200 ผลลัพธ์ สำหรับ *อภิปราย*
ภาษา
หรือค้นหา: อภิปราย, -อภิปราย-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อภิปราย | (v) debate, See also: discuss, contend, Example: ถ้าครูห้ามเด็กคุยในห้องเรียน เด็กก็เลยไม่ตอบคำถามไม่อภิปรายในห้องเรียน, Thai Definition: พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) |
ผู้อภิปราย | (n) debater, Example: การอภิปรายเรื่องภาวะเศรษฐกิจไทยมีผู้อภิปราย 5 คน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) |
ผู้ร่วมอภิปราย | (n) panelist, Example: การอภิปรายเกี่ยวกับการปฎิรูปการศึกษามีผู้ร่วมอภิปราย 4 ท่าน, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้เข้าร่วมพูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. |
ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. |
อภิปราย | (อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. |
ได้น้ำได้เนื้อ | ก. มีเนื้อหาสาระ เช่น การอภิปรายครั้งนี้ได้น้ำได้เนื้อดี. |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
ปรึกษา | (ปฺรึกสา) ก. หารือ, ขอความเห็นแนะนำ, พิจารณาหารือกัน, พิจารณาอภิปรายกัน เช่น ประชุมปรึกษา, พิจารณาร่างคำพิพากษา เช่น ผู้ปรึกษา (ในทางศาล). |
สมเหตุสมผล | ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
pro forma amendment | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ๓. บัญชีรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ (ผู้พิพากษาหรือลูกขุน)๓. บัญชีรายชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recognition | ๑. การรับรอง (รัฐ, รัฐบาลใหม่)๒. การอนุญาตให้อภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rostrum | แท่นอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argument | ๑. สังเขปเรื่อง๒. บทอภิปราย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Address, Debate on the | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argumentum ad | บทอภิปรายแบบอ้าง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment, pro forma | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
adjournment of the debate | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
catching the Speaker's eye | สบตาประธานสภา (เพื่อขออภิปราย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
closure | การปิดอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
closure | การปิดอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
debate | การอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Debate on the Address | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
debate, adjournment of the | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
debate, general | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
guillotine | ๑. วิธีการจำกัดเวลาอภิปรายร่างกฎหมาย (ของสภาสามัญอังกฤษ)๒. เครื่องประหารชีวิต (ของฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
floor | ๑. สิทธิที่จะอภิปราย (ในสภา)๒. ที่อภิปราย (ในสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
filibuster | การอภิปรายประวิงเวลา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
interpellation | ๑. การจำกัดเวลาความรับผิด (ก. แพ่ง)๒. การเปิดอภิปรายทั่วไป (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
kangaroo closure | การปิดอภิปรายอย่างรวบรัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
kangaroo closure | การปิดอภิปรายอย่างรวบรัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Proceedings | เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุม, Example: <p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Discussion | อภิปราย [TU Subject Heading] |
No confidence motions | อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] |
Biasing the Discussion | ความลำเอียงในการอภิปราย [การแพทย์] |
Case Discussion | การอภิปรายเกี่ยวกับรายตัวอย่าง [การแพทย์] |
Discussion | การอภิปราย, อภิปราย, วิจารณ์ผล, วิจารณ์ [การแพทย์] |
Discussion, Lecture | การใช้วิธีอภิปราย [การแพทย์] |
Discussion, Panel | การอภิปรายหมู่, การอภิปรายเป็นคณะ [การแพทย์] |
Group Discussion | วิธิอภิปรายกลุ่ม, [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อภิปราย | [aphiprāi] (n) EN: discussion FR: débat [ m ] ; discussion [ f ] |
อภิปราย | [aphiprāi] (v) EN: debate ; discuss ; contend ; discuss ; talk over ; argue FR: débattre ; discuter ; délibérer |
อภิปรายทั่วไป | [aphiprāi thūapai] (n, exp) EN: general debate FR: débat général [ m ] |
การอภิปราย | [kān aphiprāi] (n) EN: discussion FR: discussion [ f ] ; débat [ m ] |
การอภิปรายเจาะลึก | [kān aphiprāi jǿ leuk] (n, exp) EN: in-depth discussion FR: discussion approfondie [ f ] |
การอภิปรายคู่ขนาน | [kān aphiprāi khūkhanān] (n, exp) EN: parallel discussion FR: discussions parallèles [ fpl ] |
การอภิปรายไม่ไว้วางใจ | [kān aphiprāi mai waiwāngjai] (n, exp) EN: debate of no-confidence ; censure debate |
การอภิปรายผู้ชำนาญพิเศษ | [kān aphiprāi phūchamnān phisēt] (n, exp) EN: panel discussion |
การอภิปรายสาธารณะ | [kān aphiprāi sāthārana] (n, exp) EN: forum FR: débat public [ m ] ; forum [ m ] |
การชุมนุมอภิปราย | [kān chumnum aphiprāi] (n, exp) EN: symposium |
การเลื่อนการอภิปราย | [kān leūoen kān aphiprāi] (n, exp) EN: adjournment of the debate |
คณะอภิปราย | [khana aphiprāi] (n, exp) EN: colloquium |
กลุ่มอภิปราย | [klum aphiprāi] (n, exp) EN: discussion group FR: groupe de discussion [ m ] |
ผู้ร่วมอภิปราย | [phū ruam aphiprāi] (n, exp) EN: panelist |
ปิดอภิปราย | [pit aphiprāi] (v, exp) EN: close a debate FR: clore un débat ; terminer un débat |
รายการอภิปราย | [rāikān aphiprāi] (n, exp) EN: item for discussion FR: sujet de discussion [ m ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion |
bull session | n. การอภิปรายกลุ่ม |
canvass | (แคน'เวิส) { canvassed, canvassing, canvasses } vt., vi., n. (การ) ตรวจสอบอย่างละเอียด, หาเสียง, ออกเที่ยวชักชวน, อภิปรายอย่างละเอียด, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: canvasser n. ดู canvass, Syn. examine, survey |
cloture | (โคล'เชอะ) { clotured, cloturing, clotures } n. วิธีการปิดการอภิปรายและให้มีการลงคะแนนเสียงทันที vt., vi. ปิดการอภิปราย |
colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม |
confabulate | (คันแฟบ'บิวเลท) vi. คุยกันเล่น, สนทนา, อภิปราย, See also: confabulator n. |
confabulation | (คันแฟบบิวเล'เชิน) n. การคุยกันเล่น, การสนทนา, การอภิปราย., See also: confabulatory adj., Syn. conversation |
controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny |
debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue |
discourse | (ดิส'คอร์ส) v., n. (การ) สนทนา, บรรยาย อภิปราย., See also: discourser n. ดูdiscourse, Syn. confer |
discuss | (ดิสคัส') { discussed, discussing, discusses } vt. อภิปราย, โต้ตอบ, สาธยาย., See also: discusser n. ดูdiscuss, Syn. debate, argue |
discussant | (ดิสคัส'เซินทฺ) n. ผู้อภิปราย, ผู้ร่วมการอภิปราย |
discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล |
disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง |
disputation | n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะ, Syn. dispute |
flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack |
floor | (ฟลอร์) n. พื้น, พื้นห้อง, กัน (ทะเล, ถ้ำ, น้ำ) , ชั้นอาคาร, ชั้นต่ำสุด, ชั้นพื้นฐาน vt. ปูพื้น, ทำให้ล้มลง, ทำให้สับสน, ทำให้งง. -Phr. (take the floor อภิปราย), Syn. level, stage |
forum | (ฟอ'รัม) n. สภา, ที่ประชุมสำหรับการอภิปราย, ศาล, ศาลกลางเมือง, วิธีการอภิปรายปัญหา, -Phr. (the Forum ตลาดหรือสนามกว้างของเมืองโบราณสมัยโบราณ), Syn. assembly, meeing -pl. forums, fora |
genie | (จีนี) ย่อมาจาก General Electric Network for Information Exchange เป็นบริการตามสายซึ่งจัดไว้สำหรับการคัดลอกโปรแกรม การเล่นเกม การอภิปรายปัญหาแบบรายการสัมนาโต๊ะกลมไว้ให้ แต่ไม่ฟรี จีนีมีขนาดหรือมีสมรรถนะต่ำกว่า Compuserve แต่ก็มีค่าบริการถูกกว่า ดู Compuserve, internet และ network ประกอบ |
moot | (มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปราย, Syn. debatable, academic |
panelist | (แพน'นะลิสท) n. สมาชิกของกลุ่มผู้อภิปราย |
panell discussion | n. การอภิปรายหมู่ต่อหน้าชุมชน ในรายการโทรทัศน์ หรือวิทย |
question | (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, See also: questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. beyond all question ไม่ต้องสงสัย -Phr. out of the question เป็นไปไม่ได้ |
seminar | (เซม'มะนาร์) n. กลุ่มสัมมนา, สัมมนา, การประชุมสัมมนา, วิชาประเภทสัมมนา, การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและอภิปราย |
theme | (ธีม) n. หัวข้อการอภิปราย, หัวข้อในการสนทนา, หัวข้อหนังสือ, เรื่องของหนังสือ, ใจความ, สาระสำคัญ, แก่นสาร, หัวข้อความเรียง, แกนคำศัพท์, แนวบทเพลง., Syn. topic, subject |
tribune | (ทริบ'บิวน์) n. ผู้พิทักษ์สิทธิของประชาชน, เจ้าหน้าที่คุ้มครองประชาชน, เวทีแสดงสุนทรพจน์, เวทีอภิปราย, ยกพื้นสำหรับการแสดงสุนทรพจน์, See also: tribuneship n. |
ventilate | (เวน'ทะเลท) vt. ระบายลม, ระบายอากาศ, ทำให้มีอากาศเข้าได้, เปิดเผย, เปิดให้ตรวจสอบ, เปิดอภิปราย, แสดงออก, แสดงข้อคิดเห็น., See also: ventilable adj. ventilative adj. |
Nontri Dictionary
controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย |
debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที |
debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย |
debater | (n) ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที |
discourse | (n) การสนทนา, การบรรยาย, การอภิปราย, การพูด, ปาฐกถา |
discourse | (vi) สนทนา, บรรยาย, อภิปราย, พูด, ปาฐกถา |
discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา |
discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ |
disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย |
dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย |
tribune | (n) ผู้พิทักษ์ประชากร, เวทีอภิปราย |
Longdo Approved JP-TH
内閣不信任案 | [ないかくふしんにんあん, naikakufushinnin'an] (n) ญัตติเพื่อเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจคณะรัฐมนตรี |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
議論 | [ぎろん, giron] (n) การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง |
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
疑問 | [ぎもん, gimon] (n) (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, S. . questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. (beyond (all) question ไม่ต้องสงสัย) -Phr. (out of the question เป็นไปไม่ได้) |
Longdo Approved DE-TH
Aufmerksamkeit | (n) |die, pl. Aufmerksamkeiten| ความสนใจ, ความเอาใจใส่ เช่น Vielen Dank für Ihre Aufmerksamkeit! ขอบคุณมากสำหรับความสนใจของคุณ หรือ ขอบคุณมากที่คุณตั้งใจฟัง (มักใช้หลังจากผู้พูดจบการอภิปราย) |
sich versprechen | (vt) |versprach sich, hat sich versprochen| พูดผิด เช่น Der Redner war sehr nervös und hat sich dauernd versprochen. ผู้พูดอภิปรายตื่นเต้นเกินไป และพูดผิดตลอดเวลา |
Auseinandersetzung | (n) |die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกัน, See also: Streit, Syn. Diskussion |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.4861 seconds, cache age: 4.154 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม