139 ผลลัพธ์ สำหรับ *สลิม*
ภาษา
หรือค้นหา: สลิม, -สลิม-Longdo Unapproved MS - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Bumiputera | (n) (การเมือง) ภูมิบุตร หมายถึง ชาวมาเลย์ที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน เช่น minimum 30% Bumiputera shareholding requirement หมายถึงจะต้องมีผู้ถือหุ้นเป็นชาวมาเลย์ดังกล่าวเกิน 30% ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด, See also: S. Bhumiputera |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
มุสลิม | (n) Muslim, See also: Moslem, Syn. ชาวมุสลิม, Example: สุเหร่าแห่งนี้เป็นสุเหร่าศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิมในอินเดียที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้นับถือศาสนาอิสลาม |
ชาวมุสลิม | (n) Muslim, See also: Moslem, Islam, Syn. ชาวอิสลาม, คนมุสลิม, Example: ชาวมุสลิมมักนิยมแต่งงานกันเองในหมู่มุสลิมกันเอง, Count Unit: คน |
ศาสนามุสลิม | (n) Mohammedanism, See also: Muslimism, Islam, Islamism, Moslemism, Syn. ศาสนาอิสลาม, มุสลิม, อิสลาม, Example: ศาสนามุสลิมมีข้อห้ามไม่ให้ดื่มสุรา |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
มุสลิม | (มุดสะลิม) น. ผู้นับถือศาสนาอิสลาม. |
กะดี | คำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กะดีเจ้าเซ็นและกะดีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กะดีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า. (เลือนมาจาก กุฎี). |
กุฎี | คำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กุฎีเจ้าเซ็นและกุฎีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กุฎีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, โบราณเรียกว่า กะดี, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า. |
ข้าวหมก | น. อาหารชนิดหนึ่งของมุสลิม ประกอบด้วยข้าวสวยปรุงด้วยเครื่องเทศและขมิ้น มีเนื้อไก่หรือเนื้อแพะหมกในข้าว. |
จุฬาราชมนตรี | น. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง. |
บิหลั่น | น. ผู้ประกาศเชิญชวนให้มุสลิมปฏิบัติศาสนกิจตามเวลา. |
มะตะบะ | น. ชื่ออาหารอย่างมุสลิมชนิดหนึ่ง คล้ายโรตี แต่มีไส้ทำด้วยเนื้อหรือไก่ผัดกับหอมหัวใหญ่ใส่เครื่องเทศ กินกับอาจาด. |
มัสมั่น | (มัดสะหฺมั่น) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง นํ้าแกงข้น เป็นแกงอย่างมุสลิม ใช้เนื้อหรือไก่เป็นต้นชิ้นโต ๆ ปรุงด้วยเครื่องเทศ มีรสเค็ม หวาน และออกเปรี้ยวเล็กน้อย. |
มัสยิด | (มัดสะหฺยิด, มัดสะยิด) น. สถานที่ซึ่งชาวมุสลิมใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ, สุเหร่า ก็เรียก. (อา.) |
มัสรู่ ๒ | (มัดสะหฺรู่) น. แกงเผ็ดอย่างมุสลิม. |
รองเง็ง | น. ศิลปะการแสดงแบบหนึ่งของชาวไทยมุสลิมภาคใต้ เป็นการเต้นรำคู่ชายหญิง และร้องเพลงคลอไปด้วย. |
ศีลอด | (สีน-) น. การถือบวชของชาวมุสลิม ไม่ดื่มไม่กินอะไรเลยตลอดเวลากลางวันตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตกในเดือนเราะมะฎอน อันเป็นเดือนที่ ๙ แห่งปีในศาสนาอิสลามนับแบบจันทรคติ. |
สุเหร่า | (-เหฺร่า) น. สถานที่ซึ่งชาวมุสลิมใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ, มัสยิด ก็เรียก. |
อิสลาม | น. ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคืออัลลอฮ์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช, เรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามว่า มุสลิม. |
ฮาเร็ม | น. สถานที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่อยู่ของบรรดานางสนมหรือนางบำเรอของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีอำนาจ หรือเศรษฐีที่เป็นมุสลิม มักจะเป็นประเทศในแถบเอเชียตะวันออกกลางและอินเดียสมัยที่มุสลิมปกครองเป็นต้น. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Muslim children | เด็กมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim families | ครอบครัวมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim pilgrims and pilgrimages | ผู้จาริกและการจาริกแสวงบุญของชาวมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim students | นักเรียนมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim students | นักศึกษามุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim women | สตรีมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslim youth | เยาวชนชาวมุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslims | มุสลิม [TU Subject Heading] |
Muslims in literature | มุสลิมในวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
D-8 | กลุ่มความร่วมมือของประเทศกำลังพัฒนาที่เป็นมุสลิมและเป็นสมาชิก OIC " ซึ่งมีประชากรมากที่สุด ประกอบด้วยสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ บังกลาเทศ ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อียิปต์ อิหร่าน ตุรกี และไนจีเรีย จัดการประชุมสุดยอดครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2540 ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี " [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Muslim World League (Rabita) | สันนิบาตมุสลิมโลก " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนอิสลามที่มีวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือและเผยแพร่ศาสนา อิสลาม และปกป้อง สิทธิประโยชน์ของชาวมุสลิมทั่วโลก " [การทูต] |
Lymphangioma, Cavernous | คาร์เวอร์นัสลิมแฟงจิโอมา [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โลกมุสลิม | [lōk Mutsalim] (n, exp) FR: monde musulman [ m ] |
มุสลิม | [Mutsalim] (n) EN: Muslim ; Moslem FR: musulman [ m ] |
ศาสนามุสลิม | [sātsanā Mutsalim] (n, exp) EN: Mohammedanism ; Muslimism ; Islam ; Islamism ; Moslemism FR: islamisme [ m ] ; mahométisme [ m ] (vx) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
arrack | (n) เหล้าชนิดหนึ่งในประเทศมุสลิม |
begum | (n) คำเรียกอย่างให้เกียรติหญิงมุสลิมสูงศักดิ์หรือแต่งงานแล้ว |
caliph | (n) ผู้นำทางศาสนาของประเทศมุสลิม |
hadji | (n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. haji, hajji |
haji | (n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. hajji |
hajji | (n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. haji |
harem | (n) กลุ่มผู้หญิงในบ้านของคนมุสลิม |
harem | (n) ส่วนของบ้านคนมุสลิมสำหรับให้ผู้หญิงอยู่, See also: ฮาเร็ม |
Islam | (n) มุสลิมและประเทศมุสลิม |
Islamite | (n) อิสลามิกชน, See also: มุสลิม |
jihad | (n) สงครามศักดิ์สิทธิ์, See also: สงครามศาสนาที่ถือเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิม |
masjid | (n) สุเหร่า, See also: มัสยิด, สุเหร่ามัสลิม, Syn. mosque |
Moor | (n) คนมุสลิมที่อาศัยในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ |
Moslem | (n) มุสลิม, Syn. Muslim |
Moslem | (n) ชาวมุสลิม, Syn. Muslim |
Moslem | (adj) มุสลิม, Syn. Muslim, Islamic |
Moslem | (adj) เกี่ยวกับมุสลิม, Syn. Muslim |
muezzin | (n) เจ้าหน้าที่ซึ่งประกาศเรียกชาวมุสลิมทำพิธีละหมาดในสุเหร่า, Syn. fumble, miscarry |
Mufti | (n) ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับมุสลิม, Syn. mufti |
Muslim | (n) มุสลิม, Syn. Arab, Moslem |
Muslim | (n) ชาวมุสลิม, Syn. Arab, Moslem |
Ramadan | (n) เดือนถือศีลอดของชาวมุสลิม, See also: เดือนเก้าในปฏิทินอิสลามซึ่งถือเป็นฤดูถือศีลอด |
salaam | (n) การคำนับโดยการเอามือขวาแตะที่หน้าผาก (มุสลิม) |
salaam | (vi) ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม), Syn. salute |
salaam | (vt) ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม), Syn. salute |
Sufi | (n) ผู้นับถือนิกายมุสลิม |
sultan | (n) สุลต่าน, See also: ประมุขของประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม, ประมุขของประเทศมุสลิม, Syn. emperor, king, ruler |
turban | (n) ผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม |
turban | (n) หมวกที่คล้ายผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม |
vizier | (n) ขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม |
vizierate | (n) ความเป็นขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม |
Hope Dictionary
azan | (อาซาน') n. การเรียกให้สวดมนต์ (วันละห้าครั้ง) ของชาวมุสลิม |
cadi | (คา'ดี, เค'ดี) n. ผู้พิพากษาในชุมชนมุสลิม, ดะโต๊ะ, Syn. kadi |
crusade | (ครูเซด') n. สงครามศาสนา, สงครามศาสนาในศตวรรษที่ 11, 12, 13 ระหว่างทหารคริสเตียนกับทหารมุสลิม, การปราบปราม vi. ทำสงครามครูเสด, ปราบปราม |
giaour | (จัว'เออะ) n. ผู้ไม่เชื่อ, ผู้ไม่เลื่อมใสในศาสนา, ผู้ที่ไม่ใช้มุสลิม (โดยเฉพาะผู้ที่เป็นคริสเตียน) |
hajj | (แฮจ) n. การเดินทางไปนมัสการสิ่งที่เคารพที่กรุงเมกกะซึ่งชาวมุสลิมทุกคนต้องไปครั้งหนึ่งอย่างน้อยในชีวิต -pl. hajjis, Syn. hadj |
hajji | (แฮจ'จี) n. มุสลิมทีเดินทางไปนมัสการ, สิ่งที่เคารพในกรุงเมกกะ -pl. hajjis, Syn. hadji, haji |
imam | (อิมาม') n. พระมุสลิมในสุเหร่า, ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของมุสลิม., Syn. imaum |
istamite | (อิส'ละไมทฺ) n. ชาวอิสลาม, ชาวมุสลิม, Syn. Muslim |
jihad | (จิฮาด) n. สงครามพิทักษ์ศาสนามุสลิม, การต่อสู้เพื่อพิทักษ์ความเลื่อมใสหลักการหรือความคิด, Syn. jehad |
minaret | (มินนะเรท', มิน'นะเรท) n. หอสูงชะลูดที่ติดกันสุเหร่ามุสลิม |
mohammedanism | (โมแฮบ'มิดันนิซึม) n. ศาสนาอิสลาม, ศาสนามุสลิม, Syn. Islam |
moslem | (มอซ'เลิม, มอส'เลิม) n., adj. มุสลิม, Syn. Muslim pl. Moslems, Moslem |
muhammadan | (มูแฮม'มิเดิน) adj., n. มุสลิม, อิสลาม., Syn. Muhammedan |
muslim | (มัซ'ลิม, มูซ'ลิม) n. ชาวมุสลิม pl. Muslims, Muslim |
paynim | (เพ'นิม) n. คนนอกศาสนา, ชาวมุสลิม |
slim | (สลิม) adj., vt., vi. (ทำให้, กลายเป็น) ยาวเรียว, บอบบาง, ผอมบาง, ไม่เต็มที่, เล็กน้อย., See also: slimly adv. slimness n. |
slimmish | (สลิม'มิช) adj. ค่อนข้างยาวเรียว, ค่อนข้างอรชร, ค่อนข้างบอบบาง, ไม่เต็มที่ |
sultan | (ซัล'เทิน) n. ประมุขของประเทศมุสลิม, สุลต่าน, See also: sultanic adj. . sultanship n. |
turban | (เทอ'เบิน) n. หมวโพกศรีษะของชาวมุสลิมในตอนใต้ของเอเซีย, หมวกที่คล้ายหมวกดังกล่าว, หมวกสตรีที่โพกคล้ายหมวกแขก, See also: turbaned adj. |
vizi | (er) (วิเซียร์', วิส'เซียร์) n. ขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม (โดยเฉพาะที่เป็นรัฐมนตรี) ., See also: vizierate n. vizirate n. viziership n. vizirship n. vizierial adj. vizerial adj. |
Nontri Dictionary
Islam | (n) ศาสนาอิสลาม, ชาวอิสลาม, ชาวมุสลิม |
Longdo Approved JP-TH
シーア派 | [しーあは, shi-aha] (n) มุสลิมนิกายซีอะห์ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
回教 | [かいきょう, kaikyou] TH: มุสลิม |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0308 seconds, cache age: 12.802 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม