54 ผลลัพธ์ สำหรับ *หาข้อมูล*
ภาษา
หรือค้นหา: หาข้อมูล, -หาข้อมูล-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ค้นคว้า | ก. หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา. |
วิจัย ๒ | น. การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น วิจัยเรื่องปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร. |
วิจัย ๒ | ก. ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น เขากำลังวิจัยเรื่องมลพิษทางอากาศอยู่. |
วิจัย ๒ | ว. ที่ค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น งานวิจัย. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Data content | เนื้อหาข้อมูล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Data content | เนื้อหาข้อมูล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Search Engine | เครื่องจักรค้นหาข้อมูล, เว็บที่ช่วยในการค้นหา รายชื่อเว็บไซต์ ที่มีข้อมูลตรงกับที่เราถาม [Assistive Technology] |
Data mining | การค้นหาข้อมูล [TU Subject Heading] |
Web usage mining | การค้นหาข้อมูลผ่านเว็บไซต์ [TU Subject Heading] |
Data, Gathering More | หาข้อมูลมาเพิ่มเติม [การแพทย์] |
Fact Finding | การหาข้อมูล [การแพทย์] |
semantic web | เว็บเชิงความหมาย, เว็บที่สามารถวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ และเสนอทางเลือกที่เป็นไปได้โดยให้ผู้ใช้เลือกแทนการค้นหาข้อมูลจากคำหลักอย่างตรงไปตรงมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Inquiry | การถามเพื่อหาข้อมูล [การแพทย์] |
Longdo Approved EN-TH
preproduction | ขั้นตอนก่อนลงมือผลิตชิ้นงานจริง เช่น การหาข้อมูล การประชุม การไปดูสถานที่ (ถ้าต้องใช้สถานที่ในการจัดงานหรือผลิตงาน) การทำตัวอย่างชิ้นงาน (เช่น การสร้างโมเดลของสถาปนิกก่อนที่จะลงมือก่อสร้างจริง) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
consult | (vt) ค้นหาข้อมูล |
delve into | (phrv) ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียดในเรื่อง |
delve | (vi) ค้นหาข้อมูลอย่างละเอียด, See also: ค้นคว้าอย่างละเอียด, ศึกษาอย่างละเอียด, ขุดคุ้ยข้อมูล, Syn. investigate, research |
muckraking | (n) การหาข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตแบบส่วนตัว |
search | (vt) สืบค้นข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: เสาะหาข้อมูล, ค้นคว้าข้อมูล |
search | (n) การสืบค้นข้อมูล (ทางคอมพิวเตอร์), See also: การหาข้อมูล, ค้นคว้า |
survey | (vt) สำรวจ, See also: เสาะหา, หาข้อมูล, Syn. scan, inspect, reconnoiter |
surveyor | (n) ผู้สำรวจ, See also: ผู้สืบเสาะ, ผู้หาข้อมูล, Syn. reconnoiterer, scout, spy |
Hope Dictionary
centralized system | ระบบศูนย์กลางหมายถึง วิธีการประมวลผลที่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะใช้ผ่านศูนย์กลางจากเครื่องปลายทาง (terminal) การเรียกหาข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะใช้ จะเรียกจากศูนย์กลางทั้งหมดดู terminal ประกอบ |
cis- | 1. Pref. อยู่ทางด้านใกล้ 2. (สิส) ย่อมาจาก CompuServe Information Services หมายถึง งานบริการข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) การใช้บริการดังกล่าว กำลังเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะสะดวก รวดเร็วกว่าการหาข้อมูลด้วยตนเอง (ว่ากันว่า การที่ใช้เครื่องหมาย $ แทนตัว s ธรรมดา อาจจะเพื่อบ่งบอกให้รู้ว่า รายการนี้ขอฟรี ๆ กันไม่ได้ จะต้องมีการจ่ายค่าบริการ) ดู CompuServe ประกอบ |
computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ |
dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
file management | การจัดการแฟ้มข้อมูลหมายถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุงแฟ้ม และการเรียกหาข้อมูลมาใช้จากแฟ้ม |
find | (ไฟดฺ) { found, found, finding, finds } vt. พบ, ประสบ, หา, ได้รับ, จัดหา, ไปถึง, ตัดสิน, ชี้ขาด, บรรลุ, ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก, เห็นว่า, ตัดสิน, ชี้ขาด, ลงความเห็น., See also: find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ word processing เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล database management เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน record บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ directory ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย อยู่ใต้เมนู File มีความหมายเหมือน search |
flat-file database | ฐานข้อมูลรายแฟ้มหมายถึง โปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้เก็บและเรียกหาข้อมูล ออกมาใช้ได้ทีละแฟ้ม เป็นสำคัญ ตรงข้ามกับฐานข้อมูลสัมพันธ์ (relational database) ซึ่งจะทำให้เรียกหามาใช้ได้ มากกว่าครั้งละหนึ่งแฟ้ม |
hypertext | ข้อความหลายมิติหมายถึง การเรียกหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ให้แสดงบนจอภาพ ซึ่งอาจมีทั้งข้อความที่ใช้อธิบาย หรือบางทีจะมีภาพประกอบ มีเสียง หรือมีการแสดงการเคลื่อนไหว ฯ ใช้มากในโฮมเพจต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ต ส่วนมาก คำที่จะมีคำอธิบายเช่นนี้ มักจะเป็นคำที่ขีดเส้นใต้ไว้ หรือไม่ก็เป็นตัวดำหนา เมื่อลากเมาส์ไปวางที่คำเหล่านี้ ตัวชี้ตำแหน่งจะเปลี่ยนเป็นนิ้วชี้ ถ้ากดเมาส์ ก็จะมีรายละเอียดมาอธิบายให้ หรือจะโยงไปหารายละเอียดของเรื่องนั้น ๆ |
immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access |
indexed file | แฟ้มดรรชนีหมายถึง แฟ้มพิเศษต่างหากที่บอกตำแหน่งที่อยู่ของระเบียนต่าง ๆ ที่เก็บ ไว้ในแฟ้มฐานข้อมูล (database file) การหาข้อมูลด้วยวิธีนี้ จะทำได้เร็วมาก |
information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
inquiry | หมายถึง การสอบถามหาข้อมูลผ่านทางเครื่องปลายทาง (terminal) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปค้นหาข้อมูลที่ต้องการให้ โดยปกติข้อมูลเหล่านี้ จะต้องเก็บ ๆ ไว้ในจานบันทึก เพื่อให้ค้นหาได้รวดเร็ว เมื่อหาพบแล้ว ก็จะแสดงผลให้ดูบนจอภาพ ตัวอย่างง่าย ๆ ที่จะอธิบายในเรื่องนี้ ก็คือเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) |
it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
laser disk | จานเลเซอร์เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกและล้างข้อมูล มีความจุมากกว่าจานบันทึกธรรมดามาก (ประมาณ 600 เมกะไบต์ ถึง 1.3 กิกะไบต์) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว ข้อดีอีกข้อหนึ่งก็คือ ทนทานต่อการขูดขีด ในการใช้ ต้องมีหน่วยบันทึกหรือหน่วยขับ (drive) พิเศษ ต่างไปจากหน่วยจานบันทึกธรรมดา ปัจจุบัน นิยมนำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มากขึ้น มักใช้บรรจุโปรแกรมหรือข้อมูลที่ต้องไม่มีการแก้ไข (เช่นพจนานุกรม) ราคาถูกลงมาก และนับว่าคุ้มค่า (มีลักษณะเหมือนจานบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์) มีความหมายเหมือน compact disk |
magnetic tape | แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก |
questionnaire | (เควส'ชะแนร์) n. แบบข้อคำถามที่สามารถนำมาวิเคราะห์หาข้อมูลที่มีประโยชน์ |
relational database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย |
sql | เอสคิวแอลซีเควลย่อมาจาก structured query language (แปลว่า ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้าง) เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล (database) ซึ่งใช้หลักการของการให้ตอบคำถามไปทีละข้อ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปเลือกหาข้อมูลที่ต้องการมาแสดง |
structured query language | ภาษาสอบถามเชิงโครงสร้างใช้ตัวย่อว่า (บางทีออกเสียงว่า "ซีเควล") เป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประเภทคลังข้อมูล (database) ซึ่งใช้หลักการของการให้ตอบคำถามไปทีละข้อ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปเลือกหาข้อมูลที่ต้องการมาแสดง |
table lookup | การค้นตารางหมายถึงการเรียกหา ค้นหาข้อมูลจากในตาราง โดยใช้คำหลัก ดู keyword ประกอบ |
thin film | ฟิล์มบางเป็นวัสดุชนิดหนึ่ง ใช้เป็นสื่อในการเก็บข้อมูล หรืออาจใช้ทำหน่วยความจำหลัก เลย เรียกว่า thin-film memory สามารถเรียกหาข้อมูลได้เร็วมาก โดยปกติจะมีขนาด 1/20 ตารางนิ้ว มีความหนาไม่ ถึง 1 ไมครอน ใช้แทนทรานซิสเตอร์ได้เป็นพัน ๆ ตัว |
worm disk | จานเวิร์มคำ WORM ย่อมาจาก write once read many (แปลว่า จานเขียนหนึ่งอ่านหลาย) เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกข้อมูล มีความจุหลายล้านตัวอักษร (ประมาณ 600, 000 หน้ากระดาษพิมพ์) สามารถค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว สื่อชนิดนี้สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว แต่จะนำมาใช้อ่านกี่ครั้งก็ได้ เหมาะที่จะใช้เก็บข้อมูลจำนวนมากที่ไม่ต้องการแก้ไขแล้ว เช่น สาราณุกรม พระไตรปิฎก ฯ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(n, name, org, uniq) เว็บไซต์เสิร์ชเอนจิน (search engine) ชื่อดัง ให้บริการค้นหาข้อมูลต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (www.google.com) | |
S.W.O.T | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true |
swot | การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคาม S = Strengths W = Weaknesses O = Oppoortunities T = Threats หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ ใน website ด้วยคำว่า "SWOT Analysis" ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?passTo=3f7fd969a12ed4fdee7b1181c449fb60&bookID=292&read=true&count=true |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
検索 | [kensaku] (name) ค้นหาข้อมูล |
設定 | [settei] (name) ค้นหาข้อมูลติดตั้ง, สร้าง, การกำหนด |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
検索 | [けんさく, kensaku] TH: ค้นหาข้อมูล EN: lookup |
下調べ | [したしらべ, shitashirabe] TH: การเตรียมหาข้อมูลไว้ล่วงหน้า |
Longdo Approved DE-TH
sich informieren über etw. | (vt) หาข้อมูลเกี่ยวกับบางสิ่ง, ศึกษาบางสิ่ง เช่น Ich möchte mich über das Bildungssystem in Deutschland informieren., Syn. sich erkundigen |
sich erkundigen nach etw./jmdm. | (vt) ไต่ถาม, หาข้อมูล เช่น Er hat sich vorher nach dem Weg erkundigt., Syn. informieren sich |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0193 seconds, cache age: 0.346 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม