156 ผลลัพธ์ สำหรับ *หนทาง*
ภาษา
หรือค้นหา: หนทาง, -หนทาง-Longdo Unapproved NO - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
vei | [ไว] (n) ถนน, หนทาง (en) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
หนทาง | (n) way, See also: path, course, method, trail, mean, channel, Syn. แนวทาง, ทาง, วิถีทาง |
ตัดหนทาง | (v) destroy one's own pull, See also: destroy one's own opportunity to make (/learn) a living, Syn. ตัดทาง, ปิดทาง, ปิดช่องทาง, ตัดช่องทาง, Ant. เปิดช่องทาง, Example: ลูกน้องที่ทะเลาะกับเจ้านายก็เท่ากับตัดหนทางทำมาหากินของตัวเอง, Thai Definition: ทำให้หมดช่องทาง |
ถนนหนทาง | (n) street, See also: road, Syn. ถนน, หนทาง, Example: ในสมัยปัจจุบันการคมนาคมสื่อสาร ถนนหนทางสะดวกสบายมากกว่าเก่า, Count Unit: สาย, เส้น, Thai Definition: ทางที่เป็นถนน |
สุดหนทาง | (v) be at the end of one's wit, See also: be at the end of of one's tether, Syn. หมดหนทาง, สิ้นหนทาง, จนปัญญา, Example: เขาเจียนจะสุดหนทางอยู่แล้ว จนเกือบจะยอมแพ้ชะตากรรม |
หมดหนทาง | (v) reach a dead end, See also: be at a dead end come to, Syn. จน, จนมุม, จนตรอก, จนแต้ม, หมดทาง, หมดทางไป, Example: น่าเศร้าใจที่เกษตรกรไทยหลายคน ที่หมดหนทางในการทำมาหากิน ได้พากันคิดสั้นฆ่าตัวตาย, Thai Definition: ไม่มีทางแก้ไข, ไม่มีทางสู้ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตัดทาง, ตัดหนทาง | ก. ทำให้หมดช่องทาง เช่น ตัดทางทำมาหากิน |
ตัดทาง, ตัดหนทาง | ทำให้มีทาง เช่น ตัดทางพอให้ผ่านไปได้. |
บอกหนทาง | ก. เตือนสติให้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยในขณะใกล้จะตาย. |
สุดหนทาง | ว. สุดทางที่จะไป เช่น สุดหนทางบกแล้ว ต่อไปก็เป็นทางน้ำ, โดยปริยายหมายความว่า ไม่มีทางอื่นให้เลือก เช่น เมื่อสุดหนทางเข้าจริง ๆ ก็เลยต้องยอมแพ้เขา. |
หนทาง | น. ทาง, ช่องทาง, เช่น เวลานี้เขาหมดหนทางทำมาหากินแล้ว. |
เข้าตาจน | ก. หมดทางไป, หมดทางที่จะแก้ไข, หมดหนทางหากิน. |
เจ้าที่ ๒, เจ้าที่เจ้าทาง | น. เทวดารักษาพื้นที่และหนทาง. |
ช่องทาง | หนทางหรือโอกาสที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ที่จังหวัดนี้มีช่องทางทำมาหากินได้ง่าย. |
ซมซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซมซานกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
ซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง, ซมซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
ซานซม | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซานซมกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. |
ด้น | ก. มุ่งหน้าฝ่าไป เช่น หนทางไกลเท่าใดก็จะด้นไปหา, ด้นดั้น หรือ ดั้นด้น ก็ว่า |
ทุบหม้อข้าว | ก. ตัดอาชีพ, ทำลายหนทางทำมาหากิน. |
บันทึก | ย่นย่อ, ทำให้สั้น, เช่น อันว่าเทพยดาก็ปรานีกระษัตรท้งงสี่ ก็บันทึกที่หนทางน้นนเข้ามา (ม. คำหลวง วนประเวศน์). |
ปริยาย | (ปะริ-) น. อย่าง, ทาง, หนทาง |
ปัจจัย | น. เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล, หนทาง, เช่น การศึกษาเป็นปัจจัยให้เกิดความรู้ความสามารถ, องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ, เช่น ปัจจัยในการผลิต, คำ “ปัจจัย” กับ คำ “เหตุ” มักใช้แทนกันได้ |
พิถี | น. ถนน, หนทาง. |
ภูมิประเทศ | (พูมิ-) น. ลักษณะทางกายภาพและทางธรรมชาติของแผ่นดิน รวมถึงความสูงตํ่าของผิวโลก ทะเลสาบ ถนนหนทาง และเมืองต่าง ๆ. |
ย่น | ก. ร่นให้สั้นหรือให้เร็วเข้า เช่น ย่นหนทาง ย่นเวลา, หดร่นเข้าไป เช่น คอย่น, ร่นเป็นริ้วรอย เช่น หน้าย่น, ไม่เรียบ เช่น เสื้อผ้าย่น. |
รู้หนเหนือหนใต้ | ก. รู้ทิศทาง, รู้จักหนทาง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เดี๋ยวนี้บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไปมากแล้วไม่รู้หนเหนือหนใต้, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้เรื่อง เช่น ทำงานใหม่ ๆ ไม่รู้หนเหนือหนใต้, รู้เหนือรู้ใต้ ก็ว่า. |
รู้เหนือรู้ใต้ | ก. รู้ทิศทาง, รู้จักหนทาง, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เดี๋ยวนี้บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงมาก ไปแล้วไม่รู้เหนือรู้ใต้, โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้เรื่อง เช่น ทำงานใหม่ ๆ ไม่รู้เหนือรู้ใต้, รู้หนเหนือหนใต้ ก็ว่า. |
วฏุมะ | น. ถนน, หนทาง. |
วิธี | น. ทำนองหรือหนทางที่จะทำ เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอนคณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี |
สิ้นคิด | ก. หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น บางคนพอสิ้นคิดเข้าจริง ๆ ก็ฆ่าตัวตาย. |
สิ้นคิด | ว. ที่หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, ที่หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น เขาทำตัวเหมือนคนสิ้นคิด เที่ยวลักขโมยเขากิน. |
สิ้นแต้ม | ก. หมดตาเดิน, ไม่มีตาเดิน, (มักใช้แก่การเล่นสกา), โดยปริยายหมายความว่า หมดหนทางคิดอ่าน เช่น พอมีปัญหาประดังกันเข้ามามาก ๆ เขาก็สิ้นแต้ม ไม่รู้จะหันหน้าไปพึ่งใคร. |
หมดท่า | ว. หมดหนทาง, จนปัญญา, เช่น เขาหมดท่าไม่รู้ว่าจะโต้ตอบอย่างไร |
หมดประตู | ก. ไม่มีทาง, หมดหนทาง, หมดทางสู้. |
หึง ๑ | ก. หวงแหนทางชู้สาว, มักใช้เข้าคู่กับคำ หวง เป็น หึงหวง หรือ หวงหึง. |
อนัญคติ | (-คะติ) น. หนทางเดียว |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Helplessness (Psychology) | ความรู้สึกหมดหนทางช่วยเหลือ (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Vienna Convention on Consular Relations | อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1961 สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้ตกลงให้จัดการประชุมระหว่างผู้แทนผู้มีอำนาจเต็ม จากประเทศสมาชิก เพื่อทำหน้าที่พิจารณาปัญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล และได้ประชุมกัน ณ กรุงเวียนนา เมื่อต้นเดือนมีนาคม ค.ศ. 1963 ตั้งแต่วันที่ 4 มีนาคม ถึงวันที่ 22 เมษายน มีประเทศสมาชิกเข้าร่วมประชุม เป็นจำนวน 92 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ส่วนประเทศโบลิเวีย กัวเตมาลา ปละปารากวัย ได้เข้าร่วมประชุมด้วยในฐานะผู้สังเกตการณ์ (Observers)มีข้อน่าสังเกตว่า ในข้อ 73 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างอนุสัญญานี้ว่า จะไม่มีผลกระทบต่อความตกลงระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่ใช้บังคับระหว่างรัฐภาคีแห่งความตกลงดังกล่าว และไม่มีข้อความใดในอนุสัญญานี้ที่จะตัดหนทางของรัฐในการทำความตกลงระหว่าง ประเทศ เพื่อยืนยันหรือเติมต่อหรือยืดขยายบทแห่งอนุสัญญานี้ออกไปอีก [การทูต] |
Birth Canal | ทางผ่านของทารก, หนทางคลอด [การแพทย์] |
Means | หนทาง, ทาง [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
หนทาง | [honthāng] (n) EN: route ; road ; way FR: chemin [ m ] ; route [ f ] |
จนหนทาง | [jon honthāng] (adv) EN: be at one wits end |
ตัดหนทาง | [tat honthāng] (v, exp) EN: deprive s.o. from his livelihood |
ถนนหนทาง | [thanon honthāng] (n, exp) EN: street ; road ; way FR: rue [ f ] ; route [ f ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
by hook or by crook | (idm) ทุกวิถีทาง, See also: ทุกหนทาง |
golden mean | (n) ทางสายกลาง, See also: หนทางประเสริฐ |
helpless | (adj) หมดหนทาง, See also: ช่วยไม่ได้, Syn. impotent, powerless, vulnerable, Ant. invulnerable, powerful |
helplessly | (adv) อย่างหมดหนทาง, See also: อย่างช่วยไม่ได้, Syn. impotently, powerlessly, vulnerably, Ant. invulnerably, powerfully |
have something up one's sleeve | (idm) มีแผนลับ, See also: มีหนทางแก้ไข |
no way | (idm) ไม่มีทาง (คำสแลง), See also: หมดหนทาง |
not able to see the wood for the trees | (idm) เห็นหนทางแก้ปัญหา |
up a blind alley | (idm) หมดหนทาง, See also: จนปัญญา, มืดมน, อับจนหนทาง |
lose without | (phrv) หมดหนทาง, See also: จนปัญญา, ขาดทุน, ไร้ความหมาย |
means | (n) วิธี, See also: วิธีการ, ช่องทาง, หนทาง, Syn. channel, medium, factor |
mechanism | (n) กลไก, See also: วิธีการทำงาน, วิธีการ, หนทาง |
mode | (n) วิธีการ, See also: วิถีทาง, หนทาง, รูปแบบ, Syn. Means, method, way |
navigate | (vt) หาหนทางจัดการกับสิ่งยุ่งยาก |
passport | (n) สิ่งได้รับการยอมรับ, See also: หนทาง |
roadability | (n) การขับเคลื่อนได้ดีบนถนนหนทางที่ไม่ดี |
street | (n) ถนน, See also: ถนนหนทาง, Syn. avenue, lane, road |
tactic | (n) ยุทธวิธี, See also: หนทาง, นโยบาย, กลยุทธ์ |
track | (n) หนทาง, See also: เส้นทาง, ถนน |
trail | (n) หนทาง, See also: ทางเดิน |
way | (n) เส้นทาง, See also: ทาง, หนทาง, ถนน |
ways and means | (n) หนทาง (โดยเฉพาะให้ได้เงินมาเพื่อเอาไปจ่าย), See also: วิธี, วิถีทาง, Syn. approaches, methods, means |
wherewithal | (n) เครื่องมือ โดยเฉพาะที่เป็นเงินทอง, See also: หนทาง, วิธีการ |
Hope Dictionary
bay | (เบ) { bayed, baying, bays } n. อ่าวเล็ก, ที่เว้าของเทือกเขา, มุข, ชื่อเสียง (bays) , สีน้ำตาลปนแดง, ม้าหรือสัตว์ที่มีสีน้ำตาลปนแดง, เสียงเห่า, ภาวะหมดหนทาง, ความอับจน, การหอน vi. เห่า, หอน vt. เห่าใส่ adj. สีเทาปนแดง |
chance | (ชานซฺ) n. โอกาส, หนทาง, ลักษณะที่เป็นไปได้, หนทางสำเร็จ, ความเป็นไปได้, การเสี่ยง, ช่องทาง, ท่าทาง, โชค, วาสนา, เคราะห์, ยถากรรม, ความบังเอิญ. -vi. ถือโอกาส, เสี่ยง, พบโดยบังเอิญ -vt. เกิดขึ้นโดยบังเอิญ, Syn. happening, risk, opening, happen |
going | (โก'อิง) n. การไป, สภาพของผิวหน้าถนนหนทาง., See also: goings n. นิสัย, ความประพฤติ adj. เคลื่อนที่, กระฉับกระเฉง, มีชีวิต, ทั่วไป, ตามปกติ, ปัจจุบัน, ซึ่งกำลังจากไป, Syn. departure, ongoing |
infrastructure | (อิน'ฟระสทรัคเชอะ) n. พื้นฐานของโครงสร้าง เช่น ถนนหนทาง สิ่งก่อสร้าง |
navigator | (แนฟ'วิเกเทอะ) n. ผู้เชี่ยวชาญการเดินหรือขับเครื่องบิน, ผู้สำรวจทะเล, คนขุดดินสร้างถนน หนทาง หรือคลอง, กรรมกร |
pass | (พาส) v. ผ่าน, แซง, ยติ, นำส่ง, n. ถนน, หนทาง, สิทธิผ่าน, การสอบผ่าน, บัตรผ่าน การส่งลูก, ท่าส่งลูก, การบินผ่าน, การเปลี่ยน, การล่วงของเวลา |
powerless | adj. ไม่มีอำนาจ, ไม่มีพลัง, ไม่มีแรง, หมดหนทางช่วย., See also: powerlessness n., Syn. impotent |
provide | (พระไวดฺ') vt. จัดหาให้, ให้, เตรียมการ. vi. เตรียมการ, จัดหาหนทางเลี้ยงชีพ., See also: providable adj. provider n. |
public works | n. สิ่งก่อสร้าง (ถนนหนทาง, เขื่อนที่ทำการไปรษณีย์และอื่น ๆ) ที่เป็นสาธารณูปโภค |
resource | (รีซอร์ส') n. แหล่งที่มา, หนทาง, วิธีการ, ทรัพย์สมบัติ, ทรัพยากร, See also: resources n. ทรัพยากรของประเทศ, กำลังเงิน, กำลังวัตถุ, ความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ resourceless adj., Syn. resort, means |
swamp | (สวอมพฺ) n. หนอง, หนองน้ำ, ที่ลุ่มหนอง, บึง, ปลัก, ตม. vt., vi. ท่วม, ทำให้ท่วม, จุ่ม, ทำให้อยู่ในหนองน้ำ, ทำให้หมดหนทาง, See also: swampish adj., Syn. mire |
ways and means | n. วิธีการ, วิถีทาง, หนทาง |
wedge | (เวจฺ) n. ลิ่ม, รูปลิ่ม, เหล็กงัด, วิธีการ, หนทาง vt. vi. แยกออก, ผ่าออก, ตอกลิ่มเข้าไป, ทะลวง, แทรก, อัด, จิ้ม, See also: wedgelike adj., Syn. keystone, chock, gambit, crowd |
wherewithal | (แวร์วิธ'เธิล) n. วิถีทาง, หนทาง, ขุมทรัพย์, วิธีการ, เงินทอง, adv. โดย, ซึ่ง, ที่ซึ่ง |
Nontri Dictionary
chance | (n) โอกาส, หนทาง, ลู่ทาง, ช่องทาง, อุปัทวเหตุ, โชค, เหตุบังเอิญ |
deadlock | (n) การหยุดชะงัก, การหยุดนิ่ง, การหมดหนทาง |
distance | (n) ระยะทาง, หนทาง, ช่วงเวลา |
helpless | (adj) หมดหนทาง, ไม่มีผู้ช่วย, ไม่เป็นประโยชน์ |
helplessness | (n) การหมดหนทาง, ความไม่มีประโยชน์ |
hopeless | (adj) ไม่มีหวัง, สิ้นหวัง, หมดหนทาง |
journey | (n) การเดินทาง, ระยะทาง, หนทาง |
mileage | (n) ระยะเป็นไมล์, หนทาง |
plan | (n) แผนการ, แผนผัง, โครงการ, แผนที่, แบบ, หนทาง |
powerless | (adj) ไร้กำลัง, ไม่มีอำนาจ, ไม่สามารถ, สิ้นท่า, หมดหนทาง |
PRIMROSE primrose path | (n) หนทางที่ราบรื่น |
resource | (n) ทรัพยากร, วิธการ, แหล่งที่มา, หนทาง |
street | (n) หนทาง, ถนน, ทางรถ |
wedge | (n) ลิ่ม, เหล็กงัด, ไม้จิ้ม, วิธีการ, หนทาง |
wherewithal | (n) อุปกรณ์, เครื่องมือ, ยานพาหนะ, หนทาง, ค่าใช้จ่าย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
jihad | [ญีฮาด] (vt) การต่อสู้ในหนทางของพระเจ้าของศานาอิสลาม |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
仕様 | [しよう, shiyou] 1.วิธีการ 2.หนทาง |
手段 | [しゅだん, shudan] วิธี, หนทาง |
縁 | [よすが, yosuga] (n, vi, vt) (ชานซฺ) n. โอกาส, หนทาง, ลักษณะที่เป็นไปได้, หนทางสำเร็จ, ความเป็นไปได้, การเสี่ยง, ช่องทาง, ท่าทาง, โชค, วาสนา, เคราะห์, ยถากรรม, ความบังเอิญ. -vi. ถือโอกาส, เสี่ยง, พบโดยบังเอิญ -vt. เกิดขึ้นโดยบังเอิญ, S. happening, risk, opening, happen |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
方法 | [ほうほう, houhou] TH: หนทาง EN: way |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.04 seconds, cache age: 2.235 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม