574 ผลลัพธ์ สำหรับ *หนังสือ*
ภาษา
หรือค้นหา: หนังสือ, -หนังสือ-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
let's see | (phrase, (spoken)) Let’s + V1 แปลประมาณว่า …..กันเถอะ มาดูกันว่า, เดี๋ยวนะ, คอยดูสิว่า, I am thinking about this, you are not sure what to say next OK. Let's see where we are.มาดูกันว่าถึงไหนแล้้ว Do you know a shop that sells dictionaries?” (ขอโทษครับ) พี่รู้จักร้านหนังสือที่ขายพวกพจนานุกรมไหมครับ? “Let me see” เดี๋ยวนะ ให้ผมคิดก่อน Let’s see what you will get for the New Year. คอยดูสิว่าเธอจะได้อะไรเป็นของขวัญวันปีใหม่ let's see (spoken) I am thinking about this “Do you have any idea how many people will be there?” “Well, let's see – I don't think I could put a number on it.” Let's see how much you want to win this event. Now that we know what your interests are, let's see if we can match you to a job that you'd like. |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ด่วนที่สุด | URGENT ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น |
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ | (n) Certificate of Utilization |
Longdo Unapproved MM - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
စာအုပ္။ | (n) หนังสือ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
หนังสือ | (n) letter, Syn. จดหมาย, รายงาน, บันทึก, Example: โรงเรียนมีหนังสือไปถึงผู้ปกครองนักเรียน เพื่อให้มาร่วมประชุม, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: จดหมายที่มีไปมา |
หนังสือ | (์n) book, Syn. ์งานเขียน, สิ่งพิมพ์, Example: ระดับไวยากรณ์วิธีนี้มีผู้พยายามทำขึ้นและเขียนเป็นหนังสือออกมา, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด, ลายลักษณ์อักษร, เอกสาร, บทประพันธ์, ข้อความที่พิมพ์หรือเขียนเป็นต้นแล้วรวมเป็นเล่ม |
ทำหนังสือ | (v) make a book, See also: publish, Example: ทางสมาคมทำหนังสือเพื่อเป็นที่ระลึก ในงานครบรอบ 30 ปี |
งานหนังสือ | (n) desk work, Example: ทางสำนักพิมพ์กำลังต้องการบุคลากรมาช่วยงานหนังสือเป็นจำนวนมาก, Count Unit: งาน |
ตัวหนังสือ | (n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เขาสายตาสั้นจึงอ่านตัวหนังสือไกลๆ ไม่ชัด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด |
ตัวหนังสือ | (n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เวลาที่เราอ่านเราไม่ต้องอ่านหรือมองตัวหนังสือทีละตัวทุกๆ ตัวจะทำให้อ่านไวขึ้น, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด |
ตู้หนังสือ | (n) bookcase, Example: ภาพของชายหนุ่มในกรอบรูปแขวนอยู่ข้างตู้หนังสือ, Count Unit: ใบ, หลัง, Thai Definition: ตู้ที่เก็บหนังสือ |
รู้หนังสือ | (v) be literate, See also: be educated, Syn. อ่านออกเขียนได้, Example: ในสมัยก่อน เด็กชายเท่านั้นที่มีโอกาสได้รู้หนังสือโดยการเล่าเรียนที่วัด |
สวนหนังสือ | (v) answer the letter, See also: reply the letter |
สอนหนังสือ | (v) teach, See also: instruct, Ant. เรียนหนังสือ, Example: มาลีจะใช้เวลาช่วงกลางวันสอนหนังสือเด็กด้อยโอกาสเหล่านั้น, Thai Definition: ทำให้ผู้อื่นได้รับความรู้โดยใช้หนังสือเป็นสื่อในการเรียน |
สันหนังสือ | (n) spine, Syn. สันปก, สัน, Example: เขาเขียนชื่อหนังสือย่อๆ ไว้ที่สันหนังสือ เพื่อความสะดวกในการหาโดยไม่ต้องรื้อออกมา, Count Unit: สัน, Thai Definition: ส่วนที่เป็นแนวยาวบริเวณด้านข้างที่ยึดปกกับเนื้อหาของหนังสือไว้ |
หนังสือโป๊ | (n) pornographic book, See also: porno book, obscene book, Syn. หนังสือลามก, Example: รัฐบาลตั้งท่าขึงขังที่จะเอาโทษคนขายหนังสือโป๊, Count Unit: เล่ม |
แทงหนังสือ | (v) write a letter, Example: อธิบดีแทงหนังสือการโยกย้ายมายังผู้ใต้บังคับบัญชาการ, Thai Definition: บันทึกสั่งการ |
ท่องหนังสือ | (v) learn, See also: study, memorize, Syn. ท่องจำ, ท่อง, Example: เวลาใกล้สอบอย่างนี้จะเห็นแต่นักศึกษาท่องหนังสือกัน, Thai Definition: อ่านซ้ำหลายๆ ครั้งเพื่อให้จำได้ |
ภาษาหนังสือ | (n) written language, See also: literary language, Syn. ภาษาเขียน, Ant. ภาษาพูด, Example: คำว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ ไม่ควรใช้ในภาษาหนังสือ ส่วนในภาษาพูดยังมีตกค้างใช้พูดกันบ้าง |
ร้านหนังสือ | (n) bookstore, Example: ใครก็ตามที่เป็นนักอ่านได้เดินเข้าร้านหนังสือ แค่ได้ก้าวเข้าไปในร้านก็มีความสุขแล้ว, Count Unit: ร้าน, Thai Definition: สถานที่ขายหนังสือ |
หนอนหนังสือ | (n) bookworm, Syn. นักอ่าน, Example: ในงานเปิดตัวหนังสือใหม่คราวนี้ เหมือนเป็นที่ชุมนุมของพวกหนอนหนังสือทั้งนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับหนังสือ, Notes: (สำนวน) |
อ่านหนังสือ | (v) read, See also: study, Example: ผู้ที่เป็นนักเขียนส่วนใหญ่จะชอบอ่านหนังสือมาตั้งแต่เด็ก |
เดินหนังสือ | (v) deliver a message or a letters, See also: deliver a document, Example: หัวหน้าใช้เสมียนเดินหนังสือไปตึกโน้น, Thai Definition: เอาหนังสือไปส่ง |
แต่งหนังสือ | (v) write a book, See also: compose, Syn. เขียนหนังสือ, Example: ผมอยากจะเป็นหนุ่มอีกครั้งจะได้มีเวลาศึกษา และแต่งหนังสือได้มากๆ, Thai Definition: ประพันธ์เรื่อง |
แต่งหนังสือ | (v) write a book, See also: author a text, write a letter, Syn. เขียนจดหมาย |
คนขายหนังสือ | (n) bookseller, Example: เรื่องหนังสือออกใหม่ต้องถามคนขายหนังสือถึงจะถูก |
พิมพ์หนังสือ | (v) print, See also: publish, Example: อาทิตย์นี้คงต้องพิมพ์หนังสือเพิ่มอีกตามความต้องการของลูกค้า, Thai Definition: ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้น ให้เกิดเป็นสิ่งพิมพ์หนังสือขึ้นหลายสำเนา |
หนังสือพิมพ์ | (n) newspaper, See also: paper, press, Example: ข่าวของเขาขึ้นหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์มาหลายวันแล้ว, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: สิ่งที่พิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปกติออกเป็นรายวัน |
หนังสือสัญญา | (n) contract, See also: agreement, Syn. ข้อสัญญา, ข้อผูกพัน, สัญญา, ข้อตกลง, Example: การกู้ยืมเงินทุกกรณีจะต้องมีหนังสือสัญญากู้เงินพร้อมระบุหลักทรัพย์ค้ำประกันด้วย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: สัญญาหลักฐานการตกลงร่วมกันทำนิติกรรม ที่เป็นลายลักษณ์อักษร, Notes: (กฎหมาย) |
หนังสือสำคัญ | (n) credentials, See also: papers, document |
หนังสือเรียน | (n) textbook, See also: coursebook, Syn. ตำรา, ตำรับตำรา, Example: เด็กๆ มักชอบอ่านการ์ตูนมากกว่าหนังสือเรียน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการเรียน |
หนังสือเวียน | (n) circular notice, See also: circular letter, Syn. จดหมายเวียน, Example: นายมารวยให้สัมภาษณ์ว่าจะส่งหนังสือเวียนไปยังทุกบริษัทเพื่อชักซ้อมความเข้าใจในข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่มีข้อความเหมือนกัน ส่งไปถึงคนจำนวนมากในคราวเดียวกัน |
หนังสือแนะนำ | (n) guide book, Syn. คู่มือ, Example: กระทรวงศึกษาธิการควรจัดทำหนังสือคู่มือครูที่ใช้ได้จริง และหนังสือแนะนำในด้านหลักสูตรการเรียนการสอน, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่ชี้แจงแนวทางหรือวิธีให้ทำหรือปฏิบัติ |
เขียนหนังสือ | (v) write, See also: compose, Syn. แต่งหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว |
เขียนหนังสือ | (v) author, See also: compose, scribe, write, Syn. แต่งหนังสือ, Ant. อ่านหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว |
เรียนหนังสือ | (v) study, See also: learn, be in school, be educated, Example: ผู้ใหญ่ไม่ควรคาดหวังอย่างสูงจากเด็ก เช่น ต้องเรียนหนังสือให้เก่ง เพราะการคาดหวังทำให้ผู้เลี้ยงมีอารมณ์รุนแรงเมื่อไม่สมความปรารถนา |
หนังสือคู่มือ | (n) manual, See also: manuscript, Syn. คู่มือ, เอกสารแนะนำ, Example: เขาไปหาซื้อหนังสือคู่มือประกอบการเรียนคอมพิวเตอร์, Count Unit: เล่ม |
หนังสือปกอ่อน | (n) paperback, See also: pocketbook, papercover, softcover book, Ant. หนังสือปกแข็ง, Example: นักอ่านส่วนใหญ่นิยมซื้อนิยายที่เป็นหนังสือปกอ่อน เนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไป, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกที่ทำด้วยกระดาษอย่างอ่อน |
หนังสือปกอ่อน | (n) softcover book, See also: pocketbook, papercover, Ant. หนังสือปกแข็ง, Example: นักอ่านส่วนใหญ่นิยมซื้อนิยายที่เป็นหนังสือปกอ่อน เนื่องจากมีราคาไม่แพงจนเกินไป, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกที่ทำด้วยกระดาษอย่างอ่อน |
หนังสือปกแข็ง | (n) hardback, See also: hardcover, Ant. หนังสือปกอ่อน, Example: สำนักพิมพ์จัดทำเรื่องสั้นชุดนี้รวมเล่มเป็นหนังสือปกแข็งมาล่อใจท่านผู้ซื้อกันแล้ว, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่มีปกหุ้มทำมาจากกระดาษแข็ง |
หนังสือรับรอง | (n) certificate, See also: letter of recommendation, Syn. ใบรับรอง, Example: งานทะเบียนประวัตินักศึกษารับผิดชอบการจัดทำทะเบียนประวัตินักศึกษา และออกหนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา, Count Unit: เล่ม, ใบ |
หนังสือราชการ | (n) official letter, See also: official document |
ชั้นวางหนังสือ | (n) bookshelf |
ร้านขายหนังสือ | (n) bookshop |
ร้านขายหนังสือ | (n) bookstore, Syn. ร้านหนังสือ, Example: เมื่ออายุ 19 ปี ผมชอบไปเดินเที่ยวตามร้านขายหนังสือแถววังบูรพา, Count Unit: ร้าน |
หนังสืออ้างอิง | (n) reference, See also: documentation, Syn. เอกสารอ้างอิง, Example: นักวิจัยจำเป็นต้องใช้หนังสืออ้างอิงจำนวนมากในการทำวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง |
หนังสือเดินทาง | (n) passport, Example: ข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือเดินทาง จะประกอบด้วย ชื่อ นามสกุล อายุ สีผิว ความสูง เป็นต้น, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่งออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อให้ความคุ้มครองในการเดินทางไปในดินแดนต่างประเทศ |
หนังสือเบิกทาง | (n) passport, Syn. ใบเบิกทาง, Thai Definition: หนังสืออนุญาตให้โดยสาร หรือให้ผ่าน, Notes: (ปาก) |
การเรียนหนังสือ | (n) study, See also: learning, Syn. การเรียน, การศึกษาเล่าเรียน, การเล่าเรียน, Example: การเรียนหนังสือช่วยให้คนมีความคิดเป็นระบบมากขึ้น |
นักหนังสือพิมพ์ | (n) journalist, See also: newspaper man, pressman, pressmen, Syn. คนทำข่าว, คนเขียนข่าว, Example: พ่อเขาเป็นนักหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่เขียนข่าวให้กับหนังสือพิมพ์ |
หนังสือนำเที่ยว | (n) guide book, Example: สถานที่อีกแห่งหนึ่งซึ่งมีในหนังสือนำเที่ยวคือเจดีย์ม้าขาวที่ตุนฮวง, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: คู่มือแนะนำเกี่ยวกับข้อมูลการท่องเที่ยว |
หนังสือมอบฉันทะ | (n) proxy, See also: (letter of) power of attorney, Syn. หนังสือมอบอำนาจ, ใบมอบฉันทะ, Example: ผู้ใดต้องการจะถอนเงินแทนผู้อื่น ก็ต้องนำหนังสือมอบฉันทะมาด้วย, Thai Definition: หนังสือซึ่งบุคคลหนึ่งให้อำนาจแก่บุคคลอีกคนหนึ่งให้ทำหน้าที่แทนตน |
หนังสือมอบฉันทะ | (n) proxy, See also: (letter of) power of attorney, Syn. หนังสือมอบอำนาจ, ใบมอบฉันทะ, Example: ผู้ใดต้องการจะถอนเงินแทนผู้อื่น ก็ต้องนำหนังสือมอบฉันทะมาด้วย, Thai Definition: หนังสือซึ่งบุคคลหนึ่งให้อำนาจแก่บุคคลอีกคนหนึ่งให้ทำหน้าที่แทนตน |
หนังสือมอบอำนาจ | (n) power of attorney, See also: proxy, Syn. หนังสือมอบฉันทะ, ใบมอบฉันทะ, Example: รัฐที่จะเจรจาทำสนธิสัญญานั้นจะต้องมีการออกหนังสือมอบอำนาจให้แก่ผู้ที่จะทำการเจรจานั้นก่อน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ดูหนังสือ | ก. อ่านเพื่อทบทวนสำหรับการสอบ. |
ตกหนังสือ | ก. เขียนคำที่ขาดเติมลง. |
ตัวหนังสือ | น. สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคำพูด. |
บอกหนังสือสังฆราช | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว, สอนหนังสือสังฆราช ก็ว่า. |
พิมพ์หนังสือ | ก. ใช้เครื่องพิมพ์กดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนกระดาษหรือผ้าเป็นต้น. |
ไล่หนังสือ | ก. สอบไล่. |
แววหัวตัวหนังสือ | น. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็นวงกลม เช่นหัวตัว ค ด ง ถ. |
สอนหนังสือสังฆราช, บอกหนังสือสังฆราช | ก. สอนสิ่งที่เขารู้ดีอยู่แล้ว. |
หนอนหนังสือ | น. คนที่ชอบหมกมุ่นอยู่กับการอ่านหนังสือ. |
หนังสือ | น. เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ, ลายลักษณ์อักษร เช่น ขอให้เขียนเป็นหนังสือไว้ด้วย, จดหมายที่มีไปมา เช่น หนังสือราชการ, เอกสาร, บทประพันธ์ |
หนังสือ | ข้อความที่พิมพ์หรือเขียนเป็นต้นแล้วรวมเป็นเล่ม. |
หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด | น. หนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและกรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง. |
หนังสือชี้ชวน | น. เอกสารใด ๆ ที่ออกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อโฆษณาชี้ชวนให้บุคคลอื่นจองซื้อหรือซื้อหุ้น หุ้นกู้ หรือหลักทรัพย์อื่นที่มีผู้ออกหรือเสนอขาย. |
หนังสือเดินทาง | น. หนังสือสำคัญประจำตัวซึ่งทางราชการของประเทศหนึ่ง ออกให้แก่พลเมืองของประเทศนั้น เพื่อเป็นหลักฐานในการเดินทางไปต่างประเทศ. |
หนังสือพิมพ์ | น. สิ่งพิมพ์ข่าวและความเห็นเป็นต้นเสนอประชาชน ตามปรกติออกเป็นรายวัน. |
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ | น. หนังสือแสดงการรับรองของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายที่ดิน ว่าผู้ครอบครองที่ดินได้ทำประโยชน์ในที่ดินนั้นแล้ว, น.ส. ๓ ก็เรียก. |
หนังสือราชการ | น. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการ หนังสือที่หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน และเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ. |
หนังสือเวียน | น. หนังสือราชการที่มีข้อความเหมือนกัน ส่งไปถึงหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีรหัสตัวพยัญชนะ ว หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง, ภาษาปากใช้ว่า จดหมายเวียน |
หนังสือเวียน | หนังสือที่ผู้บังคับบัญชาเวียนแจ้งให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบหรือถือปฏิบัติ. |
หนังสือสุทธิ | น. หนังสือที่พระอุปัชฌาย์ออกให้พระภิกษุหรือสามเณรเพื่อรับรองสถานภาพความเป็นภิกษุหรือสามเณร. |
หลักฐานเป็นหนังสือ | น. เอกสารที่ลงลายมือชื่อของฝ่ายที่ต้องรับผิด และมีข้อความแสดงว่าได้มีการทำนิติกรรมไว้. |
ก ข ไม่กระดิกหู | (กอข้อ-) น. ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้. |
ก หัน | น. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก. |
กฎหมาย | ก. จดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน เช่น สั่งให้นายอินกฎหมายผู้มีชื่อทั้งนี้ไว้ (พงศ. อยุธยา), ทำหนังสือเป็นหลักฐาน เช่น อนึ่ง มีผู้ทำหนังสือร้องเรียนกฎหมายว่า…(พระราชกำหนดเก่า) |
กติกา | หนังสือสัญญา, ข้อตกลง. |
กรรตุวาจก | (กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ). |
กรรมวาจก | (กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก. |
กระชอก | ก. กระฉอก เช่น กระชอกชอกชล กระมลมลมาลย์ (ประชุมหนังสือเก่า ภาค ๒). |
กระดานชนวน | น. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน. |
กระดาษ | น. วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทำจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ. |
กระดาษเพลา | (-เพฺลา) น. กระดาษสาชนิดบาง โบราณใช้ร่างหนังสือด้วยดินสอดำหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น ใช้ปิดหุ่นหัวโขนและหุ่นอื่น ๆ. |
กระทู้ถาม | น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. |
กระบวน | น. หมู่คนหรือพาหนะเป็นต้นที่จัดเป็นแถวเป็นแนวหรือเป็นหมวดเป็นหมู่ตามแบบแผน เช่น กระบวนพยุหยาตรา กระบวนทัพ, แบบแผน เช่น กระบวนหนังสือไทย, ชั้นเชิง เช่น ทำกระบวน งามกระบวนเนตรเงาเสน่ห์งำ |
กระหม่อม | คำสำหรับใช้ควบกับคำที่ขึ้นต้นว่า “เกล้า” เช่น ทราบเกล้าทราบกระหม่อม ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในการเขียนหนังสือใช้ไปยาลน้อยแทนก็ได้ เช่น ทราบเกล้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวาย. |
ก๊อบปี้ | ลักษณนามเรียกสำเนาหนังสือ เช่น ก๊อบปี้หนึ่ง สำเนา ๒ ก๊อบปี้. ก. ทำสำเนา, คัดลอก, เช่น คุณก๊อบปี้งานในเอกสารนี้ด้วย, ลอก, เลียน, เช่น อย่าก๊อบปี้งานของคนอื่น. |
กับ ๔ | ลักษณนามเรียกใบลานประมาณ ๘๐๐ ใบ ซึ่งจัดเข้าแบบสำหรับไว้จารหนังสือ. |
กากะเยีย | น. เครื่องสำหรับวางหนังสือใบลาน ทำด้วยไม้๘ อันร้อยเชือกไขว้กัน. |
กาง ๑ | ก. ถ่างออก เช่น กางขา, คลี่ เช่น กางปีก, เหยียดออกไป เช่น กางแขน, ขึงออกไป เช่น กางใบ กางมุ้ง, แบะออก เช่น กางหนังสือ. |
การสื่อสาร | น. วิธีการนำถ้อยคำ ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง. |
การ์ตูน ๑ | น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย. |
กำกับ | ควบ ในความเช่น มีหนังสือกำกับมาด้วย. |
กำเนิด | (กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร. |
เก็บ ๑ | ก. เอาไปหรือเอามาจากที่ เช่น เก็บผ้า เก็บผลไม้, เอาเข้าที่ เช่น เอาหนังสือไปเก็บ เอารถไปเก็บ, เอาสิ่งของที่ตกหล่นอยู่ขึ้นมา เช่น เก็บของตก, รวบรวมไว้ เช่น เก็บคะแนน, เรียกเอา เช่น เก็บค่าเช่า เก็บค่านํ้า, รักษาไว้ เช่น ห้องเก็บของ. |
เก็บเล่ม | ก. รวบรวมหนังสือหรือแผ่นภาพที่พิมพ์ไว้แล้ว เรียงตามลำดับเลขหน้าเข้าเป็นเล่ม (ใช้แก่การพิมพ์). |
เกลา | (เกฺลา) ก. ทำสิ่งที่ยังขรุขระอยู่ให้เกลี้ยงหรือได้รูปทรงดีขึ้น เช่น เกลาไม้ไผ่, ทำให้ดีขึ้นหรือเรียบร้อยขึ้น เช่น เกลาสำนวนหนังสือ เกลานิสัย. |
เกลี้ยงเกลา | ว. หมดจดหรือเรียบร้อย เช่น หน้าตาเกลี้ยงเกลา หนังสือเล่มนี้สำนวนเกลี้ยงเกลา. |
เกษียน | (กะเสียน) น. ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคำสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน. |
ใกล้เคียง | ไม่แตกต่างกันมากนัก, พอ ๆ กัน เช่น รอ กับ คอย มีความหมายใกล้เคียงกัน หนังสือสองเล่มนี้มีขนาดใกล้เคียงกัน. |
ข่าวพาดหัว | น. ข่าวสำคัญที่นำมาพิมพ์เป็นหัวเรื่องในหน้าแรกของหนังสือพิมพ์ด้วยอักษรขนาดใหญ่เพื่อให้เกิดความสนใจ. |
ขีดคั่น | ก. ขีดกั้นไว้, กำหนดไว้โดยเฉพาะ เช่น อ่านหนังสือไปถึงไหนแล้ว ให้ทำเครื่องหมายขีดคั่นไว้. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
power of attorney | หนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
powers, full | หนังสือมอบอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
permit | ใบอนุญาต, หนังสืออนุญาต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
passport | หนังสือเดินทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prospectus | หนังสือชี้ชวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
licence | ๑. หนังสืออนุญาต, ใบอนุญาต๒. การอนุญาต (เป็นลายลักษณ์อักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter | ๑. ผู้ให้เช่า๒. หนังสือ๓. ตัวอักษร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of allotment | หนังสือแจ้งการแบ่งสรรหุ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of attorney | หนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of gift | หนังสือยกให้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal lease | การให้เช่าอสังหาริมทรัพย์โดยมีกำหนดเวลา, หนังสือสัญญาให้เช่าอสังหาริมทรัพย์โดยมีกำหนดเวลา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
literacy | การรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
literacy ratio | อัตราส่วนการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
literacy statistics | สถิติการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
loanland; laenland | ที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of hypothecation | หนังสือประกันการส่งสินค้า, ตราสารจำนอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of indemnity | หนังสือค้ำประกันการชดใช้ค่าเสียหาย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of intent | หนังสือแสดงเจตนารมณ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of licence | หนังสือขยายเวลาชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of recall | ๑. หนังสือเรียกทูตกลับ๒. พระราชสาสน์ถอน, สาสน์ถอน (ทูต) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter of request | หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ) [ ดู rogatory letter ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
letter patent | หนังสือตราตั้ง, ตราตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
land certificate | หนังสือสำคัญแสดงสิทธิในที่ดิน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
land certificate | หนังสือสำคัญสำหรับที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
literacy test | การทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
literate | ผู้รู้หนังสือ, รู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lie in grant | โอนให้กันได้โดยทำเป็นหนังสือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laenland; loanland | ที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laissez-passer (Fr.) | ๑. ปล่อยให้ผ่านไป (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม)๒. หนังสือผ่านแดน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
representation | ๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rogatory letter | หนังสือส่งประเด็นไปสืบพยาน (ในศาลต่างประเทศ)[ ดู letter of request ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
service by publication | การส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
secretary | โต๊ะเขียนหนังสือส่วนตัว [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statue of frauds | บัญญัติหนังสือสัญญา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assumption certificate | หนังสือรับรองการชำระเงิน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acknowledgment of right to production of documents | หนังสือรับรองสิทธิในที่ดินแทนโฉนด (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attorney, power of | หนังสือมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument, written | คำแถลงการณ์เป็นหนังสือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acquittance | ๑. ใบเสร็จรับเงิน๒. หนังสือปลดหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
association, memorandum of | หนังสือบริคณห์สนธิ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
atlas | ๑. กระดูกคอชิ้นที่หนึ่ง๒. หนังสือภาพ (การแพทย์) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
allotment, letter of | หนังสือแจ้งการแบ่งสรรหุ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
annals | หนังสือรายปี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judgment by confession | หนังสือรับสภาพหนี้ของจำเลย [ ดู cognovit actionem และ confession of judgment ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
journal | ๑. บันทึกการประชุมสภา๒. หนังสือพิมพ์รายวัน, วารสาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
journalism | การหนังสือพิมพ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jest book | หนังสือชวนหัว [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quit, notice to | ๑. หนังสือบอกกล่าวให้ออกจากสถานที่๒. หนังสือบอกกล่าวว่าจะออกจากสถานที่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
binder | ๑. หนังสือคุ้มครองชั่วคราว๒. หนังสือมอบอำนาจผู้รับประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Subject reference books | หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
General reference books | หนังสืออ้างอิงทั่วไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book-worm | หนอนหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Book | หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Reference book | หนังสืออ้างอิง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
International Standard Book Number | เลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Rare book | หนังสือหายาก [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Annal | หนังสือรายปี [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Annual | หนังสือรายปี [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Atlas | หนังสือแผนที่ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Banned book | หนังสือต้องห้าม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Book exhibition | นิทรรศการหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Call number | เลขเรียกหนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Weeding | การคัดหนังสือออก [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Travel guide | หนังสือนำเที่ยว [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Textbook | หนังสือตำรา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Nonfiction book | หนังสือสารคดี [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Newspaper | หนังสือพิมพ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Comic book | หนังสือการ์ตูน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Annal | หนังสือรายปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Annual | หนังสือรายปี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Atlas | หนังสือแผนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Authorship | การเขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Banned book | หนังสือต้องห้าม, Example: Banned book หมายถึง หนังสือต้องห้าม เป็นหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่ถูกห้ามหรือถูกระงับโดยสถาบันทางศาสนาหรือโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง เนื่องจากมีเนื้อหาที่ต้องคัดค้านหรือเป็นอันตราย โดยทั่วไปเป็นด้วยเหตุผลทางศาสนา ทางการเมือง หรือทางสังคม (เช่น The Grapes of Wrath, Leaves of Grass การปฏิวัติของจีน หลักลัทธิเลนิน) หนังสือต้องห้ามเป็นหนังสือที่ถูกห้ามนำเข้าไปไว้ในห้องสมุด ร้านหนังสือ หรือห้องเรียน เนื่องจากมีเนื้อหาที่ก่อให้เกิดการโต้แย้ง การท้าทายในทางการเมือง ทางศาสนา หรือทางสังคม ในอดีตหนังสือต้องห้ามหลาย ๆ เล่มถูกเผาหรือถูกปฏิเสธการพิมพ์ การครอบครองหนังสือต้องห้ามถูกมองว่าเป็นการกระทำที่เป็นกบฏ หรือเป็นผู้มีความคิดเห็นนอกรีต ซึ่งบางครั้งอาจมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด อย่างไรก็ตาม บางครั้งการห้ามก็อาจได้รับการยกเลิกได้เมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้าม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Best sellers | หนังสือขายดี [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Call number | เลขเรียกหนังสือ, เลขเรียกหนังสือ, Example: หมายถึง รหัส หรือ สัญลักษณ์ที่บรรณารักษ์กำหนดขึ้นสำหรับระบุถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่อง หรือวัสดุห้องสมุดแต่ละชิ้น เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดใช้เป็นจุดเข้าถึงวัสดุของห้องสมุด ซึ่งทำหน้าที่เป็นเหมือนบ้านเลขที่ หรือตำแหน่งของหนังสือแต่ละชื่อเรื่องที่มีอยู่ในห้องสมุดนั่นเอง เมื่อต้องการหาหนังสือชื่อเรื่องนั้น โดยสืบค้นจากบัตรรายการ หรือสืบค้นจากฐานข้อมูลห้องสมุด ได้ทราบถึงเลขเรียกหนังสือ จึงใช้เลขเรียกหนังสือนั้น หาหนังสือที่ต้องการว่าอยู่ที่ชั้นหนังสือใดของห้องสมุด นอกจากนี้ ใช้ในการสื่อสารกับบรรณารักษ์ในงานบริการจ่ายรับหนังสือ บริการตอบคำถาม ฯลฯ และให้บรรณารักษ์ใช้ประโยชน์ในการจัดหา การให้บริการ การจัดเก็บ และการสำรวจวัสดุห้องสมุด เนื่องจากใช้เลขเรียกหนังสือเป็นการอ้างถึงหนังสือแต่ละชื่อเรื่องนั่นเอง <p>เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วน คือ เลขหมู่ และเลขผู้แต่ง <p>1. เลขหมู่ (Classification number) เป็นรหัสหรือสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้แทนเนื้อหาของหนังสือ ได้มาจากระบบการจัดหมวดหมู่ เช่น ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้ หรือระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือเป็นระบบการจัดหมวดหมู่ที่ห้องสมุดกำหนดขึ้นใช้เอง <p> ตัวอย่าง H (ระบบการจัดหมวดหมู่ของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน) หมายถึง เนื้อหาในสาขาสังคมศาสตร์ <p> 025.433 (ระบบการจัดหมวดหมู่ทศนิยมของดิวอี้) หมายถึง เลขที่ใช้แทนเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> วพ หมายถึง รหัสเพื่อใช้แทนประเภทของหนังสือที่เป็นวิทยานิพนธ์ <p> สวทช. สก. 8 หมายถึง รหัสและเลขที่ใช้หนังสือที่ออกโดยสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประเภทหนังสือทั่วไป <p> 2. เลขผู้แต่ง (Author number) หรือเลขหนังสือ (Book number) เป็นสัญลักษณ์ที่กำหนดขึ้น แทนชื่อเต็มของผู้แต่งหรือรายการหลักในการลงรายการหนังสือ มักใช้สัญลักษณ์เป็นตัวอักษรผสมกับตัวเลข โดยใช้อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุลของผู้แต่ง (กรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ) ที่เป็นรายการหลัก ผสมกับตัวเลขที่กำหนดให้สำหรับผู้แต่งแต่ละคนตามคู่มือสำหรับกำหนดเลขประจำผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง 025.433 อ555ค <p> เลขเรียกหนังสือนี้ มาจากหนังสือชื่อ "คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน" เขียนโดย อัมพร ทีขะระ จึงได้เลขหมู่เป็น 025.433 ส่วน อ555 คือ หมายเลขผู้แต่งสำหรับ อัมพร ส่วน ค หมายถึง อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง คือ คู่มือ <p> การกำหนดเลขผู้แต่ง ช่วยให้หนังสือแต่ละเล่มมีเลขเรียกหนังสือที่ไม่ซ้ำกัน กรณีที่หนังสือมีเนื้อหาเหมือนกันหรือคล้ายกัน และมีการกำหนดเลขหมู่ออกมาเหมือนกัน จากตัวอย่าง ข้างต้น ถ้าห้องสมุดมีการจัดซื้อหนังสือเกี่ยวกับการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เข้ามาโดยผู้แต่งที่เขียนหลายๆ คน เลขผู้แต่งจะเป็นตัวแสดงให้เห็นความแตกต่างของผู้เขียนแต่ละคน <p> ตัวอย่าง ห้องสมุดมีหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยมีการกำหนดชื่อเรื่องที่เหมือนกัน หรือคล้ายกัน ได้แก่ <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย กมลา รุ่งอุทัย จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ก138 <p> การจัดหมู่หนังสือระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย บุญถาวร หงสกุล จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 บ455 <p> การจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย ระเบียบ สุภวิรี จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ร235 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย วิลัย อัคคอิชยา จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 ว716 <p> คู่มือการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดย อัมพร ทีขะระ จะมีเลขเรียกหนังสือเป็น 025.433 อ555 <p> ดังนั้น เมื่อเรียงเลขเรียกหนังสือ จะเห็นความแตกต่างของเลขผู้แต่ง ภายใต้เลขหมู่หนังสือเดียวกัน <p> 025.433 ก138 <p> 025.433 บ455 <p> 025.433 ร235 <p> 025.433 ว716 <p> 025.433 อ555 <p> 3. สัญลักษณ์อื่นๆ ที่ประกอบอยู่ในเลขเรียกหนังสือ <p> 3.1 อักษรตัวแรกของชื่อเรื่อง กรณีที่ผู้แต่งคนเดียวกันแต่งหนังสือที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน แต่ใช้ชื่อเรื่องต่างกัน กรณี จะมีเลขหมู่ เหมือนกัน เลขผู้แต่ง เหมือนกัน จะทำให้เกิดความซ้ำของเลขเรียกหนังสือได้ จึงได้มีการกำหนดให้ใช้อักษรตัวแรกของชื่อเรื่องใส่ไว้หลังเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> โฆษณาไทยสมัยแรก โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> โฆษณาคลาสลิค โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ 893 <p> โฆษณาไทย โดย เอนก นาวิกมูล เลขหมู่ คือ 659.1 เลขผู้แต่ง คือ อ893 <p> 659.1 ในระบบการจัดหมู่ทศนิยมดิวอี้ หมายถึง การโฆษณา แต่เผอิญ เอนก นาวิกมูล แต่งหนังสือโดยใช้ชื่อว่า โฆษณา ขึ้นต้นอยู่หลายเรื่อง ถ้าจะให้เลขเรียกหนังสือ เป็น 659.1 อ893ฆ ก็จะซ้ำกันทั้งหมด ทั้งๆ ที่เป็นคนละชื่อเรื่องกัน จึงใส่ตัวอักษรอีกตัวหนึ่งเพื่อให้เกิดความแตกต่าง เช่น <p> 659.1 อ893ฆ โฆษณาไทยสมัยแรก <p> 659.1 อ893ฆค โฆษณาคลาสลิค <p> 659.1 อ893ฆษ โฆษณาไทย <p> 3.2 กำหนดสัญลักษณ์แทนประเภทของหนังสือ ส่วนมากใส่ไว้เหนือเลขหมู่ เช่น หมวดหนังสืออ้างอิง ใช้ตัว อ (คือ อ้างอิง สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาไทย) และ R หรือ Ref (คือ Reference สำหรับหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศ) <p> อ 495.913 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> อ PL4185 สำหรับ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ที่ใช้เลขหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> 3.3 สัญลักษณ์ระบุแทนปีที่พิมพ์ของหนังสือ ในกรณีที่หนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน และผู้แต่งคนเดียวกัน จัดพิมพ์ออกจำหน่ายมากกว่า 1 ครั้ง มักจะใส่ปีที่พิมพ์เพื่อให้ความแตกต่างและให้ทราบว่าเล่มใดมีความทันสมัยมากกว่ากัน โดยใส่ถัดจากเลขผู้แต่ง <p> ตัวอย่าง <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2498 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2498 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2502 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2502 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2512 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2512 <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีเลขหมู่ เป็น อ 495.913 พร174 2523 <p> 3.4 การกำหนดสัญลักษณ์บอกจำนวนซ้ำ กรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือชื่อเรื่องเดียวกัน ผู้แต่งคนเดียว ปีพิมพ์เดียวกัน มากกว่า ๑ ฉบับ จะมีการกำหนดลำดับของจำนวนหนังสือแต่ละเล่มไว้ด้วย เป็น ฉ หมายถึง ฉบับ (สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ C หมายถึง Copy (สำหรับหนังสือภาษาอังกฤษ) เช่น <p> พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 พิมพ์ในปี 2523 มีจำนวน ๕ ฉบับ มีเลขหมู่ เป็น <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.1 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.2 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.3 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.4 <p> อ 495.913 พร174 2523 ฉ.5 <p> 3.5 สัญลักษณ์บอกลำดับเล่มที่ของหนังสือ กรณีที่เป็นหนังสือชุด หรือมีหลายเล่มจบ ใช้อักษร ล. (หมายถึง เล่มที่ สำหรับหนังสือภาษาไทย) และ ใช้ v. (หมายถึง volume สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ) และกำหนดตัวเลขบอกลำดับที่เล่มของหนังสือไว้ถัดจากเลขผู้แต่ง หรือเลขปีที่พิมพ์ <p> สารานุกรมไทย ของ อุทัย สินธุสาร <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 1 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 2 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 3 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 4 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 5 <p> อ 039.9591 อ821ส ล. 6 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110313-CallNumber.JPG" width="640" higth="200" alt="Call number"> <p> ตัวอย่าง เลขเรียกหนังสือที่มีทั้งเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน สัญลักษณ์อื่นๆ ที่กำหนดขึ้นเป็นเลขเรียกหนังสือเฉพาะคอลเลคชั่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Fiction book | หนังสือบันเทิงคดี, Example: หนังสือบันเทิงคดี เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นจากจินตนาการของผู้เขียน ซึ่งต้องการให้ความบันเทิงและความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่านเป็นหลัก อาจสอดแทรกความรู้และความคิดต่างๆ ไว้ด้วย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้ <p>1 นวนิยาย เป็นหนังสือที่ผู้เขียน เขียนขึ้นเพื่อให้เกิดความบันเทิงแก่ผู้อ่าน โดยไม่เน้นความเป็นจริงหรือเนื้อหาสาระ <p>2 เรื่องสั้น เป็นหนังสือที่ผู้เขียน เขียนขึ้นตามวัตถุประสงค์เช่นเดียวกับนวนิยาย แต่มีเนื้อหาน้อยกว่านวนิยาย มักรวมหลายเรื่อง อยู่ในเล่มเดียวกัน <p>3 หนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน เป็นหนังสือที่จัดทำขึ้นสำหรับเด็กโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่มีเนื้อหาง่ายๆ หรือ เป็นหนังสือ ภาพการ์ตูน หนังสือประเภทนี้จะให้ความรู้ คติสอนใจ และสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็นของเด็ก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Rare book | หนังสือหายาก, Example: หนังสือหายาก Rarebook บทคัดย่อ หนังสือหายากกับการสืบค้น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกหนังสือหายากคือ <p> <p> 1 เป็นเอกสารปฐมภูมิ <p> 2 มีประวัติการพิมพ์ที่สำคัญ เช่น ยุคสมัยของการพิมพ์ พิมพ์จำกัด ฉบับพิมพ์ครั้งแรก <p> 3 มีความโดดเด่นทางด้านเนื้อหา <p> 4 สภาพรูปเล่มสมบูรณ์หรือคงสภาพสวยงามตามต้นฉบับ <p> 5 เป็นหนังสือที่มีประวัติในการครอบครอง เช่นมีบุ๊คเพลตหรือบรรณสิทธิ์ มีลายมือของผู้เขียนหรือเจ้าของเดิม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Reference book | หนังสืออ้างอิง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-reference-book-1.jpg" Title="Reference book" alt="Reference book"> <p>หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่มุ่งเสนอเรื่องราวความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ ในหลายสาขาวิชาอย่างกว้างขวาง แต่กระทัดรัด ผู้อ่านไม่จำเป็นต้องอ่านทั้งเล่มแต่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าเฉพาะเนื้อหาบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น โดยเป็นหนังสือที่เขียนและรวบรวมขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เนื้อหาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ ขณะที่รูปเล่มส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และหนากว่าหนังสือทั่วๆ ไป รวมถึงมีการพิมพ์ออกมาเป็นชุดๆ พร้อมทั้งมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาของผู้อ่าน เช่น การเรียงตามลำดับอักษร เหตุการณ์ เขตภูมิศาสตร์ หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังมีลักษณะพิเศษเพื่อความสะดวกในการค้นหาเนื้อหา เช่น อักษรนำเล่ม คำนำนาง ดัชนีหัวแม่มือ สารบัญ ดัชนี ส่วนโยง <p>ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ 2 ประเภทหลัก คือ เนื้อหาวิชา และ หน้าที่ <p>1. เนื้อหาวิชา คือ หนังสืออ้างอิงทั่วไป ที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดสาขาวิชา ซึ่งตรงข้ามกับหนังสืออ้างอิงเฉพาะสาขาวิชา ที่ให้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง <p>2. หน้าที่ คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงภายในเล่ม และ หนังสืออ้างอิงที่เป็นเครื่องชี้โยงไปหาข้อเท็จจริงในเล่มอื่น เช่น ดัชนีวารสารและบรรณานุกรม <p>หนังสืออ้างอิงประเภทต่างๆ <p>พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549. <p>สารานุกรม เช่น โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการ, 2548- <p>หนังสือรายปี เช่น สยามออลมาแนค : สารนิเทศและปูมปฎิทินการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และข้อมูลสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามบรรณ, 2527- <p>อักขรานุกรมชีวประวัติ เช่น คณะกรรมการรวบรวมและค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์ ฯลฯ ของพระบาทสม เด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. อักขรานุกรมนามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์, 2534. <p>นามานุกรม เช่น สีดา สอนศรี. นามานุกรมหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การระหว่างประเทศในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2528- <p>หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ เช่น Britannica Altas. Chicago : Encyclopedia Britannica, 1987. <p>หนังสือคู่มือ เช่น ทวี แก้วมณี, ธนญา ตรึงตราจิตกุล, ชัยยา ศรีอำไพ. หนังสือคู่มือมาตรฐานและการทดสอบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและคอมโพสิท สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2549. <p>ดัชนีวารสาร เช่น ธำรงค์ ชูทัพ, สุดาวรรณ เครือพานิช. ดัชนีวารสารการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2535. <p>บรรณานุกรม เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด. บรรณานุกรม ดร.ป๋วย. [ กรุงเทพฯ ] : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. หนังสืออ้างอิง. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/index.html (สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Weeding | การคัดหนังสือออก, Example: หมายถึง การคัดหนังสือออก หรือการจำหน่ายหนังสือออก หรือการเคลื่อนย้ายทรัพยากรสารสนเทศออก เป็นกระบวนการพิจารณาการคัดเลือกหนังสือ ซึ่งอาจจะเป็นคัดออกอย่างถาวรโดยมีการจำหน่ายออกจากห้องสมุด หรือเพียงแต่การนำออกชั้นให้บริการ โดยจะมีการเก็บหนังสือที่ถูกคัดออกเหล่านี้ไว้ที่ห้องเก็บหรือพื้นที่เก็บหนังสือ แต่อาจจะยังคงมีการให้บริการอยู่ เมื่อมีการร้องขอ <p><b>ทำไมต้องมีการคัดหนังสือออก</b> <p>การคัดหนังสือออกเป็นหน้าที่ที่จำเป็นของห้องสมุดทุกแห่ง เนื่องจากเป็นการดูแลรักษาหนังสือเพื่อให้มีสภาพและเนื้อหาที่เหมาะสมกับการให้บริการในปัจจุบัน เพราะความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุดเปลี่ยนไปตามกาลเวลา การคัดหนังสือออกเป็นเรื่องจำเป็น เพื่อหนังสือที่มีให้บริการอยู่นั้น ทันสมัยและมีเนื้อหาเหมาะการใช้งาน และเนื่องจากห้องสมุดมีพื้นที่จำกัด จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะเก็บหนังสือทุกเล่มไว้ <p><b>ประโยชน์ของการคัดหนังสือออก</b> <p>1. ประหยัดพื้นที่ เนื่องจากห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งหนังสือ วารสาร และสื่ออื่นๆ เป็นจำนวนมาก การที่ห้องสมุดมีแต่การสั่งซื้อทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทเข้ามา ทำให้ต้องหาพื้นที่ในการจัดวางทรัพยากรสารสนเทศเหล่านั้นเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี <p>2. ประหยัดเวลา ช่วยให้ประหยัดเวลาทั้งของผู้ใช้ เจ้าหน้าที่ เนื่องจากชั้นหนังสือที่หนาแน่นไปด้วยหนังสือที่ไม่จำเป็น จะทำให้เสียเวลาในการหาและหยิบหนังสือ และเป็นการประหยัดเวลาในการทำความสะอาดชั้นหนังสือ <p>3. ทำให้สามารถจัดหาหนังสือที่ดีกว่า ทันสมัยกว่า และเหมาะสมกว่าเข้ามาแทนที่ <p>4. เป็นการรักษาให้มีแต่หนังสือที่จำเป็นต้องใช้อย่างแท้จริง <p>5. เป็นการประเมินหาจุดแข็ง และจุดอ่อนในการจัดหาหนังสือ <p><b>เกณฑ์พื้นฐานของการคัดเลือกหนังสือออก</b> <p>1. ด้านเนื้อหา: มีเนื้อหาไม่ทันสมัย ไม่ได้รับความสนใจอีกต่อไป เนื่องจากอาจจะเคยเป็นเนื้อหาได้รับความนิยมในช่วงเวลาหนึ่ง ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือมีฉบับที่พิมพ์ปรับปรุงใหม่แล้ว หนังสือที่ได้รับไม่ครบชุด หนังสือที่พิมพ์ฉบับเก่าซึ่งมีการพิมพ์ฉบับที่ใหม่กว่า เนื้อหาที่มีความลำเอียง อคติหรือมีอันตรายแฝงอยู่ หรือเป็นหนังสือที่ไม่สอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนการสอนแล้ว <p>2. ด้านการใช้: หมายถึง จำนวนครั้งในการยืมหนังสือ ไม่มีการยืมภายใน 5 ปีล่าสุด <p>3. ด้านจำนวนฉบับซ้ำ: มีจำนวนฉบับซ้ำมากเกินไป สามารถคัดออกและมีเฉพาะเท่าที่จำเป็น <p>4. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ: เช่น ไม่ควรเก็บวารสารที่ไม่ได้จัดทำดรรชนีวารสาร วารสารที่สามารถหาได้ในฐานข้อมูลฉบับเต็ม หนังสือไม่ครบชุด หนังสือที่มีอายุเกิน 20 ปี สารานุกรมที่มีอายุกว่า 10 ปี หนังสือรายปีที่อายุเกินกว่า 2 ปีแต่ให้เก็บฉบับเก่าไว้อย่างน้อย 5 ปี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีคู่มือการใช้งานและมีอายุกว่า 7 ปี <p>5. ด้านสภาพของหนังสือ: หนังสือเล่มนั้นมีสภาพที่เสียหายเกินกว่าการซ่อมแซมหรือไม่ ขาด ปกชำรุด กระดาษเป็นสีเหลือง ขาดหายไปบางหน้า <p>6. เกณฑ์อื่นๆ: หนังสือเล่มนั้นสามารถใช้ผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุด หนังสือเล่มนั้นได้รับการประเมินว่าเป็นหนังสือคลาสสิคที่ยังต้องเก็บไว้ <p><b>หลังจากการคัดหนังสือออก</b> <p>หนังสือที่ได้รับการพิจารณาว่าควรคัดออก อาจถูกนำไปเก็บไว้ที่ห้องเก็บหนังสือ และยังคงมีกระบวนการการคัดเลือกหนังสือออกอย่างถาวรต่อไป ฐานข้อมูลที่เก็บรายการระเบียนบรรณานุกรมของหนังสือจะถูกเปลี่ยนสถานะเพื่อให้ทราบว่าหนังสือถูกนำไปอยู่ที่ห้องเก็บหนังสือ และสามารถขอใช้บริการได้ <p>หลังจากหนังสือที่ถูกเก็บเกิน 1 ปี ถ้ายังไม่มีการถูกยืมและไม่มีการแนะนำจากบรรณารักษ์ว่าควรจะเก็บไว้ หนังสือนั้นจะถูกคัดออกจากห้องสมุดอย่างถาวร หนังสือที่ถูกคัดออกอย่างถาวรอาจนำไปบริจาคให้กับห้องสมุดแห่งอื่นๆ ที่มีความต้องการหรือสามารถใช้หนังสือนั้นได้อย่างเหมาะสม หรือถูกส่งนำไปเข้าโครงการรีไซเคิล <p><b>บรรณานุกรม:</b> <p>Larson, Jeanette. 2008. CREW: a Weeding Manual for Modern Libraries. [ Online ] : Available: https://www.tsl.state.tx.us/sites/default/files/public/tslac/ld/pubs/crew/crewmethod08.pdf. Accessed: 11-08-2012. <p>Book Weeding. 2012. [ Online ]: Available: http://www.msoe.edu/library/services/weed/ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Yearbook | หนังสือรายปี, Example: <p>หนังสือรายปี (Yearbooks, Annuals, Almanacs) คือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่มีกำหนดออกเป็นรายปี โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ คือ <p> <p>1. หนังสือรายปีของสารานุกรม (Encyclopedia Yearbook) เป็นหนังสือรายปีที่จัดทำขึ้นเพื่อเติมเนื้อหาของสารานุกรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น American Annual, Britainnica Book of the Year <p>2. หนังสือรายปีที่สรุปข่าวและเหตุการณ์ในรอบปี ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยเสนอในรูปของสรุปความเสนอเป็นรายสัปดาห์ เช่น World Almanac and Book of Facts, Siam Directory <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120828-Almanac.jpg" width="200" higth="100" alt="Almanac"> ภาพจาก http://www.worldalmanac.com/world-almanac.aspx <p>3. หนังสือรายปีที่สรุปผลงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เป็นการสรุปผลงานประจำปีของหน่วยงานต่างๆ เช่น รายงานประจำปี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120828-NSTDA-Annual-Report.jpg" width="200" higth="100" alt="NSTDA-Annual-Report"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Aisle | ทางเดินระหว่างตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Anonymous classic | งานที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง, หนังสือแบบฉบับที่ไม่มีชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book of quotation | หนังสืออัญพจน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book card | บัตรหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book case | ตู้หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book cloth | ผ้าเย็บปกหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book display | การแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book end | ที่กั้นหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book exhibition | การแสดงหนังสือ, นิทรรศการหนังสือ, Example: <p>ตัวอย่างการจัดนิทรรศการอ่านงานเขียนเรื่องสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ : <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-01.jpg" alt="Book exhibition"> <img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/20091003-lib-exhibition-02_0.jpg" alt="Book exhibition"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book fair | งานแสดงหนังสือ, งานนิทรรศการหนังสือ, Example: Book fair หมายถึง งานแสดงหนังสือ หรือ งานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาชั้นสูง หรือในสถานที่ที่ทีประชาชนสามารถไปร่วมงานได้โดยสะดวก <p> ความมุ่งหมายของงานนิทรรศการหนังสือเพื่อแสดงหนังสือใหม่ เพื่อเร้าใจให้ผู้ชมเกิดความสนใจในหนังสือได้รู้จักหนังสือใหม่ และอยากอ่านหนังสือต่างๆ มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ต่อเนื่องให้เกิดกับผู้ชมต่อไป นอกจากนั้นในงานอาจมีการจำหน่ายหนังสือใหม่ และมีกิจกรรมอื่น ๆ ประกอบ เช่น การสนทนา การอภิปราย การโต้วาที การสาธิต การแสดงละคร การเล่าเรื่องหนังสือ เกมและการแข่งขันต่าง ๆ การทายปัญหา ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีงานนิทรรศการหนังสือที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีโดยสำนักพิมพ์ ผู้ผลิตหนังสือ และร้านหนังสือร่วมออกร้านเป็นจำนวนมาก เช่น งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ งานนิทรรศการหนังสือแฟรงค์เฟิร์ต ที่เป็นแหล่งตลาดสำคัญสำหรับสำนักพิมพ์ที่ต้องการซื้อและขายลิขสิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิในการแปลและเอกสิทธิ์อื่น ๆ ให้กับต่างประเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book list | รายชื่อหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book mark | ที่คั่นหนังสือ, Example: Book mark หมายถึง ที่คั่นหนังสือ ใช้เพื่อคั่นหน้าหนังสือที่กำลังอ่านอยู่ เพื่อจะได้กลับมาอ่านหนังสือนั้นในคราวต่อไปได้ต่อเนื่องกัน ที่คั่นหนังสืออาจทำด้วยกระดาษแข็งหรือด้วยวัสดุอื่น เช่น ผ้า หนัง ริบบิ้น พลาสติก เหล็ก เป็นต้น โดยทำเป็นแถบยาว ที่คั่นหนังสือบางอันประดิษฐ์ตกแต่งทำด้วยมือมีลวดลายสวยงาม บางอันอาจมีคำขวัญเกี่ยวกับการอ่านหนังสือหรือข้อความอื่น ๆ ประกอบ ในหนังสือฉบับพิมพ์ที่มีราคาแพงมาก ใช้แถบริบบิ้นยาวกว่าหน้ากระดาษติดกาวไว้กับส่วนบนสุดของสันหนังสือเพื่อเป็นที่คั่นหนังสือของหนังสือเล่มนั้น ที่คั่นหนังสือเริ่มมีการผลิตออกมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบันด้วยจุดมุ่งหมายต่าง ๆ ทั้งในด้านการโฆษณาหนังสือ หรือเป็นของที่ระลึกในโอกาสต่าง ๆ เป็นสินค้า และเป็นของสะสม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book number | เลขหนังสือ, Example: <p> Book number หมายถึง เลขหนังสือ หรือเลขผู้แต่งหนังสือ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเลขเรียกหนังสือ (Call number) ประกอบด้วยเลขหมู่หนังสือ (Class number) และเลขหนังสือ โดยเลขหนังสือจะเป็นส่วนท้ายของเลขเรียกหนังสือ เลขหนังสือนี้ประกอบด้วยตัวอักษรจากชื่อผู้แต่งกับตัวเลขจำนวนหนึ่ง และบางครั้งรวมทั้งตัวอักษรซึ่งได้มาจากชื่อหนังสือด้วย เลขหนังสือมีประโยชน์ คือ ทำให้เลขเรียกหนังสือของหนังสือแต่ละเล่มมีความแตกต่างกัน และสามารถจัดเรียงตามลำดับบนชั้นได้ไม่ซ้ำกัน <p> ในต่างประเทศได้จัดทำเลขผู้แต่งหนังสือมานานแล้ว โดยเริ่มจาก ชาร์ล เอ คัตเตอร์ (Charle A Cutter) ได้จัดทำ Cutter’s Two Figure Author Table ขึ้นในปลายศตวรรษที่ 19 ต่อมาเคท อี. แซนบอร์น (Kate E. Sanborn) ได้จัดทำ Three Figure Table ขึ้นจากคำแนะนำของคัตเตอร์ โดยใช้ชื่อว่า Cutter-Sanborn Three Figure Author Table ดังนั้น จึงนิยมเรียกตารางเลขผู้แต่งที่แซนบอร์น คิดขึ้นนี้ว่า Cutter-Sanborn Table และใช้เป็นพื้นฐานสำหรับเลขผู้แต่งสมัยปัจจุบัน <p> ในประเทศไทยหอสมุดแห่งชาติได้นำแนวคิดจากตารางเลขผู้แต่ง Cutter-Sanborn Three Figure Author Table มาพัฒนาตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูปของหอสมุดแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และเผยแพร่ไปยังห้องสมุดต่างๆ อย่างแพร่หลาย จนในปี พ.ศ. 2528 หอสมุดแห่งชาติ จึงได้จัดพิมพ์เผยแพร่อย่างเป็นทางการใช้ชื่อว่า ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป (Thai Author Table) จากนั้นได้จัดพิมพ์เผยแพร่อีก 3 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2531, 2538 และ 2547 ตารางเลขผู้แต่งของหอสมุดแห่งชาติ ได้รับความนิยมแพร่หลาย เนื่องจากเป็นคู่มือที่มีการกำหนดเลขไว้แน่นอน เรียงชื่อผู้แต่งตามพจนานุกรม โดยกำหนดเลข 3 หลักควบคู่กับชื่อผู้แต่ง นับเป็นคู่มือที่ให้ความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงานมาก เมื่อเทียบกับการกำหนดเลขผู้แต่งโดยการบวกตัวเลขระหว่างตัวอักษรและสระประจำตัวผู้แต่ง <p> นอกจากนี้ยังมีเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยอื่น ๆ ที่ห้องสมุดหลายแห่งได้พัฒนาขึ้นใช้เอง ได้แก่ <p> 1) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของหอสมุดกลาง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย <p> 2) เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยแบบของ หอสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ <p> 3) เลขผู้แต่งภาษาไทยของสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม <p> เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือ เลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยของหอสมุดแห่งชาติ ซึ่งปัจจุบันจัดพิมพ์เป็นครั้งที่ 5 แล้ว <p> โดยทั่วไปเลขหนังสือประกอบด้วย เลขผู้แต่ง In general, book number = author number + title (or work) mark + edition mark + date of publication + volume number + copy number + anything else library policy dictates ตัวอย่างการให้เลขหนังสือ <p> หนังสือเล่มหนึ่ง เมื่อจัดหมวดหมู่ในระบบ LC (ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน) ได้เลขเรียกหนังสือ ดังนี้ <p> BF 408 เลขหมู่หนังสือ (Class Number) <p> ว716 เลขหนังสือ (Book number) <p> เมื่อหนังสือมีเลขหมู่หนังสือซ้ำกัน เลขหนังสือจะช่วยจัดลำดับหนังสือที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันบนชั้นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น มีหนังสือที่มีเลขหมู่เดียวกันบนชั้น 5 เล่ม แต่มีผู้แต่งต่างกัน เมื่อจัดวางหนังสือบนชั้น จะนำมาจัดเรียงได้ ดังนี้ <p> BF 408 BF 408 BF 408 BF 408 BF <p> ว 716 ว 447 ส 282 อ 113 อ 459 <p>ในกรณีที่ห้องสมุดมีหนังสือของผู้แต่งคนเดียวกันที่มีเลขหมู่หนังสือซ้ำกันและมีอยู่บนชั้นหลายเล่ม เกิดปัญหาในการจัดวางหนังสือบนชั้น จะใช้วิธีเพิ่มตัวอักษรตัวแรกของชื่อเรื่องต่อท้ายเลขหนังสือ เช่น <p> BF 408 BF 408 ดังนั้น จึงทำให้หนังสือสองเล่มนี้มีตำแหน่งที่วางโดยเฉพาะบนชั้นหนังสือ <p> อ 968 ค อ 968 จ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book review | บรรณนิทัศน์, การวิจารณ์หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliotheraphy | การรักษาด้วยหนังสือ, บรรณบำบัด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book | หนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book and reading | หนังสือและการอ่าน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Book scout | พ่อค้าหนังสือเก่า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อ่านหนังสือ | [ān nangseū] (v, exp) EN: read ; study FR: lire ; étudier |
อ่านหนังสือพิมพ์ | [ān nangseūphim] (v, exp) EN: read a newspaper FR: lire un journal |
ชั้นหนังสือ | [chan nangseū] (n) EN: bookcase FR: bibliothèque [ f ] (meuble) ; tablette [ f ] |
ชื่อหนังสือ | [cheū nangseū] (n, exp) EN: title FR: titre [ m ] ; titre d'un livre [ m ] ; titre d'un ouvrage [ m ] |
ดรรชนีชื่อหนังสือ | [datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index FR: bibliographie [ f ] |
ห้องหนังสือ | [hǿng nangseū] (n) EN: study room FR: bureau [ m ] ; bibliothèque [ f ] |
การอ่านหนังสือ | [kān ān nangseū] (n, exp) EN: reading FR: lecture [ f ] |
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ | [kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification FR: classification des ouvrages [ f ] |
การออกหนังสือ | [kān øk nangseū] (n, exp) FR: publication d'un livre [ f ] |
การเรียนหนังสือ | [kān rīen nangseū] (n) EN: study ; learning FR: apprentissage [ m ] ; formation (scolaire) [ f ] |
การวิจารณ์หนังสือ | [kān wijān nangseū] (n, exp) EN: book review FR: critique littéraire [ f ] |
เขียนหนังสือ | [khīen nangseū] (n, exp) EN: write ; compose ; author (form.) ; scribe FR: écrire ; rédiger ; s'adonner à l'écriture |
คลี่หนังสือ | [khlī nangseū] (v, exp) EN: open a book FR: ouvrir un livre |
คนขายหนังสือพิมพ์ | [khonkhāi nangseūphim] (n, exp) EN: news vendor |
คนส่งหนังสือพิมพ์ | [khonsong nangseūphim] (n) EN: newspaper deliver FR: livreur de journaux [ m ] |
เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้ | [kīokap nangseū lem nī] (xp) EN: about this book FR: au sujet de ce livre ; à propos de ce livre |
กระดาษหนังสือพิมพ์ | [kradāt nangseūphim] (n, exp) EN: nenewsprint ; newspaper sheet FR: papier journal [ m ] |
กระเป๋าหนังสือ | [krapao nangseū] (n, exp) EN: school bag |
เลขที่หนังสือเดินทาง | [lēkthī nangseūdoēnthāng] (n, exp) EN: passeport number FR: numéro de passeport [ m ] |
ไม่รู้หนังสือ | [mai rū nangseū] (v, exp) EN: illiterate FR: illettré ; analphabète |
นักหนังสือพิมพ์ | [naknangseūphim] (n) EN: journalist FR: journaliste [ m, f ] |
หน้า หนังสือ | [nā nangseū] (n) EN: page FR: page |
หนังสือ | [nangseū] (n) EN: book ; textbook FR: livre [ m ] ; bouquin [ m ] (fam.) ; ouvrage [ m ] ; manuel scolaire [ m ] ; livre scolaire [ m ] |
หนังสือ | [nangseū] (n) EN: letter ; document FR: lettre [ f ] ; document [ m ] |
หนังสืออ้างอิง | [nangseū āng-ing] (n, exp) EN: reference ; documentation FR: documentation [ f ] |
หนังสืออ่านเล่น | [nangseū ān len] (n, exp) EN: novel ; fiction FR: roman [ m ] |
หนังสือแบบเรียน | [nangseū baēp rīen] (n, exp) EN: textbook ; school book ; course book FR: livre scolaire [ m ] ; manuel scolaire [ m ] |
หนังสือบอกกล่าว | [nangseū bøkklāo] (n, exp) EN: notice |
หนังสือโบราณ | [nangseū bōrān] (n, exp) EN: ancient book FR: livre ancien [ m ] ; vieux livre [ m ] |
หนังสือบริคณห์สนธิ | [nangseū børikhon sonthi] (n, exp) EN: memorandum of association |
หนังสือชี้ชวน | [nangseū chī chūan] (n, exp) EN: prospectus FR: prospectus |
หนังสือเชิญ | [nangseū choēn] (n, exp) EN: letter of invitation FR: lettre d'invitation [ f ] |
หนังสือเดินทาง | [nangseū doēnthāng] (n) EN: passport FR: passeport [ m ] |
หนังสือเดินทางต่างชาติ | [nangseū doēnthāng tāngchāt] (n, exp) EN: foreign passport FR: passeport étranger [ m ] |
หนังสือเดินทางไทย | [nangseū doēnthāng Thai] (n, exp) EN: Thai passport FR: passeport thaï [ m ] ; passeport thaïlandais [ m ] |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ | [nangseū ilekthrønik] (n, exp) EN: e-book FR: livre électronique [ m ] ; e-book [ m ] |
หนังสือแจก | [nangseū jaēk] (n, exp) EN: free book |
หนังสือแจ้งหนี้ | [nangseū jaēng nī] (n, exp) EN: letter requesting payment ; dunning letter ; reminder |
หนังสือการ์ตูน | [nangseū kātūn] (n, exp) FR: illustré [ m ] ; bande dessinée [ f ] ; bédé [ f ] (fam.) |
หนังสือค้ำประกันธนาคาร | [nangseū khamprakan thanākhān] (n, exp) EN: bank guarantee |
หนังสือข้อตกลง | [nangseū khøtoklong] (n, exp) EN: letter of agreement |
หนังสือคู่มือ | [nangseū khūmeū] (n) EN: manual ; handbook ; user's guide ; manuscript FR: manuel [ m ] ; guide [ m ] |
หนังสือคุ้มกัน | [nangseū khumkan] (n, exp) EN: pass ; safe-conduct FR: laissez-passer [ m ] ; sauf-conduit [ m ] |
หนังสือเล่มนี้ | [nangseū lem nī] (n, exp) EN: this book FR: ce livre |
หนังสือลามก | [nangseū lāmok] (n, exp) EN: pornographic book FR: livre obscène [ m ] ; livre pornographique [ m ] |
หนังสือมอบอำนาจ | [nangseū møp amnāt] (n, exp) EN: power of attorney ; proxy |
หนังสือมอบฉันทะ | [nangseū møp chantha] (n, exp) EN: proxy ; letter of power of attorney |
หนังสือแนะนำ | [nangseū naenam] (n, exp) EN: letter of introduction ; letter of recommendation |
หนังสือแนะนำ | [nangseū naenam] (n, exp) EN: guide book FR: guide [ m ] |
หนังสือนำเที่ยว | [nangseū namthīo] (n, exp) EN: guide book FR: guide touristique [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
phrase book | (n) หนังสือรวมวลี |
advance payment guarantee | (n) หนังสือสัญญาค้ำประกันการรับเงินล่วงหน้า |
get | (vt) ได้รับ เช่น I got the book yesterday. ฉันได้รับหนังสือเมื่อวานนี้ |
bookstore | (n) ร้านหนังสือ |
sidebar | (n) ข่าวหรือข้อมูลสั้นๆที่แทรกอยู่ข้างๆของข่าวหรือข้อความหลักทั้งในสิ่งพิมพ์บนเว็บและในหนังสือ โดยมากมักจะมีความเกี่ยวข้องกับข้อความหลัก |
phrase book | หนังสือรวมบทสนทนาหรือสำนวนภาษาต่างประเทศ |
genesis | (n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), Syn. The First Book of Moses |
withholding tax | (n) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย; เป็นภาษีที่ผู้จ่ายต้องหักไว้จากยอดเงินที่เรียกเก็บ แล้วนำส่งให้กับกรมสรรพากร โดยต้องหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้กับผู้รับเงิน; ข้อมูลเพิ่มเติม www.rd.go.th |
Memorandum of Association | (n) หนังสือบริคณห์สนธิ |
MOA | (abb) หนังสือบริคณห์สนธิ ย่อมาจาก Memorandum of Association |
audiobook | (n) หนังสือเสียง, หนังสือที่มีคนอ่านให้เราฟัง เช่น I’m a latecomer to this whole Harry Potter thing, but am no less enthusiastic about the recent release of the final volume of Harry Potter audiobooks., Syn. audio book |
clipping | (n) กฤตภาค, ข่าวในหนังสือพิมพ์ที่ตัดเป็นชิ้นๆ เช่น The company is a public relations supplier of media directories, media software, press clippings, Internet clipping, media lists and news. |
exegete | (n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator |
midrash | (n) หนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Talmud, Mikra, Masorah, Syn. Exegesis |
halakhah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Aggadah, Syn. exegesis |
aggadah | (n) เป็นส่วนหนึ่งของหนังสือ Midrash ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณ(คัมภีร์ห้าเล่มแรกของชาวยิว) ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนคือ Halakhah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณที่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ และ Aggadah ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายหนังสือเบญจบรรณในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับธรรมบัญญัติ, See also: Midrash, Halakhah, Syn. exegesis |
exodus | (n) หนังสืออพยพ หนังสือเล่มที่ 2 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament |
leviticus | (n) หนังสือเลวีนิติ หนังสือเล่มที่ 3 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament |
numbers | (n) หนังสือกันดารวิถี หนังสือเล่มที่ 4 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament |
deuteronomy | (n) หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ หนังสือเล่มที่ 5 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: The Old Testament |
colophon | (n) ข้อมูลทางบรรณานุกรม, ชื่อและที่อยู่ของสำนักพิมพ์บนปกหน้าของหนังสือ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
addendum | (n) ใบแทรก (โดยเฉพาะสำหรับหนังสือ), See also: ภาคผนวก, คำเพิ่มเติม |
agreement | (n) คำสัญญา, See also: สัญญา, หนังสือสัญญา |
almanac | (n) หนังสือที่บันทึกข้อมูลสถิติ, Syn. statistical almanac, record, register of the year |
alphabet | (n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. letters, syllabary, characters |
Americana | (n) หนังสือหรืองานเขียนที่เกี่ยวกับชนชาติอเมริกัน, Syn. American history, American materials |
annual | (n) หนังสือประจำปี, Syn. yearbook, yearly report book |
atlas | (n) หนังสือแผนที่, See also: สมุดแผนที่, Syn. book of maps |
author | (vt) ประพันธ์, See also: เขียนหนังสือ, แต่งหนังสือ, เขียน, Syn. compose, produce, pen |
back issue | (n) สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารจากอดีต, Syn. back copy, back member |
back number | (n) หนังสือพิมพ์/นิตยสารที่เคยตีพิมพแล้วแต่ยังมีค่าอยู่, See also: สำเนาหนังสือพิมพ์หรือนิตยสารฉบับที่ออกไปแล้ว, Syn. back issue |
best-seller | (n) หนังสือหรือสิ่งที่ขายดี |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog. |
bibliophile | (n) คนรักหรือสะสมหนังสือ |
book | (n) หนังสือ |
bookbinder | (n) คนเย็บเล่มหนังสือ |
bookbinding | (adj) การเย็บเล่มหรือปกหนังสือ |
bookcase | (n) ตู้หนังสือ, See also: ตู้หรือชั้นสำหรับใส่หนังสือ, Syn. bookshelf |
bookend | (n) ที่ตั้งหนังสือ (ทำให้หนังสือตรงเป็นแถว) |
bookish | (adj) ชอบอ่านหนังสือ |
booklet | (n) หนังสือเล่มเล็ก, Syn. pamphlet |
bookmaker | (n) คนทำหนังสือ |
bookmark | (n) ที่คั่นหนังสือ |
bookplate | (n) ป้ายชื่อในหนังสือ (ระบุผู้เป็นเจ้าของหนังสือ) |
bookseller | (n) คนขายหนังสือ |
bookshelf | (n) ชั้นหนังสือ, Syn. bookcase |
bookstall | (n) ร้านหนังสือเล็ก, Syn. news-stand |
bookstore | (n) ร้านหนังสือ, See also: ร้านขายหนังสือ, Syn. bookshop |
bookworm | (n) หนอนหนังสือ |
braille | (vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์ |
broadsheet | (n) หนังสือพิมพ์ขนาดใหญ่ |
brochure | (n) แผ่นพับสำหรับโฆษณา, See also: สมุดหรือหนังสือที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า มีภาพประกอบ, Syn. booklet |
byline | (n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน |
call number | (n) เลขเรียกหนังสือในห้องสมุด, See also: หมายเลขที่แสดงตำแหน่งที่เก็บของหนังสือในห้องสมุด |
carrel | (n) ช่องหรือโต๊ะอ่านหนังสือเล็กเฉพาะบุคคล, Syn. cubical, stall |
carrier | (n) คนส่งหนังสือพิมพ์ |
cartoon strip | (n) การ์ตูนสั้นๆ ในหนังสือพิมพ์, Syn. comic strip, strip cartoon |
centerfold | (n) หน้ากระดาษคู่ที่อยู่ตรงกลางหนังสือ, Syn. centrefold |
centrefold | (n) หน้ากระดาษคู่ที่อยู่ตรงกลางหนังสือ, Syn. centerfold |
certificate | (vt) รับรองด้วยหนังสือรับรอง, See also: รับรองด้วยเอกสารรับรอง |
certificate | (n) หนังสือรับรอง, Syn. credential |
certificate | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร |
certify | (vt) ให้หนังสือรับรอง, See also: ให้ประกาศนียบัตร |
chapbook | (n) หนังสือเล่มเล็กๆ, Syn. pamphlet |
chapter | (n) บท (ของหนังสือหรืองานเขียน), See also: เรื่อง, ตอน, ส่วนย่อย, Syn. section, episode |
charge | (vt) ยืม (หนังสือ), See also: ยืมหนังสือจากห้องสมุด, Syn. borrow |
charge | (vt) ลงบันทึกการยืม, See also: ลงบันทึกการยืมหนังสือ จากห้องสมุด |
charter | (n) ใบอนุญาต, See also: ตราตั้ง, ใบทะเบียน, หนังสืออนุญาต, Syn. license, grant |
charter | (n) สัญญาเช่า, See also: หนังสือสัญญา, สัญญารับเหมา |
check | (n) เช็ค, See also: หนังสือตราสาร, Syn. bank check, cheque |
clipping | (n) ข่าวสารที่ตัดจากหนังสือพิมพ์หรือนิตยาสาร |
Hope Dictionary
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
act | (แอคทฺ) n., vt., vi. การกระทำ, พฤติการณ์, ฉาก, องก์ (ละคร) , การเล่นละคร, ฤทธิ์, อำนาจ, การดำเนินคดี, การปฏิบัติหน้าที่, การบังเกิดผล, การแกล้งทำ, เหตุการณ์ในละครหรือหนังสือ, เครื่องจักร, การเคลื่อนไหว, การรบ, Syn. perform, do, pl abbr. activated clotting enzyme |
acts of the apostles | หนังสือหรือบทหนึ่งของพระคัมภีร์ New Testament ของคริสเตียน |
agenda | (อะเจน' ดะ) n., (pl. -das, -da) ระเบียบวาระการประชุม, หนังสือบันทึกเรื่องราว, พหูพจน์ของ agendum, Syn. schedule, programme, timetable |
ambry | (แอม' บรีป n. ตู้ใส่อาหาร, ตู้เสื้อผ้า, ตู้ใส่ภาชนะ, หนังสือ, เครื่องแต่งตัวและอื่น ๆ ของโบสถ์ |
americana | (อะเมริแคน' นะ) n. หนังสือหรือแผนที่ที่เกี่ยวกับอเมริกา, สิ่งสะสมดังกล่าว |
amos | (เอ' มอส) n. ผู้เผยแพร่ศาสนา, บทหนังสือในพระคัมภีร์ (a minor Prophet) |
annalist | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) |
annals | (แอน' นัลซฺ) บันทึกเหตุการณ์ประจำปี, บันทึกประวัติศาสตร์, หนังสือรายงานเป็นทางการของหน่วยงาน (a record of events) |
annual | (แอน' นวล) adj. ประจำปี, ทุกปี, เกี่ยวกับปี, เกิดขึ้นระหว่างปี, มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว. -n. พืชที่มีชีวิตอยู่เพียงฤดูเดียวหรือปีเดียว, หนังสือหรือรายได้ประจำปี. -annually adv., Syn. yearlong, yearly |
antiphonary | (แอนทิฟ' โพนารี) n. หนังสือเกี่ยวกับ antiphons (book of antiphons) |
antiquarian | (แอนทีแคว' เรียน) adj. เกี่ยวกับการศึกษาโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับหนังสือเก่า ๆ หรือที่หายาก. -antiquarianism n. |
apocrypha | (อะพอค'ระฟะ) n. กลุ่ม 14 บทหนังสือของพระคัมภีร์เก่า Old Testment ของคริสเตียน, บทหนังสือศาสนาที่หาแปล่งมาไม่แน่ชัดและไม่เป็นที่ยอมรับกันมาก (shorten) |
apologia | (แอพพะโล'เจีย) n. หนังสือแก้ต่างหรือแก้ข้อกล่าวหา, การแก้ข้อกล่าวหา (apology) |
arithmetic | (อะริธ'เมททิค) n. เลขคณิต, หนังสือเกี่ยวกับเลขคณิต. -adj. เกี่ยวกับเลขคณิต |
armorial | (อาร์มอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับ heraldry. -n. หนังสือที่เกี่ยวกับ heraldry |
authorship | (ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน |
balloon help | คำอธิบายสั้น ๆ หมายถึง คำอธิบายพิเศษที่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชที่ใช้ System 7 จัดไว้ เพื่ออธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ส่วนมากจะเป็นคำอธิบายสั้น ๆ แสดบนจอภาพในลักษณะของคำพูดในหนังสือการ์ตูน ไม่เหมือน กับเมนู Help ของเดิม ที่มีข้อมูลหรือคำอธิบายยาว ๆ |
best seller | n. หนังสือหรือสินค้าที่ขายดีที่สุดในระยะหนึ่ง, See also: bestselling n. |
bibliography | (บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม |
bibliophile | (บิบ'ลีอะฟิล, -ไฟล์) n. ผู้ชอบหนังสือ, ผู้ชอบสะสมหนังสือ, See also: bibliophilist, bibliophilism n. bibliophilistic adj. ชอบหนังสือ bibliophilic adj. ชอบหนังสือ, Syn. book lover |
bill | (บิล) { billed, billing, bills } n. ตั๋วเงิน, พันธบัตร, ธนบัตร, บิล, ใบเสร็จ, ใบแสดงรายงานซื้อขาย, พระราชบัญญัติ, ญัตติ, ร่างญัตติ, คำโฆษณา, รายการ, หนังสือยื่นฟ้อง, จะงอยปาก, ปากนก -Phr. (a Bill of Oblivion พระราชบัญญัติอภัยโทษ) -Id. (bill the bill สนองความต้องการทั้งหมด |
binder | (ไบ'เดอะ) n. สิ่งที่ผูกมัด, ผู้ผูก, ผู้มัด, การเย็บปก, ยาเกาะติด, เชือก, สายมัด, แผ่นปะหน้าหนังสือ, เงินมัดจำ, เครื่องเย็บเล่ม, เครื่องเข้าปก, แฟ้ม |
bindery | (ไบ'เดอรี) n. ร้านหรือโรงเย็บเล่มหนังสือ, ร้านหรือโรงเข้าปกหนังสือ |
binding | (ไบน์'ดิง) n. การผูก, การมัด, สิ่งผูกมัด, การเข้าปกหนังสือ, การเย็บเล่มหนังสือ, การทำให้ท้องผูก, สายมัด, สายพัน, ยาเชื่อมติด adj. จำเป็น, ผูกพัน, Syn. compelling |
boodrest | ที่ค้ำหนังสือที่เปิดอ้า |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
book | (บุค) n. หนังสือ v.จอง, การจอง |
book jacket | n. ปกหุ้มหนังสือ |
bookbindery | (บุค'ไบเดอรี) n. ร้านเข้าปกหนังสือ, ร้านทำปกหนังสือ |
bookbinding | (บุค'ไบดิง) n. การเข้าปกหนังสือ, การทำปกหนังสือ |
bookcase | (บุค'เคส) n. ตู้หรือชั้นสำหรับใส่หนังสือ |
bookend | (บุค'เอนดฺ) n. ที่หนีบค้ำแถวหนังสือให้ตั้งตรง, Syn. bookend |
bookie | (บุค'คี) n. คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า, Syn. bookmaker |
bookish | (บุค'คิช) adj. ชอบอ่านหนังสือ, ชอบศึกษา, หนอนหนังสือ, เกี่ยวกับหนังสือ, เกี่ยวกับอักษรศาสตร์, See also: bookishness n., Syn. erudite |
booklearned | (บุด'เลิร์นดฺ) adj. ซึ่งเชื่อถือความรู้ในหนังสือ, การศึกษา |
booklet | n. หนังสือเล่มเล็ก ๆ |
bookmaker | n. คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า, See also: bookmaking n. การทำหนังสือ |
bookmark | n. ที่คั่นหนังสือ, ริบบิ้นหรือกระดาษคั่นหนังสือ ที่คั่นหนังสือคั่นหน้า1. การใช้ที่คั่นหนังสือนั้นเพื่อประโยชน์ในการกลับมาหาที่เก่าได้ง่าย ไม่ต้องเสียเวลาค้นหา ในทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ทำไว้ให้ง่ายในการกลับมาค้นหา 2. เป็นคำสั่งในโปรแกรมบางโปรแกรมที่ช่วยให้กลับมาค้นหาง่าย กล่าวคือนำข้อความหรือคำสั่งมารวมไว้ หากต้องการสั่งก็จะหาพบได้ง่าย เช่น ในโปรแกรมเน็ตสเคป (ใช้อินเตอร์เน็ต) การเลือกคำสั่ง bookmark หมายถึงการนำชื่อโฮมเพจที่จะใช้บ่อย ๆ ไปเก็บรวมไว้ เมื่อต้องการกลับไปใช้อีก จะได้สั่งได้สะดวก |
bookplate | n. ป้ายชื่อเจ้าของหนังสือหรือห้องสมุดที่ติดกับหนังสือ |
bookrack | ที่ค้ำหนังสือที่เปิดอ้า |
bookshelf | (บุค'เชลฟฺ) n. หิ้งหนังสือ, ที่ตั้งหนังสือ |
bookstall | (บุค'สทอล) n. ที่สำหรับตั้งหนังสืออ่าน |
bookstand | ร้านขายหนังสือเล็ก, แผงหนังสือ, หิ้งหนังสือ |
bookstore | n. ร้านขายหนังสือ |
bookworm | (บุค'เวิร์ม) n. ผู้ที่ชอบอ่านหนังสือมาก, คนที่ชอบเรียนหนังสือมาก, หนอนหนังสือ, หนอนกัดกินหนังสือ, ปลวกหนังสือ |
braille | (เบรล) n. ตัวหนังสือนูนสำหรับคนตาพิการ, ชื่อผู้สร้างตัวหนังสือดังกล่าว vt. เขียนตัวหนังสือเบรลล์ |
breviary | (บรี'วิเออรี่) n. หนังสือบทสวดมนต์และอธิษฐานทุกวันของศาสนาคาทอลิก, ใจความสำคัญ |
brochure | (โบร?ัวร์') n. หนังสือเล่มเล็ก |
brown study | n. อยู่ในภวังค์, หมกมุ่นอยู่กับการดูหนังสืออย่างมาก |
Nontri Dictionary
annals | (n) สมุดบันทึกเหตุการณ์ประจำปี, หนังสือประจำปี |
annual | (n) หนังสือประจำปี, หนังสือรายปี |
archivist | (n) ผู้เก็บเอกสารสำคัญ, พนักงานเก็บหนังสือ |
bibliophile | (n) ผู้สะสมหนังสือ |
bibliopole | (n) คนขายหนังสือ |
bibliotheca | (n) ห้องสมุด, รายชื่อหนังสือ |
bimonthly | (n) หนังสือพิมพ์ออกทุกๆสองเดือน |
BLACK AND black and white | (n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ |
book | (n) หนังสือ, ตำรา, สมุด, คัมภีร์ |
bookcase | (n) ตู้หนังสือ |
bookie | (n) คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า |
bookish | (adj) เป็นหนอนหนังสือ |
booklet | (n) หนังสือเล่มเล็ก |
bookmaker | (n) คนทำหนังสือ, เจ้ามือรับแทงม้า |
bookmark | (n) ที่คั่นหนังสือ |
bookseller | (n) คนขายหนังสือ |
bookshop | (n) ร้านขายหนังสือ |
bookstall | (n) แผงขายหนังสือ |
bookstand | (n) แผงหนังสือ, ร้านขายหนังสือ, หิ้งหนังสือ |
bookstore | (n) ร้านขายหนังสือ |
bookworm | (n) หนอนหนังสือ |
brochure | (n) แผ่นพับ, หนังสือเล่มเล็กๆ |
bumf | (n) หนังสือราชการ, กระดาษบันทึก |
bureau | (n) ที่ทำการ, โต๊ะทำงาน, โต๊ะเขียนหนังสือ |
censor | (n) ผู้ติชม, ผู้ตรวจหนังสือพิมพ์ฯลฯ, ผู้ควบคุมความประพฤติ |
censor | (vt) ติชม, ตรวจหนังสือพิมพ์, จับผิด, ตรวจสอบ, เซนเซอร์ |
censorship | (n) การติชม, การตรวจหนังสือพิมพ์, การตรวจตรา, การตรวจสอบ, การเซนเซอร์ |
certificate | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, ใบรับรอง, หนังสือรับรอง |
Chinese | (n) ชาวจีน, คนจีน, ภาษาจีน, หนังสือจีน |
COMIC comic book | (n) หนังสือการ์ตูน |
communique | (n) หนังสือแถลงการณ์ |
compendium | (n) บทสรุป, หนังสือย่อเรื่อง |
contract | (n) สัญญา, ข้อตกลง, นิติกรรมสัญญา, หนังสือสัญญา, ไพ่ |
courier | (n) ผู้สื่อข่าว, ผู้ส่งข่าว, คนเดินหนังสือ |
credentials | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง |
daily | (n) หนังสือพิมพ์รายวัน |
davenport | (n) เก้าอี้นวม, โต๊ะหนังสือ |
despatch | (vt) ส่ง, เดินหนังสือ, รีบทำ, จัดการ, ฆ่า |
dictionary | (n) พจนานุกรม, ปทานุกรม, หนังสือรวมคำศัพท์, อภิธานศัพท์ |
digest | (n) เรื่องย่อ, หนังสือประมวลกฎหมาย |
diploma | (n) ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, อนุปริญญา, หนังสือสำคัญ |
dispatch | (n) ข่าวด่วน, การฆ่า, การส่งไป, การส่งหนังสือ, ความฉับไว, หนังสือราชการ |
dispatch | (vt) เดินหนังสือ, รีบทำ, ส่งไป, ฆ่า |
draftsman | (n) คนยกร่าง, การสเก็ตภาพ, คนร่างหนังสือ |
express | (n) รถด่วน, การส่งด่วน, คนเดินหนังสือพิเศษ |
fillet | (n) สันหนังสือ, ปลาแผ่น, มงคลสวมหัว, ริบบิ้น, โบผูกผม |
folio | (n) หนังสือหน้ายกใหญ่, เลขหน้าหนังสือ |
frontispiece | (n) ภาพตรงข้ามกับหน้าบอกชื่อหนังสือ |
gazette | (n) หนังสือพิมพ์, หนังสือราชกิจจานุเบกษา |
gazetteer | (n) นักหนังสือพิมพ์, อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
show-cause notice | (n) หนังสือชี้แจงข้อมูล |
Abnahmebescheinigung { f }; Abnahmeprotokoll { n } | (n) หนังสือรับรองการรับรอง, See also: A. ไม่ยอมรับ, เห้นด้วย, Syn. การยินยอม |
act | (n) หนังสือสัญญา (รัฐศาสตร์) |
blockbuster | ภาพยนตร์หรือหนังสือที่ประสบความสำเร็จได้รับความนิยมจากผู้ชมหรือผู้อ่าน, หนังทำเงิน, หนังสือขายดี |
book | (n) หนังสือ |
consent letter | (n, law) หนังสือแสดงความยินยอม |
Deed of Guarantee | (n) หนังสือค้ำประกัน |
Encyclopaedia Britannica | (name) เป็นหนังสือที่มีลักษณะคล้ายกับ Dictionary ให้ข้อมูลต่างๆมากมาย |
fomite | (n) วัตถุที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค เช่น จานชาม หนังสือ ลูกบิดประตู เสื้อผ้า เป็นต้น |
fools cap | หมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้ |
Graded Readers | หนังสืออ่านนอกเวลา |
i owe you | (n) หนังสือรับสภาพหนี้, Syn. IOU |
in addition to | (prep) พร้อมด้วย, รวมทั้ง เช่น We'll need passports in addition to other documents. เราต้องการหนังสือเดินทางพร้อมทั้งเอกสารอื่นๆ อีกด้วย |
interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด |
iou | (n) หนังสือยอมรับสภาพหนี้ |
jacket | (n) 1. เสื้อคลุม, เสื้อแจ็กเก็ต 2. ปกหนังสือ, แฟ้มเอกสาร, ซองสำหรับใส่แผ่นเสียง 3. เปลือก (ของมันฝรั่ง) 4. เสื้อชูชีพ |
LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
letter of administration | (n) หนังสือแต่งตั้งผู้จัดการมรดกโดยคำสั่งศาล |
letter of order | หนังสือสั่งการ |
lettered | (adj) อ่านหนังสือออก |
memorandum of association | (n) หนังสือบริคณห์สนธิ |
One Piece | (n, name) มังงะ(หนังสือการ์ตูน) ชื่อดังของญี่ปุ่นซึ่งมียอดขายอยู่ในลำดับต้นๆของโลก เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับการผจญภัยของลูฟี่ หนุ่มน้อยผู้อยากเป็นจ้าวแห่งโจรสลัด! |
Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ |
phrase book | (n) หนังสือสอนภาษาฉบับย่อ |
prequel | คำเรียกหนังสือ/ภาพยนตร์ภาคต่อ ที่มีลำดับเนื้อเรื่องก่อนเนื้อเรื่องหลัก เช่น หนังภาคแรกที่จบไปแล้วเป็นเรื่องของตัวเอก และหนังภาค2ที่กำลังเข้าเป็นเรื่องของพ่อแม่ตัวเอก ในวงการหนังจะเรียกหนังภาค 2 ว่า "prequel" เป็นต้น |
prospectus | (n) (ธุรกิจ, การเงิน) หนังสือชี้ชวน |
scarlet letter | (n) หนังสือหรือจดหมายที่ผู้แต่งเขียนไว้สำหรับขอโทษในความผิดพลาดของตัวเอง, จดหมายลา |
Schutzumschlag { m } | (n) ปกสำหรับกันฝุ่นเกาะ, หนังสือปกแข็ง |
scribble | (n) ตัวหนังสือหยุกหยิก, การแต่งหนังสือเลว |
slipcase | (n) กล่องใส่หนังสือซึ่งมีที่เปิดออกด้านเดียว คือ ทางด้านสันหนังสือ Image: |
to study for the exam | อ่านหนังสือสอบ |
Unless otherwise endorsed | (phrase, colloq, passport) นอกจากจะเขียนบันทึกไว้เป็นอย่างอื่น (ปรากฎในหน้าหนังสือเดินทาง) |
ซากอ้อย | (n, slang) เศษซากของประโยชน์ ไม่ได้มีห่าอะไรเล้ย...ซากอ้อยว่ะ เดิมทีปรากฎอยู่ในเนื้อเพลงของวง so cool มีคนมาพูดผ่านๆ หูนายวิชัย นายวิชัยนำไปเขียนลงบล็อก จากบล็อกลงหนังสือ... ว่าแต่จะบอกที่มาทำซากอ้อยอะไรวะ |
ิิฺBook | หนังสือ |
Longdo Approved JP-TH
五書 | [ごしょ, gosho] (n) หนังสือเบญจบรรณ เป็นหนังสือห้าเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(ภาคพันธสัญญาเก่า) ซึ่งประกอบไปด้วย หนังสือปฐมกาล หนังสืออพยพ หนังสือเลวีนิติ หนังสือกันดารวิถี และหนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ, See also: R. Old Testament, Genesis, Exodus, Leviticus, Numbers, Deuteronomy |
創世記 | [そうせいき, souseiki] (n) หนังสือปฐมกาล หนังสือเล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า) |
文学 | [ぶんがく, bungaku] การประพันธ์, การเขียนหนังสือ, การแต่งหนังสือ |
新聞 | [しんぶん, shinbun] (n) หนังสือพิมพ์ |
漫画 | [まんが, manga] (n) หนังสือการ์ตูน |
申命記 | [しんめいき, shinmeiki] (n) หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติ หนังสือเล่มที่ 5 ของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์(พันธสัญญาเก่า), See also: R. The Old Testament |
稟議書 | [りんぎしょ, ringisho] (n) หนังสือเวียนเพื่อขอการรับรอง |
通知書 | [ツウチショ, tsuuchisho] (n) หนังสือแจ้งให้ทราบ |
釈義 | [しゃくぎ, shakugi] หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ, Syn. 訢詁 |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
訢詁 | [くアぢ, ku a ji] (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ในศาสนาต่างๆ (exegesis), See also: S. 釈義 |
朝日新聞 | [あさひしんぶん, asahishinbun] (n, name, org, uniq) ชื่อของหนังสือพิมพ์ญี่ปุ่น |
book | [ฮิรากะนะ] (n) หนังสือ |
節 | [ふし, fushi] บทหรือเนื้อหาหรือตอนในบทความหรือในหนังสือ Section |
手記 | [しゅき, shuki] หนังสือบริคณห์สนธิ, โน้ต, หมายเหตุ, จดหมายสั้นๆ |
漫画 | [まんが, manga] (n) หนังสือการ์ตูนใช้เรียกเฉพาะในรูปแบบของประเทศญี่ปุ่น |
あります | [arimasu, arimasu] มี / อยู่ ใช้กับ สิ่งต่างๆ ที่ขยับด้วยตัวเองไม่ได้ [ สิ่งไม่มีชีวิต ] รวมถึงต้นไม้ ใช้ร่วมกับคำช่วย が[ ga ] เช่น 私は 本が あります ฉันมีหนังสือ |
本 | [ほん, hon, hon , hon] (n) หนังสือ |
信用状 | [しんようじょう, shinyoujou] (n) หนังสือจากธนาคารหนึ่งไปยังอีกธนาคารหนึ่ง ให้จ่ายเงินในจำนวนที่ระบุไว้แก่บุคคลที่ระบุไว้ |
新聞記者 | [しんぶんきしゃ, shinbunkisha] (n) นักหนังสือพิมพ์ |
文書番号 | [ぶんしょばんごう, bunshobangou] (n) เลขที่หนังสือ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
書き方 | [かきかた, kakikata] TH: วิธีเขียน ลายมือเขียนหนังสือ EN: way of writing |
前書き | [まえがき, maegaki] TH: บทนำในบทความ หนังสือ เอกสาร EN: preface |
課 | [か, ka] TH: บท(ในหนังสือ) EN: counter for chapters (of a book) |
単行本 | [たんこうぼん, tankoubon] TH: หนังสือที่ตีพิมพ์เป็นเล่มเล็กขนาดฝ่ามือ EN: special book |
単行本 | [たんこうぼん, tankoubon] TH: หนังสือที่แยกเป็นเล่ม ๆ EN: separate volume |
本 | [ほん, hon] TH: หนังสือ EN: book |
投稿 | [とうこう, toukou] TH: การส่งเรื่องไปลงหนังสือพิมพ์หรือวารสาร EN: submission |
Longdo Approved DE-TH
Buch | (n) |das, pl. Bücher| หนังสือ |
Medium | (n) |das, pl. Medien| สื่อ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ |
gleichzeitig | (adj, adv) ในขณะเดียวกัน, ในเวลาเดียวกัน เช่น Er kann telefonieren und gleichzeitig auch lesen. เขาสามารถโทรศัพท์ในเวลาเดียวกันก็อ่านหนังสือไปด้วยได้, Syn. zur gleichen Zeit |
Lehrbuch | (n) |das, pl. Lehrbücher| หนังสือเรียน |
Bücherregal | (n) |das, pl. Bücherregale| ชั้นวางหนังสือ |
Schreibtisch | (n) |der, pl. Schreibtische| โต๊ะเขียนหนังสือ, โต๊ะทำงาน |
Kapitel | (n) |das, pl. Kapitel| บทในหนังสือ |
Prospekt | (n) |der, pl. Prospekte| เอกสารหรือหนังสือหรือแผ่นพับแสดงรายละเอียดของโครงการและความคืบหน้า, Syn. die Broschüre |
leicht verdaulich | (adj) ง่ายต่อการเข้าใจ เช่น Das Buch ist leicht verdaulich. หนังสือเล่มนี้ง่ายต่อการเข้าใจ |
faulenzen | (vi) |faulenzte, hat gefaulenzt| เกียจคร้าน ปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ เช่น Am Wochenende habe ich oft gefaulenzt z.B. im Bett gelesen und ferngesehen. วันเสาร์อาทิตย์ฉันมักอยู่ว่างๆ เฉยๆ ตัวอย่างเช่น โดยการอ่านหนังสือบนเตียงและดูทีวี |
Tabellenhandbuch | (n) |das, pl. Tabellenhandbücher| หนังสือที่มีข้อมูลแสดงไว้ในรูปแบบของตาราง สำหรับเปิดดูค่าต่างๆ ที่ต้องการ |
Gefallen | (n) |der, nur Sg.| ความกรุณา, ความชอบ, การบริการที่ถูกใจ มักจะเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ เช่น Schatz! Kannst du mir bitte einen Gefallen tun, mir eine Zeitung zu kaufen? = ที่รักจ๋า, คุณช่วยทำอะไรให้ผมหน่อยได้มั้ย แค่ไปซื้อหนังสือพิมพ์ |
Impfschein | (n) |der, pl. Impfscheine| หนังสือบันทึกการรับวัคซีนป้องกันโรค |
Zeitung | (n) |die, pl. Zeitungen| หนังสือพิมพ์ |
abonnieren | (vt) |abonnierte, hat abonniert| บอกรับเป็นสมาชิก, ลงนามเป็นสมาชิก เช่น eine Zeitung abonnieren รับหนังสือพิมพ์ประจำ |
üblich | (adj) ธรรมดา, สามัญ, ดาษดื่น, ทั่วไป เช่น Das Buch ist weit mehr als übliche Städteführer. หนังสือเล่มนี้มีอะไรมากกว่าหนังสือแนะนำท่องเที่ยวทั่วไปเป็นพิเศษ, Syn. ordinär |
erscheinen | (vi) |erschien, ist erschienen| ออกวางตลาด(หนังสือ) เช่น Das Magazin 'Spiegel' erscheint wöchentlich. นิตยสาร Spiegel ออกวางตลาดทุกอาทิตย์ |
reichen | (vt) |reichte, hat gereicht| ส่งให้, มอบให้, ยื่น เช่น Kannst du bitte ein Buch meinem Freund in Thailand reichen? เธอช่วยมอบหนังสือเล่มหนึ่งให้แฟนฉันที่เมืองไทยได้ไหม, See also: Related: geben |
Buchhandlung | (n) |die, pl. Buchhandlungen| ร้านหนังสือ |
je nachdem | ขึ้นอยู่กับว่า (มักตามด้วยวลีที่ขึ้นต้นด้วย wann / wie / wieviel / ob) เช่น Ich werde meiner Freundin ein Buch oder eine Handtasche zu ihrem Geburtstag schenken, je nachdem wieviel Geld ich in diesem Monat übrig habe. ผมจะให้หนังสือหนึ่งเล่มหรือกระเป๋าถือหนึ่งใบเป็นของขวัญวันเกิดแก่แฟนผม แต่มันขึ้นกับว่าผมมีเงินเหลืออยู่เท่าไหร่เดือนนี้ |
jedes | |+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย |
stehen | (vi) |stand, hat gestanden, + in/auf/an + D| มีเขียนไว้, ถูกเขียนไว้ เช่น In der Zeitung steht eine interessante Nachricht. ในหนังสือพิมพ์มีข่าวที่น่าสนใจอันหนึ่ง |
Autor | (n) |der, pl. Autoren| ผู้ประพันธ์, ผู้แต่งหนังสือ |
Redaktion | (n) |die, pl. Redaktionen| กองบรรณาธิการหนังสือ, คณะทำงานในกองถ่ายภาพยนตร์เกี่ยวกับสารคดี |
englisch | (adj) ที่เกี่ยวกับอังกฤษ เช่น englischer Tee ชาอังกฤษ, englische Bücher หนังสือภาษาอังกฤษ |
wachen | (vi) |wachte, hat gewacht, über + A| ไม่นอน, นอนไม่หลับ, คอยเฝ้าระวัง เช่น Er wachte die ganze Nacht am Schreibtisch. เขาอยู่ที่โต๊ะเขียนหนังสือไม่ยอมนอนทั้งคืน |
neigen | (vt) |neigte, hat geneigt| เอน, เอียง, งอ, ก้ม เช่น Ich habe den Kopf über das Buch geneigt. ฉันก้มหัวลงดูหนังสือ |
Bücher | (pl) หนังสือ, See also: Related: Buch |
rollen | (vt) |rollte, hat/ist gerollt, etw.(A)| ม้วน หมุน พัน เช่น das Fleisch in Zeitungspapier rollen ห่อพันเนื้อด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์, Syn. einwickeln |
Presse | (n) |die, pl. Pressen| สื่อมวลชน (โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์) |
Tageszeitung | |die, pl. Tageszeitungen| หนังสือพิมพ์รายวัน |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*ufgeben; verzichten (auf) | aufgebend; verzichtend* | ลาออก, สละ, ยกให้, เลิก, ทิ้ง, หนังสือลาออก, ปล่อยตัว, มอบตัว |
torah | (n) หนังสือเบญจบรรณ หรือหนังสือโทราห์ เป็นชื่อเรียกหนังสือ 5 เล่มแรกของพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางของหลักข้อเชื่อศาสนายิว, See also: The Old Testament, Syn. Pentateuch |
Longdo Approved FR-TH
journal | (n) |m, pl. journaux| หนังสือพิมพ์ Image: |
leçon | (n) la, บทเรียน เช่น étudier une leçon = เรียนหนังสือหนึ่งบท |
hebdomadaire | (adj) รายสัปดาห์, ที่ออกทุกสัปดาห์ เช่น journal hebdomadaire หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ |
hebdomadaire | (n) |m| หนังสือหรือนิตยสารรายสัปดาห์ |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
éxgèse | (n) หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ อย่างเช่น พระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หนังสือเบญจบรรณ พระคัมภีร์อัลกุรอ่าน พระไตรปิฏก หรือคัมภีร์พระเวท เป็นต้น |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0652 seconds, cache age: 1.288 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม