331 ผลลัพธ์ สำหรับ *สามัญ*
ภาษา
หรือค้นหา: สามัญ, -สามัญ-Longdo TH - TH
มะม่วงหาว มะนาวโห่ | ชื่อเต็ม มะม่วงไม่รู้หาว มะนาวไม่รู้โห่, ผลไม้ในกลุ่มเบอร์รี่ชนิดหนึ่ง มีรสเปรี้ยว ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Carissa carandas, ชื่อสามัญ Karanda, Carunda, Christ’s thorn, Bengal Currants ที่มา: https://www.disthai.com/17039488/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7-%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B9%88 |
Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
IRESSA | (n) IRESSA เป็นยารักษาโรคมะเร็ง อยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า Epidermal Growth Factor Receptor-Tyrosine Kinase Inhibitor (EGFR-TKI) มีชื่อสามัญทางยาคือGefitinib, IRESSA เป็นตัวยับยั้งจำเพาะ ของ Epidermal Growth Factor Receptor (EGFR) tyrosine kinase ซึ่งพบได้บ่อยในมะเร็งของมนุษย์ชนิด Solid tumour ที่มีต้นกำเนิดจากเซลล์เยื่อบุผิว การยับยั้งการทำงานของ EGFR tyrosine kinase จะไปยับยั้งการเติบโตของเนื้องอก, การแพร่กระจาย และ angiogenesis และไปเพิ่ม apoptosis ของเซลล์เนื้องอก |
Longdo Unapproved MS - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กู | [กู] (n) เพคะ หรือ กระหม่อม เป็นคำราชาศัพท์มลายูถิ่น คำรับที่ผู้ชายและผู้หญิง(สามัญ)ใช้เมื้อเจ้านายมีรับสั่ง |
Longdo Unapproved EN - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ชงโค | (name) ..............ชงโค................ ชื่อทางวิทยาศาสตร์............Bauhinia purpurea ชื่อวงศ์............................CAESALPINIACEAE ชื่อสามัญ..........................Orchid Tree, Purder ชื่ออื่นๆ............................เสี้ยวดอกแดง, เสี้ยวดอกขาว ถิ่นกำเนิด..........................ทวีปเอเซีย การขยายพันธุ์....................เพาะเมล็ด ประวัติและข้อมูลทั่วไป.........ดอกชงโคมีหลายสี เช่น ชมพู ขาว ม่วง ชาวอินเดียถือว่าเป็นไม้สวรรค์ขึ้นอยู่ในเทวโลกและถือว่าเป็นไม้ของพระลักษมี นิยมปลูกร่วมกับ กาหลง และ โยทะกา เพราะมีใบคล้ายกัน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์......ชงโคเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบสูงประมาณ 15 เมตร ใบเป็นรูปไข่แยกเป็น 2 แฉกลึก ช่อดอกออกตามกิ่งข้างและจำนวนดอกน้อย กลีบดอกขาวหรือม่วง ลักษณะคล้ายดอกกล้วยไม้ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ เกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดไม่เท่ากัน มีผลเป็นฝักขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. การปลูกและดูแลรักษา...........ชงโคเป็นไม้ที่ชอบแดด ควรปลูกในที่ได้รับแสงแดดทั้งวัน ดินปลูกควรเป็นดินร่วนระบายน้ำดี มีความ |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สามัญลักษณ์ | (n) common traits, See also: S. ลักษณะที่มีอยู่ร่วมกัน, A. ลักษณะเฉพาะ, เอกลักษณ์ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สามัญ | (adj) ordinary, See also: common, Syn. ปกติ, ธรรมดา, Ant. วิสามัญ |
สามัญ | (adj) common, See also: ordinary, normal, usual, Syn. ปกติ, ธรรมดา, Ant. พิเศษ, Example: บุคคลสามัญย่อมไม่อาจจะระลึกรู้ถึงอดีตชาติของตนได้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วิสามัญ | (adj) extraordinary, See also: special, unusual, uncommon, specific, particular, Syn. ไม่ใช่สามัญ, ไม่ใช่ธรรมดา, เฉพาะเรื่อง, Example: รัฐบาลจะประสานงานกับประธานสภา เพื่อขอเปิดสภาสมัยวิสามัญในวันที่ 13 กรกฎาคม, Count Unit: สามัญ |
สามัญชน | (n) commoner, See also: commonalty, common people, Syn. คนธรรมดา, Ant. เชื้อพระวงศ์ |
สามัญชน | (n) ordinary people, See also: folk, commoner, people, common people, Syn. คนธรรมดา, Example: คนที่เป็นทั้งสามัญชนย่อมสามารถเป็นอัจฉริยบุคคลพร้อมๆ กันไปด้วย ถ้าปฏิบัติได้ดังถ้อยคำที่กล่าวไว้, Thai Definition: คนที่ไม่ใช่เจ้านาย |
สามัญนาม | (n) common noun, Syn. สามานยนาม, คำสามานยนาม, คำสามมัญนาม, Ant. วิสามานยนาม, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำนามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ |
สามัญศึกษา | (n) elementary education, See also: general education, Ant. วิสามัญศึกษา, Example: ในระบบการศึกษานั้น จะมีแต่ระบบสามัญศึกษาอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมีวิสามัญศึกษาสอนวิชากสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการด้วย, Thai Definition: การเรียนวิชาทั่วไป |
สามัญสำนึก | (n) common sense, Syn. สำนึก, Example: หากจะถามหาสามัญสำนึกจากโจรพวกนี้คงไม่ปรากฏในจิตใจของพวกมัน, Thai Definition: ความรู้สึกธรรมดาๆ ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ไม่ใช่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนโดยตรง |
กรมสามัญศึกษา | (n) Department of General Education, See also: Elementary and Adult Education Department, Example: ปีนี้ทางกรมสามัญศึกษารับนักเรียนได้อีก 60, 000 คน, Count Unit: กรม |
วิสามัญฆาตกรรม | (v) murder legally, See also: extrajudicially kill, Example: ตำรวจปราบปราบยาเสพติดวิสามัญฆาตกรรม 2 ศพ ที่อาคารเจริญสุขแมนชั่น, Thai Definition: ฆาตกรรมที่กระทำตามหน้าที่ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. |
คณะกรรมาธิการสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา เลือกและแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นประจำ. |
บุริมสิทธิสามัญ | น. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้. |
ยาสามัญประจำบ้าน | น. ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน. |
วิสามัญ | ว. ไม่ใช่ธรรมดา, ไม่ใช่สามัญ, เช่น ข้าราชการวิสามัญ สมาชิกวิสามัญ ประชุมสมัยวิสามัญ, พิเศษเฉพาะเรื่อง เช่น คณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
วิสามัญฆาตกรรม | (วิสามันคาดตะกำ) น. การตายที่เกิดจากการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือการตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงาน ซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่. |
สามัญ- ๑ | (สามันยะ-) น. ความเป็นสมณะ เช่น สามัญผล. |
สามัญ ๒ | (สามัน) ว. ปรกติ, ธรรมดา, เช่น ชนชั้นสามัญ คนสามัญ. |
สามัญชน | น. คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า. |
สามัญสำนึก | น. ความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปรกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน เช่น ทำอะไรให้มีสามัญสำนึกเสียบ้างว่าอะไรควรอะไรไม่ควร. |
หน้าทับสามัญ | น. ชื่อหน้าทับที่ใช้กับเพลงต่าง ๆ ได้แก่ หน้าทับสองไม้และหน้าทับปรบไก่. |
ห้างหุ้นส่วนสามัญ | น. ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่ง ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนหมดทุกคนต้องรับผิดร่วมกันเพื่อหนี้ทั้งปวงของหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัด. |
หุ้นสามัญ | น. หุ้นธรรมดาของบริษัทจำกัด ซึ่งแบ่งทุนออกเป็นหุ้นมีมูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กันและผู้ถือหุ้นมีความรับผิดเพียงไม่เกินจำนวนหุ้นที่ตนส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ. |
กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
กร้อ | น. เครื่องสานยาชัน รูปคล้ายปุ้งกี๋ แต่เล็กกว่า ใช้วิดนํ้าเรือ เช่น ส่วนตัวมึงคือกร้อ แต่งไว้วิดเรือ (โคลงกวี), สามัญเรียกว่า ตะกร้อ. |
กระถอบ | น. แผ่นทองคำฉลุลายเป็นกิ่งต้นเครือวัลย์กระหนก สำหรับเสียบห้อยที่ชายพกลงมาในระหว่างช่องหน้าขาทั้ง ๒ สามัญเรียกว่า ช่อทับชาย เช่น ที่ประดับเทวรูปทรงเครื่องทั่วไป เรียกกันว่า สุวรรณกระถอบ หรือ สุวรรณกัญจน์ถอบ. |
กลอนตลาด | น. คำกลอนสามัญ โดยมากเป็นกลอน ๘ เช่น กลอนนิราศ นิทานคำกลอน. |
กะดุ้ง | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้ายยอยก, เรียกเป็นสามัญว่า สะดุ้ง. |
กามโรค | น. โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการประกอบกามกิจหรือติดต่อกันโดยใช้สิ่งของร่วมกับคนเป็นกามโรคเป็นต้น, เรียกเป็นสามัญว่า โรคบุรุษ หรือ โรคผู้หญิง. |
เกินคน | ว. ยิ่งกว่าคนสามัญ เช่น ฉลาดเกินคน เลวเกินคน. |
แกรไฟต์ | (แกฺร-) น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. |
ขรัวตา | น. สามัญชนที่เป็นตาของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา. |
ขรัวยาย | น. สามัญชนที่เป็นยายของพระองค์เจ้าที่เป็นพระราชโอรสพระราชธิดา. |
ไข่สำเภา | น. ไข่แช่นํ้าด่าง, สามัญเรียกว่า ไข่เยี่ยวม้า. |
คงคา ๑ | น. นํ้า, แม่นํ้า, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจำนํ้า, ชื่อแม่นํ้าสำคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. (ป., ส. คงฺคา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว) |
คุณพิเศษ, คุณวิเศษ | (คุนนะ-) น. ความดีแปลกกว่าสามัญ. |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | น. สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด. |
เงี้ยว ๑ | น. ชื่อหนึ่งของชนชาวไทใหญ่ที่ใช้เรียกกันเป็นสามัญในประเทศไทยสมัยก่อน. |
จ้ะ | ว. คำรับ (ใช้เป็นสามัญทั่วไป). |
จาตุรงคสันนิบาต | น. การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ คือ ๑. วันนั้นดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อมฆา) ๒. พระสงฆ์ ๑, ๒๕๐ รูป ประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมวันนั้นล้วนได้รับเอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, นับเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา, คำสามัญว่า มาฆบูชา. |
เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. |
ช่องกุด | น. ประตูที่เจาะกำแพงพระราชวังหรือกำแพงเมือง เป็นช่องสี่เหลี่ยมเพดานโค้งมนบ้าง โค้งแหลมบ้าง อยู่ใต้แนวใบเสมาลงมา เป็นช่องทางสำหรับคนสามัญเข้าออก, เขียนเป็น ช่องกุฎ ก็มี เช่น ซุ้มทวารบานสุวรรณชมพูนุท ประตูลักช่องกุฎสลับกัน (อิเหนา). |
ช้างสีดอ | น. ช้างพลายที่มีงาสั้นโผล่ออกมาเล็กน้อยผิดกับช้างสามัญ. |
ซูโครส | (-โคฺร้ด) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๘๐ ºซ. องค์ประกอบเป็นโมเลกุลของกลูโคสเชื่อมกับโมเลกุลของฟรักโทส มีรสหวานจัด มักทำจากอ้อย, สามัญเรียกว่า นํ้าตาลทราย. |
ฐานานุกรม | น. ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามทำเนียบ เช่น พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นสามัญ พระครูปลัด พระครูสมุห์ พระครูใบฎีกา เป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป. |
เดาะ ๑ | โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่กำลังจะดี แต่กลับมีข้อบกพร่องเสียกลางคัน ใช้เป็นคำแทนกริยาหมายความว่า ทำแปลกกว่าธรรมดาสามัญ เช่น ร้อนจะตายเดาะเสื้อสักหลาดเข้าให้. |
เดียงสา | ว. รู้ภาษา, รู้ความ, รู้ผิดรู้ชอบตามปรกติสามัญ, (มักใช้ในความปฏิเสธ), เช่น เด็กยังไม่รู้เดียงสา. |
โดยเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า ตามเสด็จ ก็มี. |
ต้น ๔ | ส. สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใช้เรียกพระภิกษุสามัญ เช่น ต้นอยู่วัดไหน. |
ตรีประดับ | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก และโท เรียงกัน หรือโท เอก สามัญ ก็ได้ เช่น อมรแมนแม่นแม้นเจ้างามโฉม ชฬอฬ่อฬ้อโลกย์ให้โศกโทรม แต่เลาเล่าเล้าโลมฤดีแด (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). |
ตรีปวาย | (ตฺรีปะ-) น. พิธีพราหมณ์กระทำรับพระนารายณ์ ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีแห่พระนารายณ์ ซึ่งกระทำในวันแรมคํ่า ๑ ถึงแรม ๕ คํ่า เดือนยี่. |
ตรีเพชรพวง | น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้แต่ละวรรคมีคำเดียวกัน ผันวรรณยุกต์รูปสามัญ เอก โท ตรี และจัตวา สลับกันก็ได้ เช่น มโหรีรี่รี้ดีดสีเสียง จับปี่หริงหริ่งหริ้งพริ้งเพราะเพรียง ฆ้องสำเนียงเต๋งเต่งเต้ง ติงเหน่งโยน (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน). |
ตรียัมปวาย | (ตฺรียำปะ-) น. พิธีพราหมณ์กระทำรับพระอิศวร ที่เรียกเป็นสามัญว่า พิธีโล้ชิงช้า ซึ่งกระทำในวันขึ้น ๗ คํ่าตอนเช้า ขึ้น ๙ คํ่าตอนเย็น เดือนยี่. |
ตามเสด็จ | ก. ติดตามพระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศ์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นสามัญชน |
ตามเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า โดยเสด็จ ก็มี เช่น พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการตามเสด็จไปในกระบวนเสด็จพระราชดำเนินยังไทรโยค. |
ไตรลักษณ์ | (-ลัก) น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตนที่แท้จริง. |
ทรง | ใช้นำหน้าคำกริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์ เช่น ทรงทราบ ทรงยินดี ทรงขอบใจ ทรงยืน |
ที่ | ตำแหน่งหน้าที่ เช่น ที่สมุหพระกลาโหม พระราชาคณะชั้นสามัญที่พระกวีวรญาณ |
ทุนทรัพย์ | ทุนที่ผู้เป็นหุ้นส่วนได้ลงไว้ในห้างหุ้นส่วนสามัญ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
partnership, ordinary | ห้างหุ้นส่วนสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
populism | ลัทธิอิงสามัญชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
layman | สามัญชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
realism, naive | สัจนิยมสามัญ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reflex, simple | รีเฟล็กซ์สามัญ, รีเฟล็กซ์เดี่ยว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple | ๑. สามัญ๒. เดียว, เดี่ยว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple reflex | รีเฟล็กซ์สามัญ, รีเฟล็กซ์เดี่ยว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple risk | ภัยสามัญ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
select committee | ๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sittings of the House of Commons | การประชุมสภาสามัญชน (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple glaucoma | ต้อหินสามัญ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple goiter; goitre, simple | โรคคอพอกธรรมดา, โรคคอพอกสามัญ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
simple goitre; goiter, simple | โรคคอพอกธรรมดา, โรคคอพอกสามัญ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special session; session, extraordinary; session, special | สมัยประชุมวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special session | สมัยประชุมวิสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
select committee | ๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
share, ordinary | หุ้นสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standing committee | คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standing committee | คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา (นิติบัญญัติ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
session, extraordinary; session, special; special session | สมัยประชุมวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, ordinary | สมัยประชุมสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
session, special; session, extraordinary; special session | สมัยประชุมวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
opposition bencher | สมาชิกสภาสามัญอังกฤษที่นั่งในที่นั่ง ฝ่ายค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ordinary resolution | มติสามัญ, มติธรรมดา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary session | สมัยประชุมสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ordinary session | สมัยประชุมสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary share | หุ้นสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary | สามัญ, ปรกติ, ธรรมดา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary differential equation | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
ordinary discontinuity | ภาวะไม่ต่อเนื่องสามัญ [ มีความหมายเหมือนกับ jump discontinuity ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
ordinary insurance | การประกันชีวิตประเภทสามัญ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary life policy | กรมธรรม์ประกันชีวิตแบบสามัญ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary meeting | การประชุมสามัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary partnership | ห้างหุ้นส่วนสามัญ [ ดู universal partnership ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ordinary point | จุดสามัญ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
accessory fruit | ผลวิสามัญ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary | เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bencher, opposition | สมาชิกสภาสามัญอังกฤษที่นั่งในที่นั่งฝ่ายค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
man in the street | สามัญชน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
monthly debit ordinary | กรมธรรม์สามัญรายเดือน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common | สามัญ, ร่วมกัน, ทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commonsense understanding | ความเข้าใจแบบสามัญสำนึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
committee, select | ๑. คณะกรรมการเฉพาะกิจ๒. คณะกรรมาธิการเฉพาะกิจ๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
committee, standing | คณะกรรมาธิการสามัญประจำสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
common desktop environment (CDE) | สิ่งแวดล้อมเดสก์ท็อปแบบสามัญ (ซีดีอี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
common logarithm | ลอการิทึมสามัญ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
common measure; common meter | มาตราสามัญ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common meter; common measure | มาตราสามัญ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common fraction | เศษส่วนสามัญ [ มีความหมายเหมือนกับ simple fraction ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
common hazard | ภาวะภัยสามัญ มีความหมายเหมือนกับ general hazard [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] |
Elementary particles | อนุภาคมูลฐาน, อนุภาคชั้นสามัญที่สุดของสสารและรังสี ส่วนใหญ่มีอายุสั้นและไม่ปรากฏในภาวะปกติ (ยกเว้น อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และนิวทริโน) เดิมหมายถึงอนุภาคใดๆ ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยต่อไปได้ หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ปัจจุบันหมายถึงอนุภาคโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน มีซอน มิวออน แบรีออน และปฏิยานุภาคของอนุภาคเหล่านี้ รวมทั้งโฟตอน แต่ไม่รวมอนุภาคแอลฟาหรือดิวเทอรอน [นิวเคลียร์] |
integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] |
Ordinary meeting | การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น, Example: กฎหมายกำหนดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญประจำปีภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของบริษัท และกำหนดให้มีการจัดประชุมดังกล่าวอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยเรื่องที่จะนำเข้าในที่ประชุมจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับผลการดำเนินงานของบริษัท การอนุมัติงบการเงินประจำปี เป็นต้น ส่วนการประชุมครั้งอื่นนอกจากนี้ให้เรียกว่าเป็นการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น [ตลาดทุน] |
Extraordinary meeting | การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น, Example: กฎหมายกำหนดว่านอกเหนือจากการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีละ 1 ครั้งแล้ว การประชุมในครั้งอื่น ๆ ให้เรียกว่าเป็นการประชุมวิสามัญ โดยบริษัทจะเรียกประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้สุดแต่จะเห็นสมควร ซึ่งเรื่องที่จะนำเข้าในที่ประชุมอาจจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงกรรมการ อำนาจหน้าที่ของกรรมการ หรือข้อบังคับของบริษัท เป็นต้น [ตลาดทุน] |
Common stock | หุ้นสามัญ, Example: หลักทรัพย์ที่บริษัทออกจำหน่ายเพื่อระดมเงินทุนมาดำเนินกิจการ ผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิร่วมเป็นเจ้าของบริษัท มีสิทธิออกเสียงลงมติในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการบริษัท ร่วมตัดสินใจในนโยบายการดำเนินงานของบริษัท และร่วมตัดสินใจในปัญหาสำคัญของบริษัทผู้ถือหุ้นสามัญจะได้รับผลตอบแทนในรูปเงินปันผล (dividend) เมื่อราคาหุ้นเพิ่มสูงขึ้นตามศักยภาพของบริษัท และมีโอกาสได้รับสิทธิจองซื้อหุ้นออกใหม่ (right) เมื่อบริษัทเพิ่มทุนขยายกิจการ หากบริษัทเลิกกิจการ ก็จะได้รับส่วนแบ่งในสินทรัพย์ของบริษัทจากยอดสุทธิหลังจากชำระคืนเจ้าหนี้และพันธะต่าง ๆ หมดแล้ว หุ้นสามัญมีอีกชื่อหนึ่งว่า ordinary share [ตลาดทุน] |
Drugs (Generic) | ยา (ชื่อสามัญ) [TU Subject Heading] |
Nonprescription drugs | ยาสามัญประจำบ้าน [TU Subject Heading] |
Plant names, Popular | ชื่อสามัญของพืช [TU Subject Heading] |
Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] |
Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] |
International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] |
Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] |
Common stock | หุ้นสามัญ [การบัญชี] |
Return on common equity | อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ [การบัญชี] |
Bronchitis, Chronic, Simple | โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังสามัญ [การแพทย์] |
Calculus, Simple | นิ่วสามัญ [การแพทย์] |
Common System | ระบบสามัญ [การแพทย์] |
Conventional Agents | ยาสามัญ [การแพทย์] |
Dislocations, Simple | จัดดึงให้เข้าที่ได้, ข้อหลุดสามัญ [การแพทย์] |
Elements, Representation | ธาตุสามัญ [การแพทย์] |
Fractures, Simple | กระดูกหักสามัญ, กระดูกหักอย่างธรรมดา [การแพทย์] |
common logarithm | ลอการิทึมสามัญ, ลอการิทึมที่ใช้ฐานสิบ (ดู logarithmic function ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
acetic acid | กรดแอซีติก, กรดอินทรีย์ชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CH3COOH มีชื่อสามัญว่า กรดน้ำส้ม ใช้เป็นสารปรุงอาหาร เป็นตัวทำละลายและใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น พลาสติก สี การถ่ายรูป เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
calcium hydroxide [ slaked lime ] | แคลเซียมไฮดรอกไซด์, สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตรเคมี คือ Ca(OH)2 เป็นของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้เล็กน้อย มีชื่อสามัญว่าปูนขาว ได้จากแคลเซียมออกไซด์หรือปูนดิบทำปฏิกิริยากับน้ำ ใช้ในการทำปูนซีเมนต์ ใช้แก้ดินเป็นกรดหรือดินเปรี้ยว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
calcium oxide [ quicklime ] | แคลเซียมออกไซด์, สารประกอบชนิดหนึ่ง สูตรเคมีคือ CaO เป็นของแข็งสีขาว มีชื่อสามัญว่าปูนดิบ ได้จากการเผาหินปูนด้วยอุณหภูมิสูงกว่า 650°C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
common name | ชื่อสามัญ, ชื่อของสิ่งมีชีวิตหรือสารเคมีเรียกตามภาษาท้องถิ่น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
soda ash | โซดาแอช, ชื่อสามัญของโซเดียมคาร์บอเนตชนิดไม่มีน้ำผลึก (Na2CO3) อาจเตรียมได้จากกระบวนการแอมโมเนีย -โซดา หรือโซลเวย์โดยใช้เกลือหินเป็นวัตถุดิบ ใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้ว สบู่ และกระดาษ ถ้ามีสูตรเคมีเป็น Na2CO3 .10H2O เรียกว่า โซดาซักผ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Incubators, Simple | ตู้ให้ความอบอุ่นทารกแบบสามัญ [การแพทย์] |
Medicine, Household | ยาสามัญประจำบ้าน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ชื่อสามัญ | [cheū sāman] (n, exp) EN: common name FR: nom commun [ m ] ; nom ordinaire [ m ] |
ห้างหุ้นส่วนสามัญ | [hānghunsuan sāman] (n, exp) EN: ordinary partnership |
หุ้นสามัญ | [hun sāman] (n, exp) EN: common stock ; ordinary shares ; common shares ; equity shares |
หุ้นส่วนสามัญ | [hunsuan sāman] (n, exp) EN: ordinary partnership |
การประชุมสามัญ | [kān prachum sāman] (n, exp) EN: ordinary meeting FR: réunion ordinaire [ f ] ; assemblée ordinaire [ f ] |
การประชุมสามัญประจำปี | [kān prachum sāman prajampī] (n, exp) EN: annual general meeting (AGM) FR: assemblée générale annuelle [ f ] |
การประชุมวิสามัญ | [kān prachum wisāman] (n, exp) EN: special session ; extraordinary meeting FR: réuinion extraordinaire [ f ] |
การประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น | [kān prachum wisāman phūtheū hun] (n, exp) EN: extraordinary general meeting ; extraordinary general meeting of shareholders |
การประชุมใหญ่สามัญ | [kān prachum yai sāman] (n, exp) EN: ordinary general meeting FR: réunion générale ordinaire [ f ] ; assemblée générale ordinaire [ f ] |
การประชุมใหญ่วิสามัญ | [kān prachum yai wisāman] (n, exp) EN: extraordinary general meeting FR: réunion extraordinaire [ f ] ; assemblée générale extraordinaire [ f ] |
ข้าราชการวิสามัญ | [khārātchakān wisāman] (n, exp) EN: temporary government employee FR: agent temporaire de la fonction publique [ m ] ; fonctionnaire temporaire [ m ] |
คนสามัญ | [khon sāman] (n, exp) EN: ordinary man ; common man ; man in the street FR: personne ordinaire [ f ] ; l'homme de la rue [ m ] |
กรมสามัญศึกษา | [Krom Sāmanseuksā] (org) EN: Department of General Education |
ลอการิทึมสามัญ | [løkāritheum sāman] (n, exp) EN: common logarithm |
ไม่ใช่สามัญ | [mai chai sāman] (adj) EN: extraordinary |
สามัญ | [sāman] (adj) EN: regular ; common ; ordinary ; normal ; usual FR: ordinaire, commun ; normal |
สามัญชน | [sāmanchon] (n) EN: ordinary people ; folk ; commoner ; people ; common people ; the ordinary man ; the common man ; the man in the street FR: gens ordinaires [ fpl ] |
สามัญสำนึก | [sāmansamneuk] (n) EN: common sense FR: bon sens [ m ] |
สามัญศึกษา | [sāmanseuksā] (n) EN: elementary education ; general education ; grade school education |
สามัญนาม | [sāmanyanām] (n) EN: common noun FR: nom commun [ m ] |
เสียงสามัญ | [sīeng sāman] (n, exp) EN: middle tone ; common tone ; Tone 1 FR: ton normal [ m ] ; ton moyen [ m ] ; ton 1 [ m ] |
วิสามัญ | [wisāman] (adj) EN: extrardinary FR: extraordinaire ; spécial |
วิสามัญฆาตกรรม | [wisāman khāttakam] (n, exp) EN: lawful homicide |
Longdo Approved EN-TH
General Assembly | [เจน-นะรัล อะเซมบลิ] (phrase) การประชุมสามัญ |
ordinary partnership | (n) ห้างหุ้นส่วนสามัญ, See also: partnership, limited partnership |
vine | (n) เดิมทีแปลว่าต้นองุ่น แต่ในปัจจุบัน(โดยเฉพาะภาษาอเมริกัน)ความหมายสามัญได้เปลี่ยนแปลงไปเป็น ไม้ที่มีเถา ซึ่งไม่จำเป็นต้องเป็นองุ่นเสมอไป, See also: grapevine |
XEROX | (n, name, uniq) เครื่องหมายการค้าของ ซีร็อกซ์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ใช้สำหรับเครื่องผลิตภัณฑ์ถ่ายเอกสาร และอื่นๆ โดยในประเทศไทยได้มีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าอย่างถูกต้องตามกฎหมายไทย และขอความร่วมมือคนไทยเลิกใช้คำว่า XEROX ในความหมายว่า เครื่องถ่ายเอกสาร หรือ กระบวนการถ่ายเอกสาร ในลักษณะคำสามัญ เพราะจะทำให้เครื่องหมายการค้าของซีร็อกซ์เสื่อมซึ่งลักษณะเฉพาะ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
clamjamfry | (แคลมแจม'ฟรี) n. ฝูงชน, สามัญชน, การพูดที่ไม่จริงใจ |
common | (คอม'เมิน) adj. ร่วมกัน, ธรรมดา, สามัญ, ซึ่งรู้จักกันดีในทางเลว, พร้อมกัน, เหมือนกัน, สาธารณะ n., See also: commons n., pl. คนสามัญ, สมาชิกสภาล่าง, ห้องอาหารขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัย, Syn. habitual, ordinary, usual -Conf. mutu |
common man | n. สามัญชน, คนสามัญ |
common sense | n. สามัญสำนึก, See also: commonsensical adj. ดูcommon sense commonsensible adj. ดูcommon sense, Syn. judgment -Conf. commonsense |
commonalty | (คอม'มะแนลที) n. สามัญชน, คนสามัญ, ประชาชน, หมู่คณะ, Syn. commonality |
commoner | (คอม'มะเนอะ) n. สามัญชน, สมาชิกสภาล่าง, นักศึกษา (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอ๊อคฟอร์ด) ที่ไม่ได้รับทุนช่วยเหลือการศึกษา, ผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม |
commonplace | adj. ธรรมดา, สามัญ, ไม่น่าสนใจ, ซ้ำ ๆ ซาก ๆ n. คำพูดซ้ำ ๆ ซาก ๆ , สิ่งธรรมดา ๆ, See also: commonplaceness n. ดูcommonplace, Syn. ordinary |
conventional | (คันเวน'เชินเนิล) adj. เกี่ยวกับธรรมเนียมปฎิบัติหรือประเพณีนิยม, ธรรมดา, สามัญ, เกี่ยวกับข้อตกลงหรือสัญญา, See also: conventionalist n. ดูconventional, Syn. usual, Ant. unusual |
demos | (ดี'มอส) n. ประชาชน, สามัญชน, พลเมือง |
earthling | (เอิร์ธ'ลิง) n. มนุษย์, มนุษย์เดินดิน, คนธรรมดาสามัญ |
estate | (อีสเทท') n. หลักทรัพย์ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ติดดินผืนใหญ่, ที่ดิน, ทรัพย์สิน, ฐานันดร, กลุ่มการเมือง, กลุ่มสังคม, -Phr. (the fourth estate ฐานันดรที่4 (นักหนังสือพิมพ์)) -Phr. (the Three Estates ฐานันดรทั้ง 3 ในยุคศักดินายุโรปได้แก่พระ ขุนนางและสามัญชน) |
everyday | adj. ทุกวัน, สามัญ, คนธรรมดา., See also: everydayness n. ดูeveryday, Syn. daily |
everyman | n. คนธรรมดา, สามัญชน |
extraordinary | (อิคซฺทรอ'ดินะรี) adj. พิเศษ, ผิดธรรมดา, วิสามัญ., See also: extraordinarily adv. extraordinariness n., Syn. amazing |
folk | (โฟล์ค) n. ประชาชน, ชาวบ้าน, คนทั่วไป, ญาติสมาชิกของครอบครัว, พ่อแม่. adj. เกี่ยวกับชาวบ้าน หรือสามัญชน. ซึ่งกำเนิดในหมู่สามัญชน., See also: folkish adj. folkishness n., Syn. persons, people |
general education | n. สามัญศึกษา |
grass roots | สามัญชน, ตำแหน่งธรรมดา |
hackneyed | (แฮค'นีดฺ) adj. ธรรมดา, สามัญ, เก่าแก่, Syn. trite, stereotyped, flat, stale |
herd | (เฮิร์ด) n. ฝูงสัตว์, ฝูงคน, กลุ่มคน, คนเลี้ยงสัตว์. -Phr. (The herb สามัญชน) vi.รวมเป็นกลุ่ม vt. เลี้ยงสัตว์, นำเป็นกลุ่มไป |
heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense |
hoi polloi | (ฮอย'พะลอย) n. สามัญชน, ประชาชน, Syn. populace |
horse sense | สามัญสำนึก |
lowly | (โล'ลี) adj., adv. ถ่อมตัว, ต่ำต้อย, สามัญ, แผ่วเบา, นิ่มนวล., See also: lowliness n. ดู lowly, Syn. humble, humbly |
mediocre | (มีดิโอ'เคอะ) adj. เกี่ยวกับคุณภาพปานกลาง, ไม่ดีไม่เลว, สามัญ, เกือบไม่พอ |
mediocrity | (มีดีออค'ริที) n. คุณภาพที่ปานกลาง, ความสามัญ, ความไม่ดีไม่เลว, ความเกือบไม่พอ |
ordinary | (ออร์'ดินะรี) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, พื้น ๆ , ต่ำกว่าถัวเฉลี่ย, ระดับต่ำ. n. ภาวะที่ปกติ, สิ่งที่ปกติ, ลูกขุน -Phr. (out of the ordinary ผิดธรรม, เป็นกรณียกเว้น.), See also: ordinariness n. |
plebeian | (พลีบี'เอิน) n., adj. สามัญชน., See also: plebeianism n. |
plebs | (เพลบซ) n.สามัญชน, ประชาชนทั่วไป pl. plebes, Syn. common people |
rabble | (แรบ'เบิล) n. ฝูงชนที่วุ่นวายไร้ระเบียบ, ฝูงสัตว์, ฝูงแมลง, สิ่งของที่เป็นกองเรี่ยราด. vt. รวมเป็นฝูงชน -Phr. (the rabble สามัญชน ชนชั้นต่ำ ประชาชนทั่วไป), Syn. mob |
regular | (เรก'กิวละ) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, เป็นประจำ, สม่ำเสมอ, เป็นกิจวัตร, ตามกฎ, มีกฎเกณฑ์, มีระเบียบ, ตามระเบียบ, ตามแบบแผน, ถูกต้องตามกฎเกณฑ์, เกี่ยวกับทหารประจำการ, (กาแฟ) มีปริมาณปกติของนมหรือครีม n. ลูกค้าประจำ, ทหารอาชีพ, ทหารประจำการ, สมาชิกพรรคที่ยึดถือนโยบายของพรรค |
vulgar | (วัล'กะ) adj. หยาบคาย, หยาบ, ต่ำช้า, ไพร่, สามหาว, พื้น ๆ , สามัญ, ปัจจุบัน. n. คนสามัญ., See also: vulgarly adv. vulgarness n., Syn. ordinary, rude |
workaday | (เวิร์ค'คะเด) adj. เกี่ยวกับวันทำงานเหมาะสำหรับเป็นวันทำงาน, ปกติ, สามัญ, ประจำวัน, พื้น ๆ , ทั่วไป, น่าเบื่อ |
Nontri Dictionary
banal | (adj) มีทั่วไป, สามัญ, ดาษดื่น |
bourgeois | (n) คนชั้นกลาง, สามัญชน |
COMMON common sense | (n) สามัญสำนึก, ไหวพริบ |
common | (adj) สามัญ, ธรรมดา, ชั้นต่ำ, ไพร่, เลวทราม, สามานย์ |
commoner | (n) คนธรรมดา, สามัญชน |
commonplace | (adj สามัญ, ธรรมดา, ไม่น่าสนใจ, ซ้ำๆ) ซากๆ |
commons | (n) กลุ่มสามัญชน, สภาผู้แทนของอังกฤษ |
everyman | (n) สามัญชน, คนธรรมดาสามัญ |
extraordinarily | (adv) อย่างผิดปกติ, อย่างพิเศษ, อย่างผิดธรรมดา, วิสามัญ |
hearsay | (n) คำพูดสามัญ, คำบอกเล่า, การได้ยินมา, ข่าวลือ, เรื่องเล่า |
layman | (n) ฆราวาส, คนธรรมดา, สามัญชน |
mediocre | (adj) ปานกลาง, สามัญ |
mediocrity | (n) ความสามัญ, คุณภาพปานกลาง |
nostrum | (n) ยาสามัญประจำบ้าน, ยาแผนโบราณ |
ordinary | (adj) สามัญ, ปกติ, ธรรมดา, พื้นๆ |
plebeian | (adj) เกี่ยวกับสามัญชน |
plebeian | (n) สามัญชน, คนธรรมดาสามัญ |
proletarian | (adj) เกี่ยวกับคนสามัญ, เกี่ยวกับไพร่, เกี่ยวกับพวกกรรมกร |
proletariat | (n) ไพร่, กรรมกร, คนธรรมดาสามัญ, ชนชั้นกรรมาชีพ |
rabble | (n) สามัญชน, ฝูงชน, ฝูงสัตว์ |
simple | (adj) ง่าย, เดี่ยว, เซ่อ, เรียบๆ, สามัญ, ต่ำต้อย, ชัดแจ้ง |
simply | (adv) อย่างเรียบๆ, อย่างง่ายๆ, อย่างสามัญ, อย่างไม่หรูหรา |
stock | (adv) ที่สะสมไว้, ดาษดื่น, มีอยู่ในร้าน, สามัญ |
triviality | (n) สิ่งเล็กน้อย, ความเป็นสามัญ, เรื่องขี้ปะติ๋ว |
undistinguished | (adj) สามัญ, ธรรมดา, ไม่ได้แยกแยะ, ไม่เด่น |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
accountability | (n) สามัญสำนึกในหน้าที่ |
common share | (n) หุ้นสามัญ |
common stock | (n) หุ้นสามัญ |
Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) |
long kong | (name) ลองกองเป็นชื่อของผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงศ์ MELIACEAE ชื่อสามัญคือ long kong ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Lansium domesticum Corr. ลองกองนั้นเชื่อว่าเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดมาจากบริเวณหมู่เกาะมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และภาคใต้ของไทย Image: |
non-voting depository right | (n) ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย เป็นตราสารที่ออกโดยบริษัทย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้น ซึ่งคือ "บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด" (Thai NVDR Company Limited) โดยมีลักษณะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) วัตถุประสงค์หลักของ NVDR คือเพื่อกระตุ้นการลงทุนและเพิ่มสภาพคล่องให้ตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งช่วยให้ชาวต่างประเทศลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนได้ โดยไม่ติดเรื่องเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) พร้อมทั้งสามารถได้รับสิทธิประโยชน์ทางการเงิน |
Registered Ordinary Partnership | (n) ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล |
Longdo Approved JP-TH
臨時国会 | [りんじこっかい, rinjikokkai] (n) การประชุมสภาสมัยวิสามัญ |
通常国会 | [つうじょうこっかい, tsuujoukokkai] (n) การประชุมสภาสมัยสามัญ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
合名会社 | [ごうめいがいしゃ, goumeigaisha] (n) ห้างหุ้นส่วนสามัญ |
Longdo Approved DE-TH
üblich | (adj) ธรรมดา, สามัญ, ดาษดื่น, ทั่วไป เช่น Das Buch ist weit mehr als übliche Städteführer. หนังสือเล่มนี้มีอะไรมากกว่าหนังสือแนะนำท่องเที่ยวทั่วไปเป็นพิเศษ, Syn. ordinär |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Plebejer | (n) สามัญชน, ประชาชนทั่วไป |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0417 seconds, cache age: 8.654 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม