, ผูกปม, เกี่ยวกับ, ผูกกับ, สมรส, เดินขาเป๋. n. การผูกเชือก, การผูกปม, การสะดุด, อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, การเดินขาเป๋, การดึงขึ้น, Syn. snag, obstacle, fasten |
hurdle | (เฮอ'เดิล) n. รั้วสำหรับแข่งกระโดดข้าม, เครื่องกีดขวาง, อุปสรรค. v. กระโดดข้ามรั้ว, กระโดดข้าม, ข้าม, เอาชนะอุปสรรค, สร้างสิ่งกีดขวาง, ล้อมรั้ว., See also: hurdler n., Syn. obstacle |
impediment | (อิมเพด' ดะเมินทฺ) n. การต้านทาน, การขัดขวาง, การหน่วงเหนี่ยว, อุปสรรค, การพูดติดอ่าง, ความบกพร่องในการพูด, สิ่งที่ขัดขวางการแต่งงาน (โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางครอบครัว), See also: impedimental, impedimentary adj., Syn. barr |
length | (เลงธฺ) n. ความยาว, ส่วนยาว, ระยะเวลา, ช่วงเวลา, ระยะทาง, ส่วนใหญ่. -at length เต็มที่โดยสมบูรณ์. -Phr (go to any lengths ไม่คำนึงถึงอุปสรรค ที่อาจขวางอยู่) ., Syn. extent, term, segment |
obstacle | (ออบ'สทะเคิล) n. อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง |
obstruction | (อับสทรัค'เชิน) n. สิ่งขัดขวาง, อุปสรรค, การขัดขวาง, ภาวะที่ถูกขัดขวาง, Syn. obstacle |
obstructionist | (อับสทรัค'เชินนิสทฺ) n. ผู้ขัดขวาง, ผู้กีดขวาง, ผู้เป็นอุปสรรค., See also: obstructionism |
obstruent | (ออบ'สทรูอันท) adj. ซึ่งขัดขวาง, ซึ่งกีดขวาง, ซึ่งเป็นอุปสรรค, ซึ่งขัดขวางเสียง n. ตัวขีดขวาง, |
parasynthesis | n. การสร้างคำศัพท์ที่ประกอบทั้งอุปสรรค (prefix) และอาคม (suffix) . |
penalty | (เพน'เนิลที) n. การลงโทษ, การลงทัณฑ์การลงโทษทางอาญา, ค่าสินไหมทดแทน, ค่าปรับ, ข้อเสียเปรียบ, อุปสรรค, ผลร้าย, Syn. forfeit |
prefix | (พรี'ฟิคซฺ) n. คำเสริมหน้า, อุปสรรค, คำเสริมหน้าชื่อบุคคล vt. เสริมหน้า, เติมอุปสรรค, See also: prefixable adj. prefixal adj. prefixion n. |
prevent | (พรีเวนทฺ') vt., vi. ป้องกัน, ขัดขวาง, ไปก่อน, คาดการณ์, ทำล่วงหน้า, เป็นอุปสรรค., See also: preventability n. preventable adj. preventible adj. preventer n., Syn. avert, forestall |
prevention | (พรีเวน'เชิน) n. การป้องกัน, การขัดขวาง, การยับยั้ง, อุปสรรค, เครื่องป้องกัน |
retard | (รีทาร์ด') vt., vi., n. (การ) ทำให้ช้า, ขัดขวาง, ถ่วง, หน่วง, ทำให้ลดความเร็ว, เป็นอุปสรรค, See also: retardingly adv., Syn. delay, impede |
rub | (รับ) vt. ถูก, ขัด, สี, เสียดสี, นวด, ลูบ vi. ถูออก, ขัดออก, เสียดสี n. การถู, การขัด, การสี, การนวด, การลูบ, สิ่งระคายเคือง, อุปสรรค, ความลำบาก, Syn. spread, chafe, contact, obstacle |
rubber | (รับ'เบอะ) n. ยาง, ผู้ถู, ผู้นวด, ยางลบ, ถุงยาง (คุมกำเนิด) , ผู้ฆ่าคน, อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง adj. ทำด้วยยาง, เกี่ยวกับการผลิตยาง, Syn. India rubber, natural rubber, gum elastic, caoutchouc |
shackle | (แชค'เคิล) n. กุญแจมือ, โซ่ตรวน, ตรวน, ห่วงกุญแจ, ห่วง, เครื่องพันธนาการ, การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, สายโซ่สมอเรือ, สายยู, อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง. vt. ใส่กุญแจมือ, ใส่โซ่ตรวน, กีดขวาง, ผูกมัด., See also: shackler n. |
smear | (สเมียร์) vt. ทา, ทาเปื้อน, ละเลง, ทำเลอะ, ป้ายสี, ใส่ร้าย, ลบ, ลบออก, ทำให้ประสบ, อุปสรรค, ฆ่า. n.. สีทา, สิ่งที่ใช้ทา, รอยเปรอะ, รอยเลอะ, การป้ายสี, การใส่ร้าย, รอยด่างพร้อย, มลทิน, ตัวอย่างนิดเดียวที่ทาบนแผ่นกระจกของกล้องจุลทรรศน์ เพื่อตรวจส่อง., See also: smearer n. |
snag | (สแนก) n. ตอไม้, ตอไม้ใต้น้ำ, ต้นไม้ใต้น้ำที่กีดขวางทางเดินเรือ, ส่วนยื่นแหลม, ฟันที่หักคา, ฟันที่ไม่เสมอกัน, แก่ง, อุปสรรค, สิ่งขัดขวาง, หินโสโครก vt. ติดตอไม้, ขัดขวาง, เป็นอุปสรรค, ทำให้ติดหรือชนสิ่งขัดขวางใต้น้ำ, คว้าหรือยึดเอาไปอย่างรวดเร็ว, เอาตอไม้ออก. vi. เป็นอุปสรรค, ยุ่งเหยิง, เจออุปสรรค |
stonewall | vt., vi. สกัด, ยับยั้ง, ระงับ, ต้าน. n. กำแพงหิน, อุปสรรค |
stop | (สทอพ) vt., vi., n. (การ) หยุด, ห้าม, ยับยั้ง, ยุติ, จอด, เลิก, ขัดขวาง, ป้องกัน, ตัดขาด, อุด, จุก, ปิด, พัก, (มวย) ชนะน็อคเอ๊าท์, หรี่แสง, หยุดชำระ, ใส่จุด, ใส่เครื่องหมาย '.', จุก, ที่อุด, อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, อุปกรณ์หยุดการเคลื่อนที่, การยุติการชำระ, สลักเสียงหีบเพลง, เครื่องอุด, |
stumbling block | n. อุปสรรค, สิ่งขัดขวาง, สิ่งกีดขวาง, สิ่งที่ถ่วงความเจริญ, Syn. obstacle |
thick | (ธิค) adj., adv., n. (ส่วนที่) หนา, หนาแน่น, ทึบ, หนาทึบ, มองไม่เห็น, มัว, ขุ่น, กำยำ, หยาบ, ทึ่ม, โง่, ขัน -Phr. (through thick and thin ผ่านอุปสรรคนานาประการ, เหนียวแน่น), See also: thickish adj. thickly adv. |
thorny | (ธอร์น'นี) adj. มีหนามมาก, คล้ายหนาม, เจ็บปวด, มีอุปสรรคมาก, ลำบากมาก, ยุ่งเหยิง, ซับซ้อน., See also: thornily adv. thorniness n., Syn. vexatious, painful |
trammel | (แทรม'เมิล) n. สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค, ห่วงคล้องขาม้า, ตาข่ายจับปลา, จับตก, ปลอกพันธนาการ, เครื่องวาดเป็นรูปวงรี, วงเวียนวาดรูปวงรี, ที่ค้ำจุนหม้อหรือกาน้ำเหนือเตาไฟ, โซ่ตรวน. vt. ขัดขวาง, ยับยั้ง, จับด้วยตาข่าย, ติดกับ., See also: trammeler, trammeller n. |
trouble | (ทรัพ'เบิล) n. ความยุ่งยาก, ความยากลำบาก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, อุปสรรค, ความเป็นทุกข์, ความเจ็บปวด, ความขัดแย้ง, ความไม่สบาย vt. รบกวน, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้เป็นทุกข์, ทำให้ลำบาก. -Phr. (in trouble ยุ่งยาก, ตั้งครรภ์ก่อนสมรส), See also: troubledly adv. troub |
underfoot | (อันเดอะฟุท') adv. ใต้เท้า, ข้างใต้. adj. ข้างใต้, อยู่ใต้เท้า, เป็นอุปสรรค, ขวางทาง |
unstop | (อันสทอพ') vt. เอาจุกออก, ขจัดอุปสรรค, ขจัดสิ่งกีดขวาง., See also: unstoppable adj. unstoppably adv. |
Nontri Dictionary
barricade | (n) สิ่งกีดขวาง, เครื่องกั้น, อุปสรรค |
barrier | (n) สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค, ด่านศุลกากร |
breakthrough | (n) การบุกทะลวง, การฝ่าอุปสรรค, การพัฒนา, ความก้าวหน้า |
clog | (n) เครื่องถ่วง, สิ่งที่ขัดขวาง, อุปสรรค |
difficult | (adj) ยาก, ยุ่งยาก, ลำบาก, มีอุปสรรค, ขัดสน |
difficulty | (n) ความยาก, ความยุ่งยาก, ความลำบาก, อุปสรรค, ขวากหนาม |
drawback | (n) ความเสียเปรียบ, ข้อบกพร่อง, สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค, การคืนเงิน, การถอนเงิน |
handicap | (n) การต่อให้, การเสียเปรียบ, ความบกพร่อง, อุปสรรค |
handicap | (vt) ต่อให้, ทำให้เสียเปรียบ, ขัดขวาง, เป็นอุปสรรค, กีดขวาง |
hinder | (vi, vt) กีดกั้น, ขัดขวาง, ขวางทาง, มีอุปสรรค |
hindrance | (n) อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, สิ่งกีดกั้น |
hitch | (n) เงื่อน, ปม, การผูก, ความขลุกขลัก, ความยาก, การสะดุด, อุปสรรค |
hobble | (vt) ผูก, มัด, ขัดขวาง, เป็นอุปสรรค |
hurdle | (n) รั้วไม้, อุปสรรค, เครื่องกีดขวาง |
impediment | (n) อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, สัมภาระ |
incommode | (vt) ทำให้ไม่สะดวก, ขัดขวาง, เป็นอุปสรรค |
jam | (n) การเบียด, ผลไม้กวน, แยม, การจราจรติดขัด, การแออัด, อุปสรรค |
obstacle | (n) อุปสรรค, เครื่องกีดขวาง |
obstruction | (n) การขัดขวาง, สิ่งกีดขวาง, อุปสรรค |
obstructive | (adj) ขัดขวาง, ขวาง, กีดขวาง, เป็นอุปสรรค |
ordeal | (n) วิธีพิสูจน์ความบริสุทธิ์, ความเจ็บปวด, อุปสรรค |
prefix | (n) คำอุปสรรค, คำเติมหน้า |
prevention | (n) การป้องกัน, การขัดขวาง, การกัน, การยับยั้ง, อุปสรรค |
retard | (vt) ถ่วงเวลา, ทำให้ช้า, หน่วงเหนี่ยว, เป็นอุปสรรค |
rubber | (n) ผู้ถู, ยางลบ, ยางรถยนต์, อุปสรรค, ถุงยางคุมกำเนิด |
stop | (n) เครื่องกั้น, การหยุด, การยุติ, การเลิก, อุปสรรค, การยับยั้ง, การจอด |
thorny | (adj) มีหนาม, ยุ่งยาก, มีอุปสรรคมาก, ลำบากมาก |
trammel | (n) เครื่องกีดกั้น, วงเวียน, ตาข่าย, อุปสรรค, โซ่ตรวน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
challenge | (n) การแข่งขัน, อุปสรรค, ปัญหา |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
妨害 | [ぼうがい, bougai] รบกวน, ทำให้เป็นอุปสรรค |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
接頭 | [せっとう, settou] TH: หน่วยคำที่เป็นอุปสรรคต่อหน้าคำ EN: prefix |
問題 | [もんだい, mondai] TH: ปัญหาอุปสรรค EN: problem |
障害 | [しょうがい, shougai] TH: อุปสรรค EN: obstacle |
乗り越える | [のりこえる, norikoeru] TH: ฝ่าฟัน(อุปสรรค) EN: to surmount |
乗り切る | [のりきる, norikiru] TH: ฝ่าฟันข้ามอุปสรรค EN: to weather |
Longdo Approved DE-TH
Verhinderung | (n) |die, pl. Verhinderungen| อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, สิ่งกีดกั้น, Syn. Verwehrung |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปัญหา | (n) สิ่งที่เป็นอุปสรรคและต้องพิจารณาแก้ไข |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0292 seconds, cache age: 16.114 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม