*ออส* แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


221 ผลลัพธ์ สำหรับ *ออส*
ภาษา
หรือค้นหา: ออส, -ออส-

มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
inland taipan[อินแลด์ ไทพัน] (n) งูชนิดหนึ่งอาศัยอยู่ในประเทศออสเตรเลียบริเวณแห้งแล้ง ชอบอากาศเย็น ออกล่าเหยื่อในตอนกลางคืนหรือตอนอากาศเย็น ขึ้นชื่อได้ว่าเป็นงูที่มีพิษร้ายแรงทีั่สุดในโลกด้วยพิษมีปล่อยมาเพียงแค่ 44 มิลลิกรัมต่อครั้ง แต่มีความรุนแรงกว่างูเห่าอินเดียถึง 50 เท่า
strine(n) สำเนียงอังกฤษออสเตรเลีย

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ไบออส(n) bios, See also: basic input/output system, Example: โปรแกรมบูตที่บรรจุอยู่ในไบออสจะสั่งให้พีซีตรวจสอบว่ามีดิสก์ที่ฟอร์แมตไว้ในฟลอปปี้ไดรฟ์ A หรือไม่, Thai Definition: ระบบอินพุทและเอาท์พุทพื้นฐาน ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ ที่สนับสนุนการส่งผ่านของข้อมูลระหว่างส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ เช่น หน่วยความจำ ดิสก์ และจอภาพ
ออสเมียม(n) osmium, See also: Os, Thai Definition: ธาตุลำดับที่ 76 สัญลักษณ์ Os เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ 3000 ํ ซ. เนื้อแข็งมาก ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ
ทวีปออสเตรเลีย(n) Australia, Example: ประเทศนิวซีแลนด์เป็นประเทศที่อยู่ในทวีปออสเตรเลีย, Thai Definition: แผ่นดินทางซีกโลกใต้ ที่ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ออสเมียมน. ธาตุลำดับที่ ๗๖ สัญลักษณ์ Os เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๓๐๐๐ °ซ. เนื้อแข็งมาก ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ.
กระตั้วน. ชื่อนกปากขอหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Psittacidae ลักษณะคล้ายนกแก้วแต่ตัวโตกว่า พบในทวีปออสเตรเลียและบริเวณใกล้เคียง เช่น กระตั้วหงอนเหลือง [ Cacatua galerita (Latham) ] กระตั้วดำ [ Probosciger aterrimus (Gmelin) ] .
กราฟเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามที่กำหนดขึ้นด้วยสมการหรืออสมการ.
การเวก ๒(การะ-) น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Paradisaeidae แต่ละชนิดมีสีสันหลากหลาย อาจมี ๕-๑๐ สีในตัวเดียวกัน ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย พบในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีผู้นำมาเลี้ยงตามบ้าน เช่น ชนิด Paradisea apoda Linn.
เครดิตฟองซิเอร์น. กิจการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าปรกติ หรือประกอบธุรกิจการรับซื้ออสังหาริมทรัพย์ตามสัญญาขายฝากเป็นทางค้าปรกติ.
เครือจักรภพ, เครือรัฐ(-จักกฺระพบ, -รัด) น. กลุ่มประเทศหรือรัฐที่มีการปกครองตนเอง แต่ยอมรับนับถือประมุขร่วมกัน เช่น ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ รัฐต่าง ๆ ในเครือรัฐออสเตรเลีย.
เงาะ ๑น. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างตํ่าเตี้ย ตัวดำ ผมหยิก ในตระกูลนิกริโต (Negrito) และตระกูลออสโตรเนเชียน (Austronesian) อยู่ในแหลมมลายู เรียกตัวเองว่า กอย ได้แก่ พวกเซมัง และซาไกหรือเซนอย, โดยปริยายเรียกคนที่มีรูปร่างเช่นนั้น.
จิงโจ้ ๑น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ Macropodidae ขาคู่หน้าสั้น คู่หลังยาวและแข็งแรง ใช้กระโดดได้ไกล ๆ หางยาวและแข็งแรงใช้เป็นอวัยวะช่วยในการทรงตัว ตัวเมียออกลูกเป็นตัว ไม่มีรก มีถุงที่หน้าท้องสำหรับใส่ลูก มีหลายชนิด เช่น ชนิด Macropus rufus (Desmarest) มีถิ่นกำเนิดในทวีปออสเตรเลีย.
ดอลลาร์น. ชื่อหน่วยเงินตราที่ใช้เรียกในบางประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย.
ทวีป(ทะวีบ) น. เปลือกโลกส่วนที่เป็นพื้นดินซึ่งมีขนาดใหญ่โตกว้างขวาง มี ๗ ทวีป คือ เอเชีย ยุโรป ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ และแอนตาร์กติกา บางทวีปกำหนดนํ้าล้อมรอบเป็นขอบเขต เช่น ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตาร์กติกา บางทวีปกำหนดภูเขา ทะเล แหล่งอารยธรรมเป็นต้น เป็นแนวแบ่งเขต เช่น ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป
ทอร์นาโดน. ชื่อพายุประจำถิ่นชนิดหนึ่ง มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก.
ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์น. การประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ หรือการรับซื้ออสังหาริมทรัพย์โดยวิธีขายฝาก.
โนรี ๑น. ชื่อนกปากขอขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Psittacidae ตัวมีสีสันสวยงาม เช่น สีแดงสดหรือเลือดหมู นํ้าเงิน ม่วง เขียว ปีกสีเขียวหรือเหลือง หางสั้น มีถิ่นกำเนิดอยู่ในหมู่เกาะนิวกินี อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย มีหลายชนิด เช่น ชนิด Lorius chlorocercus Gould, L. lorry (Linn.), L. garrulus (Linn).
บริษัทเครดิตฟองซิเอร์น. บริษัทมหาชนจำกัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจรับฝากเงินหรือรับเงินจากประชาชนที่จะจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกำหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั้นโดยการให้กู้ยืมเงินโดยวิธีรับจำนองอสังหาริมทรัพย์ หรือการรับซื้ออสังหาริมทรัพย์โดยวิธีขายฝาก.
บุริมสิทธิพิเศษน. บุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์เฉพาะอย่างของลูกหนี้.
พายุทอร์นาโดน. พายุประจำถิ่นขนาดเล็ก แต่มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก.
ราหุ, ร่าหุ์, ราหู ๑น. ชื่ออสูรตนหนึ่งมีตัวขาดครึ่งท่อน เชื่อกันว่าเมื่อเวลามีสุริยคราสหรือจันทรคราสเป็นเพราะดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ถูกราหูอมเอาไว้, ในตำราโหรว่า เป็นเทวดาพระเคราะห์ มีอาภรณ์และพาหนะสีคลํ้า
เรือรูปสัตว์น. เรือหลวง มีทั้งประเภทเรือที่ขุดขึ้นจากซุงทั้งต้นกับเรือเสริมกราบ มีลักษณะพิเศษตรงศีรษะเรือต่อไม้ขึ้นไปแล้วสลักเป็นรูปสัตว์หิมพานต์ หรือรูปอมนุษย์ต่าง ๆ เช่น ครุฑ อสุรปักษา พญานาค ตอนท้ายเรือต่อไม้ทำเป็นทวนเชิดงอนไปล่ปลิวไปทางด้านหลัง เช่น เรือเอกไชยเหินหาว เรือพาลีรั้งทวีป เรือครุฑเหินระเห็จ เรืออสุรปักษี, บางทีเรียกว่า เรือกระบวนปิดทอง.
ลูกหมาก ๑น. ชื่อต่อมในเพศชาย รูปร่างคล้ายเนื้อในของผลหมาก อยู่รอบท่อปัสสาวะส่วนต้นใต้กระเพาะปัสสาวะ ทำหน้าที่ผลิตนํ้าเลี้ยงเชื้ออสุจิบางส่วน
เวนคืนก. โอนคืนที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นของเอกชนมาเป็นของรัฐ โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย.
เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ก. บังคับเอาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นของเอกชนคืนมาเป็นของรัฐโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยรัฐต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม.
สิทธิเก็บกินน. สิทธิ์เหนืออสังหาริมทรัพย์ อันเป็นเหตุให้ผู้ทรงสิทธินั้นมีสิทธิ์ครอบครองใช้ และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งอสังหา-ริมทรัพย์นั้น.
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศก. สืบพันธุ์โดยการผสมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การผสมของเชื้ออสุจิกับไข่ของเพศหญิง.
หงส์หยกน. ชื่อนกปากขอขนาดเล็กชนิด Melopsittacus undulatus (Shaw) ในวงศ์ Psittacidae ตัวมีหลายสี เช่น เขียว เหลือง ฟ้า ขาว กินเมล็ดพืช เป็นนกที่นำเข้ามาในประเทศไทย มีถิ่นกำเนิดในประเทศออสเตรเลีย.
อีมู ๑น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Dromaius novaehollandiae (Latham) ในวงศ์ Dromaiidae ลำตัวสีเทาอมดำ สูงประมาณ ๕ ฟุต ปีกเล็กมาก บินไม่ได้ มีนิ้วตีน ๓ นิ้ว เล็บแหลมคมใช้ในการต่อสู้ เป็นนกที่นำเข้ามาในประเทศไทย มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปออสเตรเลีย.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
plasma osmotic pressure; pressure, oncoticความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pressure, oncotic; pressure, plasma osmoticความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pressure, osmoticความดันออสโมซิส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pressure, plasma osmotic; pressure, oncoticความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
solution, isotonicสารละลายความดันออสโมซิสเสมอเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osm(o)-๑. กลิ่น๒. ออสโมซิส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osm(o)-๑. กลิ่น๒. ออสโมซิส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
Ossianismคตินิยมออสเซียน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
osmolalityออสโมแลลิตี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osmolarityออสโมลาริตี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osmosisออสโมซิส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osmosisออสโมซิส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
osmotic potentialศักย์ออสโมซิส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
osmotic pressureความดันออสโมซิส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
osmotic pressureความดันออสโมซิส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
oligospermiaเชื้ออสุจิน้อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
oscillatorเครื่องกำเนิดสัญญาณ, ตัวกำเนิดสัญญาณ, ออสซิลเลเตอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
oösphereโอเออสเฟียร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
oösporeโอเออสปอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
oncotic pressure; pressure, plasma osmoticความดันออสโมซิสโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
Australian Aboriginal artศิลปะชนดั้งเดิมออสเตรเลีย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Chancellorนายกรัฐมนตรี (ของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันและสาธารณรัฐออสเตรีย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
inseminationการผสมเชื้อ, การใส่เชื้ออสุจิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
isotonic๑. ความตึงคงที่๒. ความดันเสมอ๓. ความดันออสโมซิสเสมอเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
isotonic solutionสารละลายความดันออสโมซิสเสมอเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hypertonic๑. -กล้ามเนื้อตึงตัวมาก๒. -ความดันออสโมซิสสูง(กว่าเลือด) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
hypotonic๑. -กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย๒. -ความดันออสโมซิสต่ำ(กว่าเลือด) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Digital oscilloscopeดิจิทัลออสซิลโลสโคป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Oscilloscopeออสซิลโลสโคป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Osmosisออสโมซิส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Reverse osmosisออสโมซิสผันกลับ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Cathode ray oscilloscopeแคโทดเรย์ออสซิลโลสโคป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Oscillator, Transistorทรานซิสเตอร์ออสซิลเลเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
International Atomic Energy Agencyทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, ไอเออีเอ, หน่วยงานสากลด้านความร่วมมือทางนิวเคลียร์ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2500 ภายใต้องค์การสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลก ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ ให้ความช่วยเหลือด้านการใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในทางสันติเพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงของมนุษยชาติ [นิวเคลียร์]
Free holdการลงทุนซื้ออสังหาริมทรัพย์, การลงทุนซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อให้มีกรรมสิทธิ์ในการครอบครอง, Example: การลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์โดยการซื้ออสังหาริมทรัพย์มาเป็นกรรมสิทธิ์ ซึ่งมีผลให้กองทุนรวมสามารถขายอสังหาริมทรัพย์ชิ้นนั้นออกไปได้เมื่อมีเหตุให้ต้องเลิกกองทุนรวม โดยถ้าอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมีมูลค่าสูงขึ้น กองทุนรวมก็มีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนที่สูงขึ้นด้วย ผู้ถือหน่วยลงทุนจะมีโอกาสได้รับเงินปันผลในช่วงที่กองทุนรวมดำเนินการอยู่ และมีโอกาสได้รับเงินลงทุนคืนตามมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเมื่อเลิกกองทุนอีกด้วย [ตลาดทุน]
Reverse osmosisการออสโมซีสผันกลับ, Example: กระบวนการกำจัดสิ่งปะปนในน้ำ เช่นเกลือ โดยการผ่านเยื่อบาง (membrane) [สิ่งแวดล้อม]
Art, Australianศิลปะออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Art, Austrianศิลปะออสเตรีย [TU Subject Heading]
Arts, Australianศิลปกรรมออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Arts, Austrianศิลปกรรมออสเตรีย [TU Subject Heading]
Australasiaออสตราเลเซีย [TU Subject Heading]
Australiaออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Australian aboriginesชนพื้นเมืองออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Cathode ray oscilloscopeแคโทด เรย์ ออสซิลโลสโคป [TU Subject Heading]
Feedback oscillatorsออสซิลเลเตอร์ระบบป้อนกลับ [TU Subject Heading]
Investments, Australianการลงทุนของออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Oscillators, Electricออสซิลเลเตอร์ไฟฟ้า [TU Subject Heading]
Osmolar concentrationความเข้มข้นออสโมล่าร์ [TU Subject Heading]
Osteopetrosisโรคออสติโอพีโตรซิส [TU Subject Heading]
Osteosarcomaออสติโอซาร์โคมา [TU Subject Heading]
Painting, Australianจิตรกรรมออสเตรเลีย [TU Subject Heading]
Western Australiaออสเตรเลีย (ภาคตะวันตก) [TU Subject Heading]
Reverse Osmosis, ROออสโมซิสผันกลับ, อาร์โอ, Example: กระบวนการกำจัดสิ่งปะปนในน้ำ เช่น เกลือ โดยการอัดผ่านเยื่อบาง (membrane) [สิ่งแวดล้อม]
ASEAN-Australia Development Cooperation Programmeโครงการความร่วมมือด้านการพัฒนาอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นกรอบความร่วมมือระยะ 5 ปี ที่ออสเตรเลียให้ความร่วมมือกับ อาเซียนในด้านโครงการพัฒนากับอาเซียน โดยจะเริ่มโครงการครั้งแรกระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2544-2549 มีมูลค่ารวม 45 ล้านเหรียญออสเตรเลีย ซึ่งอาเซียนต้องออกเงินสมทบโครงการอีกร้อยละ 20 อนึ่ง AADCP เป็นโครงการความร่วมมือที่เกิดขึ้นเพื่อทดแทน AAECP (ASEAN-Australia Economic Cooperation Programme หรือ โครงการร่วมมือด้านเศรษฐกิจอาเซียน-ออสเตรเลีย) ซึ่งจะสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2546 [การทูต]
ASEAN-Australia Forumการประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต]
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategyยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต]
ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER)ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต]
Australia Agency for International Developmentหน่วยงานด้านความช่วยเหลือด้านการพัฒนาของออสเตรเลีย [การทูต]
Australia-Thailand Business Councilสภาธุรกิจไทย-ออสเตรเลีย เป็นเวทีความร่วมมือด้านธุรกิจระหว่าง 2 ประเทศ [การทูต]
Australia New Zealand Army Corps Dayวันที่ระลึกทหารผ่านศึกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2458 หน่วยปฏิบัติการร่วมของกองทัพบกออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ได้ยกพลขึ้นบกบนคาบ สมุทรกาลิโปลี (Gallipoli) ช่องแคบดาร์ดาแนล (Dardanelles) ประเทศตุรกีเพื่อเปิดเส้นทางเดินเรือให้กับฝ่ายสัมพันธมิตรไปสู่ทะเลดำใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ทำให้ทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก ทั้งสองประเทศจึงถือเอาวันที่ 25 เมษายนของทุก ๆ ปี เป็นวันที่ระลึกและจัดพิธีไว้อาลัยแก่ทหารผ่านศึกในสมรภูมิครั้งนั้นและทหาร ผ่านศึกที่เสียชีวิตในสมรภูมิอื่น ๆ ด้วย [การทูต]
Australia-New Zealand-USสนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-สหรัฐอเมริกา " โดยตกลงให้มีการช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อถูกคุกคามจากประเทศนอกภาคี ปัจจุบัน ANZUS ยังคงสถานะอยู่แต่ไม่มีการดำเนินการใด ๆ (non-operational) เนื่องจากความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกากับนิวซีแลนด์ยุติลง โดยนิวซีแลนด์ยังไม่ละทิ้งสนธิสัญญา ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าอาจจะมีการรื้อฟื้นขึ้นอีก " [การทูต]
Asia Pacific Economic Cooperationความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
ASEAN Dialogue Partnersคู่เจรจาอาเซียน " ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย " [การทูต]
Asia Europe Meetingการประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต]
Bangkok Processเป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต]
The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asiaการประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย " CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน " [การทูต]
Commission on Human Rightsคณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต]
Commonwealth of Nationsการรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต]
concert of nationsความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต]
Congress of Viennaเป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต]
Convention on Cluster Munitionsอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน [การทูต]
East Asia Latin American Forumเวทีหารือระหว่างภูมิภาคเอเชียตะวันออกและลาตินอเมริกา " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 ประกอบด้วยสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ จีน ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศจาก ภูมิภาคลาตินอเมริกา 12 ประเทศ เม็กซิโก ปานามา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ เวเนซุเอลา เปรู บราซิล ชิลี อาร์เจนตินา อุรุกวัย ปารากวัย และโบลิเวีย " [การทูต]
European Unionสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต]
Forum for East Asia - Latin America Cooperationเวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต]
Five Power Defence Arrangementความตกลงด้านการป้องกันประเทศระหว่างสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอังกฤษ จัดให้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 [การทูต]
Great Powersประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ดอลลาร์ออสเตรเลีย[dønlā Østrelīa] (n, exp) EN: Australian dollar  FR: dollar australien [ m ]
ออสโล[Øslō] (n, prop) EN: Oslo  FR: Oslo
ออสเทนด[Østhēnt] (tm) EN: Ostend  FR: Ostende
ออสทีโอโลยี[østhīōlōyī] (n) EN: osteology  FR: ostéologie [ f ]
ออสเตรเลีย[Østrēlīa = Øtsatrēlīa] (n, exp) EN: Australia  FR: Australie [ f ]
ออสเตรเลียน[Østrēlīen] (adj) EN: Australian  FR: australien
ออสเตรีย[Østrīa = Øttrīa] (n, exp) EN: Austria  FR: Autriche [ f ]
ออสเตรีย เวียนนา[Østrīa Wīennā] (tm) EN: Austria Vienna  FR: Austria Vienne [ m ]
ออสเมียม[øtmīem = øsmīem] (n) EN: osmium  FR: osmium [ m ]
ประเทศออสเตรเลีย[Prathēt Østrēlīa] (n, prop) EN: Australia  FR: Australie [ f ]
ประเทศออสเตรีย[Prathēt Østrīa = Prathēt Øttrīa] (n, prop) EN: Austria  FR: Autriche [ f ]
สายการบินออสเตรียนแอร์ไลน์ส[Sāikānbin Østrīen Aēlai] (tm) EN: Austrian Airlines ; Austrian  FR: Austrian Ailines [ f ] ; Austrian
ออสเตรเลีย[Thawīp Østrelīa] (n, prop) EN: Australia  FR: Australie [ f ] ; continent australien [ m ]
หญิงชาวออสเตรเลีย[yingchāo Østrelīa] (n, prop) EN: Australian woman  FR: Australienne [ f ] ; ressortissante australienne [ f ]
เหยี่ยวออสเปร[yīo øsprē] (n, exp) EN: Pandionidae
เหยี่ยวออสเปร[yīo øsprē] (n) EN: Osprey  FR: Balbuzard pêcheur [ m ] ; Aigle pêcheur [ m ] ; Balbuzard fluviatile [ m ] ; Petit Aigle pêcheur [ m ] ; Aigle plongeur [ m ]

Longdo Approved EN-TH
Chancellor(n) นายกรัฐมนตรี (ของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และของสาธารณรัฐออสเตรีย)
Steve Irwin(name) ชื่อชาวออสเตรเลีย (1962 - 2006) เป็นผู้ชำนาญด้านสัตว์ป่าและมีผลงานรายการโทรทัศน์, มีสมญานามว่า นักล่าจระเข้, ชอบแสดงแบบเสี่ยงอันตรายกับสัตว์
Image:
Viennoiserie(n) ขนมอบ ประเภทที่ใช้แป้งที่มียีสต์คล้ายกับขนมปัง แต่มีการใส่ส่วนประกอบเพิ่มเติมเช่น ไข่ เนย นม ครีม น้ำตาล เข้าไป ทำให้ได้ออกมาเป็นขนมที่ rich และมีรสหวาน โดยมากมักจะใช้แป้งที่ทำออกมาเป็นลักษณะเป็นชั้นๆ (laminated dough) ตัวอย่างขนมอบประเภทนี้ เช่น ครัวซอง (croissants), บริยอช (brioche), ขนมปังไส้ช็อกโกแลต (pain au chocolat) คำนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลตรงตัวคือ "things of Vienna" ของแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Aborigine(n) ชนพื้นเมืองในทวีปออสเตรเลีย, See also: ชนเผ่าอะบอริจิน
Australia(n) ประเทศออสเตรเลีย
Australia(n) ออสเตรเลีย
Australian(n) ชาวออสเตรเลีย
Australian(adj) ที่เกี่ยวกับออสเตรเลีย
Canberra(n) เมืองหลวงของประเทศออสเตรเลีย, See also: เมืองแคนเบอรา
cockatoo(n) นกชนิดหนึ่งตระกูลเดียวกับนกแก้วมีถิ่นกำเนิดในออสเตรเลีย
Eastern hemisphere(n) ครึ่งโลกด้านตะวันออก (ด้านตะวันออกของเส้นสมมติ Greenwich) ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลียและส่วนใหญ่ของยุโรป
echidna(n) ตัวตุ่น, See also: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมของออสเตรเลีย กินแมลง มีจมูกยาว มีขนหยาบและหนามยาว, Syn. spiny anteater
emu(n) นกชนิดหนึ่งในประเทศออสเตรเลียบินไม่ได้คล้ายกับนกกระจอกเทศ, See also: นกอีมู
eucalyptus(n) ต้นยูคาลิปตัส, See also: ต้นไม้ที่มีแหล่งกำเนิดในออสเตรเลียมีใบหยาบและมีกลิ่นหอม น้ำมันของต้นไม้ชนิดนี้สามารถ
hail up(phrv) พักค้างคืนในโรงแรม (ใช้ในภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย และเป็นคำไม่เป็นทางการ)
Kaiser(n) จักรพรรดิซีซาร์, See also: อดีตจักรพรรดิเยอรมันและออสเตรีย, Syn. Caesar
lyrebird(n) นกชนิดหนึ่งพบในประเทศออสเตรเลียตัวผู้มีหางยาว
macadamia(n) ถั่วออสเตรเลียจำพวก Macadamia ternifolia เปลือกแข็ง
macadamia nut(n) ถั่วออสเตรเลีย, Syn. macadamia
Malay Archipelago(n) หมู่เกาะมลายูอยู่ระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลีย
New South Wales(n) รัฐนิวเซาท์เวลส์ของออสเตรเลีย
Oceania(n) หมู่เกาะทางแปซิฟิก, See also: ได้แก่ Mironesia, Melanesia, Polynesia และเกาะบางส่วนในออสเตรเลียและมาเลย์, Syn. Oceanica
Oscar(n) รางวัลภาพยนตร์ออสการ์
osmosis(n) กระบวนการซึมผ่าน, See also: กระบวนการออสโมซิส
outback(n) ชนบท (โดยเฉพาะในออสเตรเลีย), See also: พื้นที่ห่างไกลความเจริญ
Oz(n) ออสเตรเลีย (คำไม่เป็นทางการ)
down under(sl) ประเทศออสเตรเลีย, See also: ดินแดนในประเทศออสเตรเลีย
Tasmania(n) รัฐทัสมาเนีย (ของออสเตรเลีย)
turps(n) เหล้า (ใช้ในออสเตรเลีย), See also: เครื่องดื่มมีอัลกอฮอล์
Vienna(n) เมืองเวียนนาเป็นเมืองหลวงและเมืองท่าของออสเตรีย
walkabout(n) การเดินทางในป่าของชนเผ่าอะบอริจิ้นในออสเตรเลีย
washup(n) ผลที่ได้ (เป็นคำที่ใช้กันในออสเตรเลีย), Syn. outcome
watchband(n) สายนาฬิกาข้อมือ, See also: เป็นคำที่ใช้กันในสหรัฐอเมริกา, แคนาดา และออสเตรเลีย
wombat(n) สัตว์พื้นเมืองออสเตรเลียคล้ายหมีตัวเล็กหรือจิงโจ้, See also: สัตว์คล้ายจิงโจ้ที่มีถุงกระเป๋าหน้าท้องและกินพืชเป็นอาหาร ชื่อละตินคือ ombatus ursinus Lasiorhinus latifrons
woodchop(n) การแข่งขันตัดไม้, See also: จัดขึ้นตามงานในชนบทของประเทศออสเตรเลีย
wowser(n) ผู้เคร่งศาสนาเกินไป (ใช้ในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์), Syn. puritan
yabber(vi) พูดรัว (แบบออสเตรเลีย-ไม่เป็นทางการ), See also: พูดอย่างเร็ว
yabber(vt) พูดรัว (แบบออสเตรเลีย-ไม่เป็นทางการ), See also: พูดอย่างเร็ว
yabber(n) การพูดที่เร็วและเข้าใจยาก (แบบออสเตรเลีย)
yakka(n) งาน (แบบออสเตรเลียและนิวซีแลนด์) (คำไม่เป็นทางการ), See also: การทำงาน

Hope Dictionary
aalii(อะลี' อี) n. ชื่อต้นไม้จำพวก Dodonaea viscosa ในออสเตรเลีย ฮาวาย อาฟริกา และอเมริกากลาง (a bushy shrub)
adductor(อะดัค' เทอะ) n. กล้ามเนื้อที่ดึงAdelaide (แอด' ดิเลด) ชื่อเมืองในออสเตรเลีย
adios(แอดดิออส') interj. ลาก่อน, อำลา
anfractuosity(แอนแฟรคซุออส' ซิที) n. ภาวะวกวน, ทางวกวน (state of being anfractuous)
archduchess(อาร์ค'ดัชซิล) n. ภรรยาของ archduke, เจ้าหญิงออสเตรีย
archduke(อาร์ค'ดูค) n. ตำแหน่งเจ้าชายออสเตรีย (chief duke)
arunta(อะรัน'ทะ) n. คนป่าที่เป็นคนพื้นเมืองแต่แรกเริ่มในภาคกลางและเหนือของออสเตรเลีย
arvo(อาร์'โว) n. ตอนบ่าย (คำแสลงของภาษาออสเตรเลีย) (afternoon)
aurtralopithecine(ออสเทรโลพิ'ธิไซน์) n. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมพวกมนุษย์ จำพวก Australopithecus ที่สูญพันธุ์ไป (a primate)
auscultate(ออส'คัลเทท) vt., vi. ใช้หูฟังตรวจโรค. -ausculatative adj.
auscultation(ออสคัลเท'เชิน) n. การฟังตรวจโรค (ด้วยเครื่อง stethoscope หรือเครื่องมืออื่น ๆ) , การฟังเสียง (listening)
auspicate(ออส'พะเคท) vt. ทำพิธีเปิด, เริ่มแรก (inaugurate)
auspicial(ออสพิ' ซัล) adj. เกี่ยวกับ auspices, ได้ฤกษ์, เป็นมงคล (of auspices)
auspicious(ออสพิช'เชิส) adj. ได้ฤกษ์, เป็นมงคล, รุ่งเรือง. -auspiciousness, Syn. propitious, promising, Ant. inauspicious
aussie(ออส'ซี) n. ชาวออสเตรเลีย
austenite(ออส'ทะไนทฺ) n. สารละลาย (หลอดเหลว) ของคาร์บอนและธาตุอื่น ๆ ในเหล็ก
austere(ออสเทียร์') adj. เข้มงวด, มัธยัสถ์, อดออม, ขึงขัง, วินัยจัด, สมถะมาก. -austereness n., Syn. severe, rigid, self-denying
austerity(ออสเทีย'ริที) n. ความสมถะ, ความมัธยัสถ์, ความสมถะมาก, ความมีวินัยจัด
austral(ออส'ทรัล) adj. ทางใต้, Australian
australasia(ออสทระเล'เชียะ, -ชะ) n. ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเกาะข้างเคียงใน
australia(ออสเทร'เลีย) n. ประเทศออสเตรเลีย
australian(ออสเทร'เลียน) adj. เกี่ยวกับออสเตรเลีย -n. ชาวออสเตรเลีย, ชาวพื้นเมืองออสเตรเลีย, ภาษาออสเตรเลีย
australian aborigineชาวพื้นเมืองออสเตรเลียมีผิวดำ
australoid(อสส'พระลอยด์) n. มนุษย์เผ่าพันธ์หนึ่งที่รวมทั้งชาวพื้นเมืองออสเตรเลีย Papuans คนแระในฟิลิปปินส์ มาเลเซีย. -adj. เกี่ยวกับมนุษย์เผ่าพันธุ์ดังกล่าว
austria(ออส'เทรีย) n. ประเทศออสเตรีย -Austrian adj.
austroasiatic(ออสโทรเอซีแอท'ทิค) n. ภาษาตระกูลหนึ่งในอาเซียอาคเนย์ ประกอบด้วยภาษาญวน เขมรและมอญ (a familuy of languages)
austronesia(ออสโทรนี'เซีย) n. หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิคตอนกลางและใต้
austronesian(ออสโทรนิ'เซียน) adj. เกี่ยวกับหมู่เกาะและภาษา Austronesta; Malayo- Polynesian. -n. Malayo-Polynesian
bios(ไบออส) ย่อมาจาก Basic Input/Output System เป็นชื่อโปรแกรมชุดหนึ่งซึ่ง จะควบคมการทำงานของคอมพิวเตอร์ในส่วนที่เกี่ยวกับการนำข้อมูลเข้าไปเก็บและการแสดงผล (หน่วยบันทึก แผงแป้นอักขระ จอภาพฯ) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บไบออสนี้ไว้ในชิปตัวหนึ่งที่สร้างมาให้อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (built in) หรือที่เรียกว่า "รอม" (ROM) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะอ่านคำสั่งในไบออสก่อนเสมอ
blackfellown. คนป่าพื้นเมืองของออสเตรเลีย
budgerigar(บัดจะริกา') n. นกแก้วออสเตรเลียมีขนสีเขียวเป็นลายดำและเหลือง
canberran. ชื่อเมืองหลวงของออสเตรเลีย
chaos(เค'ออส) n. ความอลหม่าน, ความสับสนวุ่นวาย, ความไม่มีระเบียบ, Syn. disarray
curiosity(คิวริออส'ซิที) n. ความอยากรู้อยากเห็น, ของหายาก, ของลายคราม, ลักษณะที่แปลกและน่ารู้น่าสนใจ, ความผิดธรรมดา, ความแปลก, Syn. novelty
diocesan(ไดออส'ซิชัน) adj. เกี่ยวกับเขตปกครองของbishop
freud(ฟรอยด์, ซิก'มันด) n. นักประสาทวิทยาชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งจิตเวชวิเคราะห์
hostler(ฮอส'เลอะ, ออส'เลอะ) n. คนดูแลม้า (โดยเฉพาะที่โรงแรม), See also: hostlership, n.
impetuosity(อิมเพช' ชุออส' ซิที) n. ความหุนหันพลันแล่น, ความบุ่มบ่าม, ความรุนแรง, ความใจร้อน, การกระทำที่ใจร้อนหรือหุนหันพลันแล่น, การกระทำที่มีแรงกระตุ้นมาก
inauspicious(อินออสพิช' เชิส) adj. ไม่เป็นมงคล, ลางร้าย, เป็นผลร้าย., See also: inauspiciously adv. inauspiciousness n.
isotonic(ไอซะทอน'นิค) adj. เกี่ยวกับการละลายที่มีความดันออสโมซิสเท่ากัน
memory unitหน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่
mendel(เมน'เดิล) n. Gregor Johannพระและนักพฤกษศาสตร์ชาวออสเตรียผู้เป็นบิดาแห่งพันธุศาสตร์ (ค.ศ.1822-1884)
netbios(เน็ตไบออส) ย่อมาจาก Network Basic Input / Output System หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู Bios ประกอบ
network basic input / outไบออสเครือข่ายใช้ตัวย่อว่า NetBIOS (อ่านว่า เน็ตไบออส) หมายความถึงไบออสที่ทำหน้าที่เป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับชนิดของอุปกรณ์นำเข้าและแสดงผล ตลอดจนหน่วยความจำที่จะใช้ในเครือข่าย เพื่อช่วยไบออสของแต่ละเครื่องที่มีอยู่แล้วอีกทีหนึ่ง ดู BIOS ประกอบ
noas(เน'ออส) n. โบสถ์, วิหาร, วัดวาอาราม
ocellated(ออส'ซะเลทิด, โอเซล'ละทิด) adj. คล้ายตา, มีส่วนคล้ายตา adj. ocellate
ocellation(ออสซะเล'เชิน) n. จุดที่คล้ายตา
operator(ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S...
oscar(ออส'เคอะ) n. รางวัล ผลงานดีเด่นของวงการภาพยนตร์ในอเมริกา
oscillate(ออส'ชะเลท) vi., vt. (ทำให้) แกว่ง, ส่าย, สั่น, รัว, ลังเลใจ., Syn. vaccillate

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
-kuy-[[ kuːy ]] (n) kuy (n ) ภาษากูย หรือ ภาษากวย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทยพื้นที่จังหวัดแถบภาคอีสานใต้ เช่น จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด
kuy(n) ภาษากูย หรือ ภาษากวย หรือ ภาษาส่วย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร กลุ่มกะตู พบในไทย ในจังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี และร้อยเอ็ด
miamia(n) กระท่อมของชนเผ่าอะบอริจินในออสเตรเลีย
trypticase soy agar[วุ้น-ถั่ว-เหลือง-ทริป-ติ-เคส] (n, name) วุ้นถั่วเหลืองทริปติเคส (Trypticase soy agar) หรือเรียกสั้นๆว่า (TSA) เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ประกอบด้วยเคซีนและถั่วเหลืองที่ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ซึ่งเป็นแหล่งของกรดอะมิโนและธาตุอาหารอื่นๆ มีเดกซ์โตสเป็นแหล่งคาร์บอน มีโซเดียมคลอไรด์เพื่อรักษาแรงดันออสโมติก และไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นบัฟเฟอร์ อาหารนี้อาจจะเพิ่มเลือดหรือยาปฏิชีวนะตามแต่ความต้องการในการเลี้ยงเชื้อ อาหาร 1 ลิตรประกอบไปด้วย 15 g (ทริปโตน) 5 g (ซอยโตน — ถั่วเหลืองที่ย่อยด้วยเอนไซม์) 5 g (NaCl หรือโซเดียมคลอไรด์) 15 g (วุ้น)

Longdo Approved DE-TH
Australier(n) |der, pl. Australier| คนออสเตรเลีย เช่น Über 1, 3 Millionen Australier haben mindestens einen deutschen Vorfahren., See also: Australierin
Australierin(n) |die, pl. Australierinnen| คนออสเตรเลียผู้หญิง เช่น Ich wohnte zusammen mit zwei Australierinnen, einer Britin und einer weiteren Deutschen in einer Wohnung direkt auf dem Gelände, neben dem Internat.

Longdo Approved FR-TH
Autriche|f| ประเทศออสเตรีย, See also: autrichien
autrichien(adj) |-ienne| ที่เกี่ยวกับประเทศออสเตรีย

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 1.3814 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม