157 ผลลัพธ์ สำหรับ *สั่นสะเทือน*
ภาษา
หรือค้นหา: สั่นสะเทือน, -สั่นสะเทือน-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สั่นสะเทือน | (v) quake, See also: shake, vibrate, Syn. สะเทือน, สั่น, ไหว |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระฉอก | ก. อาการที่ของเหลวเช่นนํ้าเป็นต้นกระเพื่อมอย่างแรงหรือล้นหกเพราะความสั่นสะเทือน, (ปาก) กระดอนหรือกระเด้ง เช่น ลูกบอลกระฉอกออกจากมือผู้รักษาประตู. |
การนำ | การส่งถ่ายพลังงานความร้อนผ่านเทหวัตถุโดยวิธีการซึ่งโมเลกุลของเทหวัตถุนั้นกระทบกระแทกกันเนื่องจากโมเลกุลสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วมาก. |
ความถี่ | น. จำนวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล |
แผ่นดินไหว | น. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด. |
สะท้าน | ดังลั่น, ดังก้อง, สั่นสะเทือน, เช่น เสียงปืนใหญ่ดังสะท้านก้องไปทั้งกรุง. |
หย่อง | ส่วนประกอบของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ขิม ไวโอลิน ใช้รองรับสายพาดผ่าน เพื่อรับแรงสั่นสะเทือนจากสายลงสู่กล่องเครื่องดนตรีให้เสียงกังวานขึ้น, ส่วนประกอบของจะเข้ ใช้หนุนสายเพื่อมิให้แตะนมจะเข้ เรียกว่า ซุ้ม. |
หวั่นไหว | ก. สั่นสะเทือน, โอนเอน, เช่น จิตใจหวั่นไหวไปตามอารมณ์, ครั่นคร้าม เช่น ไม่หวั่นไหวต่อภยันตรายใด ๆ. |
หวั่นไหว | ว. อาการที่สั่นสะเทือนมาก (ใช้แก่เสียง) เช่น เสียงดังสนั่นหวั่นไหว. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallesthesia; pallaesthesia; palmaesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pallesthetic; pallaesthetic; palmaesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmaesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmaesthesia; pallaesthesia; pallesthesia; palmesthesia; sensibility, vibratory | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palmaesthetic; pallaesthetic; pallesthetic; palmesthetic | -ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
resilient mounting | อุปกรณ์รองรับการสั่นสะเทือน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shock absorber; suspension damper | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensibility, vibratory; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suspension damper; shock absorber | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
damper | ๑. ตัวหน่วง ๒. ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fremitus | การสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
earthquake shock damage | ความเสียหายจากการสั่นสะเทือนเพราะแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
vibratory sensibility; pallaesthesia; pallesthesia; palmaesthesia; palmesthesia | ความไวรู้สึกสั่นสะเทือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vibration isolator | อุปกรณ์ลดการสั่นสะเทือน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
telescopic shock absorber; telescopic damper | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือนแบบกระบอก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
telescopic damper; telescopic shock absorber | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือนแบบกระบอก [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Vibration | การสั่นสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mechanical vibration | การสั่นสะเทือนเชิงกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Active noise and vibration control | การควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนแบบแอคทีฟ [TU Subject Heading] |
Shock absorbers | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Vibration | การสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Butyl Rubber or Isobutylene Isoprene Rubber: IIR | ยาง IIR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากโคโพลิเมอร์ระหว่าง isobutylene กับ isoprene มีสมบัติทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องจากสารเคมี ความร้อน แสงแดด ได้เป็นอย่างดี มีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีสมบัติเด่น คือ มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซต่ำมาก ดังนั้นจึงนิยมใช้ในการผลิตยางในรถยนต์ หรือเคลือบผนังด้านในของยางเรเดียล ใช้ทำถุงยางลมสำหรับอบยางล้อให้คงรูปในอุตสาหกรรมผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น และเนื่องการมีค่าการกระเด้งกระดอนต่ำที่อุณหภูมิห้อง ทำให้ดูดซับพลังงานกลและการสั่นสะเทือนได้ดีในช่วงอุณหภูมิที่กว้าง จึงเหมาะที่จะผลิตเป็นยางกันสะเทือนด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Brain, Pulsation of | การสั่นสะเทือนของสมอง, การสั่นสะเทือนของสมอง [การแพทย์] |
Fluid Thrill | การสั่นสะเทือนของสารน้ำการสั่นสะเทือนของของเหลว [การแพทย์] |
vibrating roller | vibrating roller, รถบดแบบสั่นสะเทือน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
earthquake | แผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Joint Vibration | ความรู้สึกสั่นสะเทือนของข้อ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
สั่นสะเทือน | [sansatheūoen] (v) EN: quake ; shake ; vibrate FR: branler ; trépider |
Longdo Approved EN-TH
Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
rumble strip | (n) เส้นจราจรที่ตีขวางบนถนนเป็นแถบๆ ใช้สำหรับเตือนคนขับรถถึงลักษณะสภาพถนนที่เปลี่ยนไป หรือให้ระวัง (เช่น เตือนเมื่อถึงทางเลี้ยว, เตือนเมื่อถึงทางลาด) เส้นนี้ทำงานโดยอาศัยแรงกระแทกของล้อรถกับเส้นจารจรที่ตีไว้บนถนน ทำให้เกิดเสียงเมื่อรถวิ่งผ่านและการสั่นสะเทือนบนตัวรถ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
epicenter | (n) พื้นดินเหนือศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว, See also: พื้นดินเหนือจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว, Syn. center |
jar | (n) การสั่นสะเทือน, See also: การกระเทือน, Syn. vibration, jolt |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, See also: ทำให้สะเทือน, Syn. rattle, shake |
jar | (vi) สั่น, See also: สั่นสะเทือน, Syn. vibrate, shake |
quaverer | (n) สิ่งที่สั่นสะเทือน |
quavering | (adj) ซึ่งสั่นสะเทือน, Syn. quivering |
quaveringly | (adv) อย่างสั่นสะเทือน |
reverberate | (vt) ทำให้ดังก้อง, See also: ทำให้ดังสั่นสะเทือน, Syn. echo, resound |
rock | (vt) ทำให้ตกใจ, See also: ทำให้สั่นสะเทือน, Syn. shake, shock, surprise |
seismogram | (n) การบันทึกของเครื่อง seismograph, See also: การบันทึกการเกิดแผ่นดินไหว, บันทึกจากเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว |
seismograph | (n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว |
seismographer | (n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว |
seismography | (n) การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดแผ่นดินไหว |
shake | (vi) เขย่า, See also: สั่น, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, สะเทือนใจ |
shaky | (adj) สั่น, See also: สั่นเทา, สั่นระริก, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, Syn. quivery, trembling |
tremble | (vi) กระเทือน, See also: สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว |
tremolo | (n) เครื่องป้องกันการสั่นสะเทือน |
vibrant | (adj) ซึ่งสั่นสะเทือน, See also: ซึ่งก้องกังวาน, ซึ่งกระหึ่ม, ซึ่งก้องกังวาน |
vibratile | (adj) ที่สามารถสั่นสะเทือน, See also: ที่สามารถเคลื่อนที่ขึ้นลงอย่างรวดเร็ว |
Hope Dictionary
amplify | (แอม' พลิไฟ) vt. ขยายใหญ่ขึ้น, ขยายความ, ขยายความถี่ของการสั่นสะเทือน |
concuss | (คันคัส') { concussed, concussing, concusses } vt. สั่นสะเทือน, ขู่เข็ญ |
concussion | (คันคัส'เชิน) n. การสั่นสะเทือน, การปะทะอย่างแรง, การกระเทือนที่เกิดจากการกระทบกระแทก, ภาวะสมองไขสันหลัง หรืออื่น ๆ ถูกกระทบอย่างแรง., See also: concussant adj. ดูconcussion concussive adj. ดูconcussion, Syn. shaking, shoc |
convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก |
dither | (ดิธ'เธอะ) n. การสั่น, การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ความกลัว. vi. สั่น, สั่นสะเทือน |
fremitus | n. ความสั่นสะเทือน |
hz | ย่อมาจาก hertz เป็นหน่วยวัดการสั่นสะเทือนของกระแสไฟฟ้าที่ใช้จำนวนมาก ๆ เพื่อวัดความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง 1 เฮิร์ทซ์ เท่ากับ 1 รอบต่อวินาที เมื่อวัดกันในขนาดจำนวนมากจริง ๆ จึงใช้หน่วยใหญ่ที่เรียกว่า เมกะเฮิร์ทซ์ (megahertz) ใช้ตัวย่อว่า MHz ไมโครคอมพิวเตอร์ปัจจุบันจะทำงานด้วยความเร็วประมาณ 25 - 60 เมกะเฮิร์ทซ์ |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
pulse | (พัลซฺ) n. ชีพจร, การเต้นเป็นจังหวะ, ความสั่นสะเทือน, อารมณ์, จังหวะของชีวิต. vi. เต้น, สั่นสะเทือน, Syn. regular beat |
pulser | (พัล'เซอะ) n. เครื่องทำให้เกิดการสั่นสะเทือน |
purr | (เพอ) n., v. (เกิด) เสียงคล้ายเสียงหายใจที่ได้ยินในเครื่องฟัง, เสียงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์, เสียงรัวของลมพัด, เสียงครางของแมวที่แสดงความพอใจ, See also: purringly adv. -S.pur |
quake | (เควค) vi., n. (การ) สั่นเทา, สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว, ยวบ, แผ่นดินไหว, See also: quakingly adv., Syn. shake |
quaky | (เคว'คี) adj. มักสั่น, มักสะเทือน, มีความโน้มเอียงที่จะสั่นหรือสั่นสะเทือน, See also: quakily adv. quakiness n., Syn. shaky |
resonate | (เรซ'ซะเนท) vt. ทำให้กังวาน, ทำให้สะท้อนกลับ, ขยายเสียงให้สั่นสะเทือน vi. สะท้อนเสียง, ดังก้อง, See also: resonation n. |
resounding | (รีเซา'ดิง) adj. ดังก้อง, สะท้อนกลับ, กังวาน, ดังมาก, สั่นสะเทือน, มีกำลัง, รุนแรง, ชัดแจ้ง, ยิ่งใหญ่, Syn. echoing, clear, vibrating |
reverberate | (รีเวอ'บะเรท) vi., adj. ดังก้อง, (เสียง) สะท้อนกลับ, ทำให้ดังสั่นสะเทือน, เด้งกลับ, See also: reverberative adj. reverberator n., Syn. resound |
rock | (รอค) n. หิน, โขดหิน, ก้อนหิน, หินโสโครก, อันตราย, ภัยพิบัติ, รากฐานอันมั่นคง, เพชร, พลอย vi., vt., n. (การ) โยก, แกว่ง, ไกว, เขย่า, ทำให้สั่นสะเทือน, ร่อนแร่, โคลงเคลง, ปลอบโยน adj. โยกไปมา -Phr. (on the rocks สู่ความหายนะสู่ภัยพิบัติ, ล้มละลาย, ไม่มีเงิน) |
seismograph | (ไซซ'มะกราฟ) n. เครื่องมือวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิด จากแผ่นดินไหว., See also: seismographic adj. seismographical adj. |
seismography | (ไซซมอก'กระฟี) n. การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว, =seismology (ดู), See also: seismographer n. |
shake | (เชด) (shook, shaken, shaking, shakes } vt., vi., n. (การ) เขย่า, สั่น, โยก, ทำให้สั่น, สลัด, สะบัด, ทอดทิ้ง, ทำให้กระวนกระวาย, กวนใจ, ทำให้สงสัย, ขจัด, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, สะท้าน, แกว่ง, ไม่มั่นคง, หวั่นไหว, จับมือกัน (แสดงความเคารพการทักทายหรือการเห็นด้วย) , สิ่งที่เกิดจากการสั |
shaky | (เช'คี) adj. สั่น, สั่นเทา, สั่นระริก, สั่นสะเทือน, ตัวสั่น, โอนเอน, โยกคลอน, ไม่มั่นคง, ทำท่าจะล้ม, น่าสงสัย., See also: shakily adv. shakiness n., Syn. decrepit, rickety |
tremble | (เทรม'เบิล) vi., n. (การ) สั่น, สั่นเทา, สั่นไหว, ตัวสั่น, สั่นระริก, กลัว, เป็นทุกข์, สั่นสะเทือน ., See also: trembler n. tremblingly adv., Syn. shake, quiver, teeter, sway |
trembling | (เทรม'บลิง) n. การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, Syn. shaking |
trepidation | (เทรพพิเด'เชิน) n. การสั่นระริก, การสั่น, การสั่นเทา, การสั่นสะเทือน, ความกังวลใจ, อาการกระตุกของกล้ามเนื้อ, Syn. anxiety, apprehension, panic, nerves |
twang | (ทแวง) n., vi., vt. (ทำ) เสียงซอ, เสียงแหลมที่สั่นสะเทือน, See also: twangy adj. |
tympanum | (ทิม'พะนัม) n. หูช่องกลาง, เยื่อแก้วหู, ช่องกลาง, แผ่นเยื่อสั่นสะเทือนของโทรศัพท์ pl. tympanums, tympana, Syn. drum |
vibrant | (ไว'เบรินทฺ) adj. สั่นสะเทือน, ระรัว, กังวาน, ก้องกังวาน, มีชีวิตชีวา, ตื่นเต้น, กระตุ้นจิต. n. เสียงสั่นสะเทือน, เสียงกังวาน., See also: vibrancy, vibrance n. vibrantly adv. |
vibrate | (ไว'เบรท) vi. สั่น, สั่นสะเทือน, สั่นไหว, ระรัว, ระริก, เคลื่อนขึ้นลงอย่างรวดเร็วและซ้ำ ๆ ให้แกว่ง, ทำให้ระรัว, ทำให้ระริก, ทำให้ตื่นเต้น, ปล่อยออก., See also: vibratingly adv., Syn. oscillate |
Nontri Dictionary
convulse | (vt) สั่น, ทำให้ชัก, สั่นสะเทือน |
damper | (n) สิ่งที่ทำให้ชื้น, เครื่องลดการสั่นสะเทือน, เครื่องบรรเทา |
jar | (vt) ทำให้สั่นสะเทือน, ชน |
pulse | (n) ชีพจร, จังหวะ, การเต้น, ความสั่นสะเทือน, ถั่ว |
quake | (vi) ยวบ, ไหว, สั่นสะเทือน, สั่นเทา, สั่นระริก |
reverberate | (vi) ทำให้ก้อง, ทำให้สะท้อนกลับ, ทำให้สั่นสะเทือน |
reverberate | (vt) ก้อง, สะท้อนกลับ, สั่นสะเทือน |
reverberation | (n) เสียงก้อง, การสะท้อนกลับ, การสั่นสะเทือน |
shake | (vt) โยก, เขย่า, ไหว, ทำให้สั่นสะเทือน, ขจัด |
shaky | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, สั่นเทา, โอนเอน |
tremble | (n) การสั่นสะท้าน, การสั่นสะเทือน |
tremor | (n) การสั่นสะเทือน, ความตื่นเต้น, ใจสั่น |
vibrant | (adj) สั่นสะเทือน, สั่น, กังวาน |
vibrate | (vi) สั่นสะเทือน, สั่น, ก้อง, กังวาน |
vibration | (n) การสั่นสะเทือน, การสั่น, การแกว่ง, ความตื่นเต้น |
Longdo Approved JP-TH
震度 | [しんど, shindo] (n) หน่วยบอกระดับความสั่นสะเทือน ซึ่งแยกวัดตามพื้นที่ แบ่งเป็น 10 ระดับ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
激動 | [げきどう, gekidou] TH: แรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง EN: terrible shock |
衝撃 | [しょうげき, shougeki] TH: แรงสั่นสะเทือน EN: impact |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0269 seconds, cache age: 6.744 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม