316 ผลลัพธ์ สำหรับ *สงสัย*
ภาษา
หรือค้นหา: สงสัย, -สงสัย-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สงสัย | (v) doubt, See also: suspect, to be suspicious |
สงสัย | (v) wonder, See also: be suspicious, doubt, Syn. กังขา, Ant. เข้าใจ, Example: ผมสงสัยว่าทำไมเขาจึงลาออก, Thai Definition: ไม่เข้าใจ |
สงสัย | (v) suspect, See also: be suspicious, doubt, distrust, mistrust, Syn. แคลงใจ, คลางแคลงใจ, Example: ตำรวจสงสัยหลักฐานที่ผู้ต้องหานำมา, Thai Definition: ไม่ปลงใจเชื่อ |
ขี้สงสัย | (adj) suspicious, See also: dubious, doubtful, skeptical, Example: เขาบอกว่าเด็กขี้สงสัยมักจะเป็นเด็กที่ฉลาด, Thai Definition: ที่ไม่แน่ใจหรือลังเลในข้อเท็จจริง |
ข้อสงสัย | (n) doubt, See also: suspicion, Syn. ปัญหา, คำถาม, Example: ทุกคนมีข้อสงสัยต่างๆ นานาเกี่ยวกับการหายไปของดาราสาว, Thai Definition: ข้อเคลือบแคลงหรือลังเลไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง |
น่าสงสัย | (v) be suspicious, See also: be doubtful, be questionable, Syn. น่ากังขา, น่าแคลงใจ, Ant. น่าไว้วางใจ, น่าเชื่อถือ, Example: ในกรณีนี้เขาน่าสงสัยที่สุด, Thai Definition: ไม่น่าไว้วางใจ |
น่าสงสัย | (adj) suspicious, See also: doubtful, questionable, Syn. น่ากังขา, น่าแคลงใจ, Ant. น่าไว้วางใจ, น่าเชื่อถือ, Example: ตำรวจพบหลักฐานที่น่าสงสัยหลายชิ้น, Thai Definition: ไม่น่าไว้วางใจ |
ความสงสัย | (n) doubtfulness, See also: questionableness, Syn. ความข้องใจ, ความกังขา, Example: เรื่องที่พูดคุยกันวันนั้นทั้งหมดเป็นเพียงแค่ความสงสัย ยังไม่มีข้อมูลหลักฐานชัดเจน |
ต้องสงสัย | (adj) accused, See also: impeachable, charged, incriminatory, Syn. ถูกสงสัย, Example: เขาเป็นผู้ต้องสงสัยอันดับแรกในคดีนี้, Thai Definition: ผู้ที่ถูกสงสัยว่าเป็นผู้กระทำความผิด |
ต้องสงสัย | (v) suspect, See also: doubt, question, speculate, distrust, Syn. สงสัย, Example: คณะกรรมการต้องสงสัยนักการเมืองบางคนในคดีซุกหุ้น, Thai Definition: มีความไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง, ทราบไม่แน่ชัด |
ไม่ต้องสงสัย | (adv) undoubtedly, See also: doubtlessly, certainly, Syn. เป็นจริง, แน่แท้, Example: ชายคนนั้นที่มีท่าทางมีพิรุธต้องทำอะไรผิดกฎหมายอย่างไม่ต้องสงสัย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
สงสัย | ก. ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก |
สงสัย | ทราบไม่ได้แน่ชัด, เคลือบแคลง, เช่น สงสัยว่าคำตอบข้อไหนถูก สงสัยว่าเขาจะเป็นขโมย |
สงสัย | เอาแน่ไม่ได้ เช่น สงสัยว่าเขาจะมาหรือไม่มา. |
กระเป๋าหนัก | ว. มีเงินมาก, ร่ำรวย, เช่น วันนี้ยอมเป็นเจ้ามือเลี้ยงข้าว สงสัยจะกระเป๋าหนัก. |
กริ่ง ๒ | (กฺริ่ง) ก. นึกแคลง, นึกระแวง, นึกสงสัย. |
กังขา | น. ความเคลือบแคลง, ความสงสัย. |
กินแหนง | ก. สงสัย, ระแวง, ไม่แน่ใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ แคลงใจ เป็น กินแหนงแคลงใจ. |
ข้องใจ | ก. ติดใจสงสัย, ยังไม่สิ้นสงสัย. |
ขาวสะอาด | ว. ไม่มีข้อสงสัยว่าผิดกติกา (มักใช้แก่การแข่งขัน) เช่น เขาชนะการเลือกตั้งอย่างขาวสะอาด. |
ค้นตัว | ก. ตรวจค้นตามร่างกาย เพื่อหาของกลาง ของต้องห้าม หรือของที่ผิดกฎหมาย เป็นต้น เช่น ตำรวจค้นตัวผู้ต้องสงสัย. |
คลางแคลง | (คฺลางแคฺลง) ก. แคลงใจ, ไม่แน่ใจหรือวางใจลงไปได้เพราะออกจะสงสัย, แคลงคลาง ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า แคลง. |
ความผิดซึ่งหน้า | น. ความผิดซึ่งเห็นกำลังกระทำ หรือพบในอาการใดซึ่งแทบจะไม่มีความสงสัยเลยว่าเขาได้กระทำผิดมาแล้วสด ๆ. |
คะ ๒ | ว. คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำถามหรือคำแสดงความสงสัยเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น อะไรคะ กระมังคะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำ ซิ นะ เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ ไปนะคะ. |
เคลือบแคลง | ว. สงสัย, แคลงใจ, ระแวง. |
เคลือบแฝง | ว. ไม่กระจ่างทำให้เป็นที่สงสัย. |
แคลง | กินแหนง, สงสัย. |
แคลงคลาง | (แคฺลงคฺลาง) ก. แคลงใจ, ไม่แน่ใจหรือวางใจลงไปได้เพราะออกจะสงสัย, คลางแคลง ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า แคลง. |
แคลงใจ | ก. ไม่แน่ใจหรือวางใจลงไปได้เพราะออกจะสงสัย, คลางแคลง ก็ว่า. |
ฉงน | (ฉะหฺงน) ก. สงสัย, ไม่แน่ใจ, แคลงใจ. |
ฉงาย ๑ | (ฉะหฺงาย) ก. สงสัย. |
เฉลียวใจ | ก. นึกระแวงขึ้นมา, ชักจะสงสัย. |
ชัดเจน | ว. แจ่มแจ้งโดยไม่ต้องสงสัย เช่น เห็นภาพชัดเจน พูดชัดเจน. |
ชันสูตรพลิกศพ | ก. ตรวจพิสูจน์ศพเพื่อให้ทราบว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด สาเหตุและพฤติการณ์ที่ตาย และในกรณีตายโดยคนทำร้ายต้องรายงานว่าใครหรือสงสัยว่าใครเป็นผู้กระทำผิดเท่าที่จะทราบได้. |
แดนสนธยา | น. แดนที่เสมือนมีบางสิ่งบางอย่างที่ลึกลับและมีปัญหาสลับซับซ้อนแอบแฝงให้น่าสงสัยอยู่มาก. |
ได้ตัว | ก. พบบุคคลที่ต้องการ เช่น ตำรวจได้ตัวผู้ต้องสงสัย. |
ตายใจ | ก. หลงเชื่ออย่างไม่สงสัย. |
ติดใจ | ข้องใจ, สงสัย, เช่น อธิบายเท่าไรก็ยังติดใจอยู่. |
ตีความ | วิเคราะห์ถ้อยคำ ข้อความ และความมุ่งหมายของบทกฎหมาย นิติกรรม สัญญา หรือเอกสารอื่น ๆ ที่มีปัญหาสงสัย หรือที่มีความหมายไม่ชัดเจน เพื่อให้ทราบความหมายของถ้อยคำหรือข้อความนั้น ๆ. |
ทะแม่ง, ทะแม่ง ๆ | มีลักษณะลับลมคมในหรือมีอะไรเคลือบแฝงอยู่ทำให้น่าสงสัย. |
เทวภาวะ | น. ความเป็นคู่, ความเป็น ๒, สภาพที่เป็น ๒ คือ ความลังเลสงสัย, เขียนเป็น เทวภาพ ก็มี เช่น ทวีพิชทวีธารทรง สุรยเสพย ไส้แฮ เทวภาพเทวหกพ้น แว่นไว (ยวนพ่าย). |
นักสราช | ตำแหน่งนายขมังธนูอยู่หน้าเรือพระที่นั่ง เพื่อยิงผู้ต้องสงสัยว่าจะเป็นอันตรายต่อพระเจ้าแผ่นดิน ระหว่างเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค. |
ปัญหา | น. ข้อสงสัย, ข้อขัดข้อง, เช่น ทำได้โดยไม่มีปัญหา, คำถาม, ข้อที่ควรถาม, เช่น ตอบปัญหา, ข้อที่ต้องพิจารณาแก้ไข เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาทางการเมือง. |
พิรุธ | ก. ผิดปรกติ, มีอาการน่าสงสัย, เช่น แสดงอาการพิรุธ ทำพิรุธ. |
พิศวง | สงสัย, สนเท่ห์, เช่น น่าพิศวง. |
ยาไฉน | (-ฉะไหฺน) ก. อย่าได้สงสัย, ไม่ต้องสงสัย, เช่น พิศบ่พรรับโอ้อ้า เทพไสร้ยาไฉน (ลอ). |
ระแวง | ก. แคลงใจ, ชักจะสงสัย. |
ลุกลน | ว. ไม่สุภาพเรียบร้อย เช่น เขาแสดงกิริยาลุกลนจนน่าสงสัย. |
ลุกลี้ลุกลน | ว. เร่งรีบอย่างมีพิรุธจนน่าสงสัย เช่น เขาดูลุกลี้ลุกลนชอบกล คงไปทำอะไรผิดมา. |
ว้า ๑ | ว. คำออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า อย่าเสียใจไปเลยว้า. |
วิจิกิจฉา | (-กิดฉา) น. ความสงสัย, ความเคลือบแคลง, ความลังเล, ความไม่แน่ใจ. |
วิมัติ | น. ความเคลือบแคลง, ความสงสัย. |
เวมัติก- | (-มัดติกะ-) ว. สงสัย, ไม่แน่ใจ, ลังเล. |
เว้ย | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสัยหรือไม่พอใจเป็นต้น เช่น เว้ย ! ไม่มีใครอยู่สักคนเลย, โว้ย ก็ว่า. |
โว้ย | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสัยหรือไม่พอใจเป็นต้น เช่น โว้ย ! ไม่มีใครอยู่สักคนเลย, เว้ย ก็ว่า. |
ศงกา | น. ความสงสัย. |
ศังกา | น. ความสงสัย, ความลังเล. |
สงกา | น. ความสงสัย. |
สนเท่ห์ | ก. สงสัย, ฉงน, ไม่แน่ใจ, เช่น รู้สึกสนเท่ห์, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฉงน เป็น ฉงนสนเท่ห์. |
สนิทใจ | ว. ไม่มีอะไรต้องแคลงใจหรือสงสัย เช่น เชื่ออย่างสนิทใจ, ถ้าใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่สนิทใจ หมายความว่า มีลักษณะพึงรังเกียจ เช่น พื้นสกปรกนั่งแล้วไม่สนิทใจ ผ้าเช็ดมือในห้องน้ำรวมใช้ได้ไม่สนิทใจเลย. |
สอดแคล้ว | ว. สงสัย, กินแหนง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
proof beyond reasonable doubt | การพิสูจน์จนสิ้นข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lineup | ชี้ตัวผู้ต้องสงสัยโดยให้เรียงแถว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reasonable suspicion | เหตุอันควรสงสัยว่ากระทำความผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rational doubt | ข้อสงสัยที่สมเหตุสมผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reasonable doubt | ความสงสัยที่สมเหตุผล, ข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
show up | ชี้ตัวผู้ต้องสงสัยตัวต่อตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suspected person | ผู้ต้องสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suspicion | ความสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
benefit of doubt | ประโยชน์แห่งความสงสัย (ที่ยกให้แก่จำเลย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
moral certainty | ความเชื่อโดยไม่มีข้ออันควรสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dubitante (L.) | น่าสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
doubt, benefit of | ประโยชน์แห่งความสงสัย (ที่ยกให้แก่จำเลย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
doubt, reasonable | ความสงสัยที่สมเหตุผล, ข้อสงสัยอันมีเหตุผล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unequivocal | ปราศจากความเคลือบคลุมสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] |
Allowance for doubtful accounts | ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ [การบัญชี] |
Doubtful accounts | หนี้สงสัยจะสูญ [การบัญชี] |
Diet Avoidance | การหลีกเลี่ยงไม่รับประทานอาหารที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุ [การแพทย์] |
Diet Elimination | การหลีกเลี่ยงไม่รับประทานอาหารที่สงสัยว่าเป็นสา [การแพทย์] |
Doubt | สงสัย, ความสงสัยไม่แน่ใจ [การแพทย์] |
Frequency of Exposure | ความถี่ของการได้รับองค์ประกอบที่สงสัยว่าจะทำให้ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ช่างสงสัย | [changsongsai] (adj) FR: curieux |
โดยไม่มีข้อสงสัย | [dōi mai mī khøsongsai] (adv) EN: undoubtedly FR: indubitablement ; incontestablement |
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ | [khā pheūa nī songsai ja sūn] (n, exp) EN: allowance for doubtful accounts |
ขี้สงสัย | [khīsongsai] (adj) EN: suspicious ; dubious ; doubtful ; skeptical FR: sceptique ; incrédule ; suspicieux |
คนช่างสงสัย | [khon changsongsai] (n, exp) FR: esprit curieux [ m ] ; insatiable curieux [ m ] |
ข้อสงสัย | [khøsongsai] (n) EN: doubt ; suspicion FR: doute [ m ] ; suspicion [ f ] |
ข้อสงสัย | [khøsongsai] (n) EN: question |
ข้อสงสัยอันมีเหตุผล | [khøsongsai an mī hētphon] (n, exp) EN: reasonable doubt |
ความสงสัย | [khwām songsai] (n) EN: doubtfulness ; questionableness ; doubt ; suspicion FR: doute [ m ] ; soupçon [ m ] ; suspicion [ f ] ; défiance [ f ] |
ไม่ต้องสงสัย | [mai tǿng songsai] (adv) EN: undoubtedly ; doubtlessly FR: indubitablement ; incontestablement ; soyez certain |
มีความสงสัย | [mī khwām songsai] (adj) EN: suspicious FR: suspicieux ; défiant |
น่าสงสัย | [nāsongsai] (adj) EN: ambiguous ; doubtful ; suspicious-looking ; doubtable ; suspicious FR: douteux ; suspect ; ambigu |
หนี้สงสัยจะสูญ | [nī songsai ja sūn] (n, exp) EN: doubtful accounts |
ผู้ต้องสงสัย | [phūtǿngsongsai] (n) EN: suspect ; suspicious character FR: suspect [ m ] |
สงสัย | [songsai] (v) EN: doubt ; be skeptical ; suspect ; be suspicious ; distrust ; mistrust ; suspect FR: douter ; être sceptique ; suspecter ; soupçonner |
สงสัย | [songsai] (v) EN: wonder FR: se demander ; se poser la question |
ตั้งข้อสงสัย | [tang khøsongsai] (v, exp) EN: call into question |
ต้องสงสัย | [tǿng songsai] (v, exp) EN: be under suspicion FR: être soupçonné ; être suspecté |
Longdo Approved EN-TH
bush telegraph | (slang) พูดกันให้แซ่ด(มักเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของตำรวจที่จะจับผู้ต้องสงสัยที่ซ่อนตัวอยู่(เปรียบเปรยดังเช่น ซ่อนอยู่หลังพุ่มไม้)) เช่น The police are baffled by the number and activity of the bush telegraphs. |
dodgy | (adj) ไม่น่าเชื่อถือ, ที่น่าสงสัย, วางใจไม่ได้ เช่น If anyone is interested I've just written an article on foreign investment and dodgy dealings in British soccer., See also: suspicious, Syn. questionable |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
a fortiori | (เอฟฟอร์ชิออร์' ไร) Latin ด้วยเหตุผลที่ดีกว่า, ยิ่งไม่ต้องสงสัย, ยิ่งขึ้น (all the more) |
ahem | (อะเฮม') interj. อือฮื้อ (แสดงความสงสัย, ความสนใจและอื่น) (an utterance) |
alleged | (อะเลดจฺดฺ') adj. ซึ่งกล่าวหา, ซึ่งยืนยัน, น่าสงสัย, ซึ่งกล่าวถึง. -alledgedly adv., Syn. assert |
apocryphal | (อะพอค'ระฟิล) adj. เกี่ยวกับ apocrypha, น่าสงสัย, เทียม, ปลอม (false) |
apodeictic | (แอพพะดิค'ทิค) adj. ไม่เป็นที่สงสัย, ยืนยันอย่างเด็ดขาด, ไม่สามารถโต้แย้งได้ (incontestable) |
apprehend | (แอพพริเฮนดฺ') vt. จับ, ขัง, เข้าใจความหมาย, คาดคะเนด้วยความกังวลใจ ความสงสัยหรือความกลัว. -vi. เข้าใจ, ฟังเข้าใจ, กลัว, หวั่น. -apprehender n., Syn. arrest, seize, understand |
apprehension | (แอพพริเฮน'เชิน) n. ความสงสัย, ความกลัว, ความหวาดหวั่น, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ความคิดเห็น, การจับกุม, Syn. dread, alarm, capture, comprehension |
askance | (อัสแคนสฺ') adv. สงสัย, ไม่ไว้ใจ, ไม่เห็นด้วย, ชายตามอง, ชำเลืองมอง., Syn. askant |
cloud | (เคลาดฺ) { clouded, clouding, clouds } n. เมฆ, เงามืด, ความมืดมัว, รอยด่าง, มลทิน -Phr. (on a cloud มีความสุขที่สุด) -Phr. (under a cloud ภาวะเสื่อมเสีย, ภาวะที่น่าสงสัย, ภาวะที่ขายหน้า) vt. ปกคลุมไปด้วยเมฆ, ทำให้มืดสลัว, ทำให้เป็นเงา, ให้ร้าย, ใส่ร้าย, ทำให้ยุ่งเหยิงใจ |
conscience | (คอน'เชินซฺ) n. สติรู้ผิดรู้ชอบ, สติสัมปชัญญะ, หิริโอตตัปปะ, ความกลัวบาป -Phr. (for conscience's sake เพราะมีความบริสุทธิ์ใจ) -Phr. (in all conscience แน่นอน อย่างไม่ต้องสงสัย โดยเหตุผล) -Conf. conscious -Conf. conscientous, conscious |
dim | (ดิม) { dimmed, dimming, dims } adj. ทึบ, หมอง, สลัว, ไม่สว่าง, พร่า, คลุมเครือ, เลือนราง, เชื่องช้า, ท้อแท้, หมอง, ไม่แจ่มแจ้ง -Phr. (take a dim view of สงสัย, มองในแง่ร้าย) vt., vi. (ทำให้) ทึบ, (ทำให้) หมอง, ทำให้ (เลือนราง) ., See also: dims n., pl. ไฟสลัว, ไฟหรี่ |
disarmament | (ดิสอา'มะเมินทฺ) n. การปลดอาวุธ, การลดอาวุธ, การลดกำลังทหาร, การขจัดอารมณ์ (โกรธ, เกลียด, สงสัย) |
disarming | (ดิสอาร์'มิง) adj.ซึ่งขจัดอารมณ์ (โกรธ, ความเป็นปฏิปักษ์, ความสงสัย), See also: disarmingly adv. |
distinctly | (ดิสทิงคฺ'ลี) adv. ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, อย่างไม่ต้องสงสัย, Syn. clearly, unmistakably |
distrust | (ดิสทรัสทฺ') vt. สงสัย, แคลงใจ, ไม่ไว้วางใจ n. ความแคลงใจ, ความไม่ไว้วางใจ, ความสงสัย, See also: distruster n. ดูdistrust, Syn. mistrust |
distrustful | (ดิสทรัส'ฟูล) adj. สงสัย, แคลงใจ, ไม่ไว้วางใจ., See also: distrusfulness n. |
doubt | (เดาทฺ) { doubted, doubting, doubts } n. ความสงสัย, ความไม่แน่ใจ, ความกลัว. vt. สงสัย, ไม่แน่ใจ, ไม่ไว้วางใจ, กลัว vi. สงสัย -Phr. (beyond the shadow of a doubt แน่ใจ, มั่นใจ) ., See also: doubtable adj. ดูdoubt doubtably adv. ดูdoubt doubter n. ดูdoub |
doubtful | (เดาทฺ'ฟูล) adj. สงสัย, ไม่แน่ใจ, ไม่มั่นใจ, ลังเล, See also: doubtfulness n. ดูdoubtful, Syn. uncertain, undecided, unlikely, Ant. determined, likely |
doubtless | (เดาทฺ'ลิส) adv. อย่างไม่ต้องสงสัย, Syn. positively |
dubiety | (ดูไบ'อิที) n. ความสงสัย, ความแคลงใจ, สิ่งที่สงสัย., Syn. doubt |
dubious | (ดู'เบียส) adj. น่าสงสัย, น่าแคลงใจ, ไม่แน่นอน, คลุมเครือ., See also: dubiousness n. ดูdubious, Syn. equivocal, doubtful, suspect, Ant. fixed, sound |
dubitable | (ดู'บิทะเบิล) adj. น่าสงสัย, ไม่แน่นอน., See also: dubitably adv. ดูdubitable, Syn. doubtful |
dubitation | (ดูบิเท'เชิน) n. ความสงสัย |
easily | (อี'ซีลี) adv. อย่างง่ายดาย, อย่างไม่ต้องสงสัย, อย่างราบรื่น, ดีกว่ามาก, ซึ่งมีทางเป็นไปได้, Syn. readily |
eh | (เอ'อี) interj. คำอุทานแสดงความสงสัยประหลาดใจ, เฮ้อ! |
equivocal | (อีควิฟ'โวเคิล) adj. ไม่แน่นอน, มีสองนัย, มีเล่ห์นัย, คลุมเครือ, กำกวม, น่าสงสัย., See also: equivocality n. ดูequivocal equivocacy n. ดูequivocal, Syn. vague |
faith | (เฟธ) n. ศรัทธา, ความมั่นใจ, ความเลื่อมใส, ความยึดมั่น, ความเชื่อในศาสนา, ความซื่อสัตย์, คำรับรอง. -Phr. (lose faith in สงสัย) . -Phr. (in good faith ด้วยศรัทธา), Syn. belief, creed |
fishy | (ฟิช'ชี) adj. คล้ายปลา (กลิ่น, รสหรืออื่น ๆ) , ซึ่งประกอบด้วยปลา, ซึ่งมีปลาอุดมสมบูรณ์, เหลือเชื่อ, ไม่น่าเป็นไปได้, น่าสงสัย, ทื่อ, ปราศจากความรู้สึก |
flaky | (เฟล'คี) adj. เป็นสะเก็ด, เป็นชั้น, เป็นแผ่น, ประหลาด, น่าสงสัย, ไม่น่าไว้ใจ., See also: flakily adv. flakiness n. |
funny | (ฟัน'นี) adj. น่าขบขัน, สนุก, ตลก, แปลกประหลาด, พิลึก, น่าสงสัย, หลอกลวง, โอหัง, อวดดี. n., See also: funnies n. เรื่องขบขัน, เรื่องสนุก. funniness n., Syn. comical |
gospel truth | ความจริงไม่ต้องสงสัย |
hands-down | adj., adv. ได้มาอย่างง่ายดาย, ไม่ทน, อย่างไม่ต้องสงสัย, อย่างหลับตา |
hey | (เฮ) interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ, ความสงสัย, ดีใจหรืออื่น ๆ |
hm | (อึม) interj. คำอุทานแสดงการลังเลสงสัย |
hum | (อึม) interj. คำอุทานแสดงการลังเลสงสัย |
implicit | (อิมพลิส' ซิท) adj. บอกเป็นนัย, แสดงนัย, มีความหมายว่า, อย่างไม่ต้องสงสัย, อย่างแน่นอน., See also: implicitly adv. implicitness, implicity n., Syn. absolute, implied |
incredulity | (อินคริดูล' ลิที) n. ความไม่เชื่อถือ, ความกังขา, ความสงสัย, Syn. disbelief, doubt |
incredulous | (อินเครด' ดูเลิส) adj. ไม่เชื่อ, กังขา, สงสัย., See also: incredulously adv. incredulousness n., Syn. skeptical |
inkling | (อิงค'ลิง) n. ความเฉลียว, ข้อสงสัย, Syn. hint |
insecure | (อินซิเคียว'เออะ) adj. ไม่ปลอดภัย, ไม่มั่นคง, เชื่อถือไม่ได้, น่าสงสัย., See also: insecureness n., Syn. unstable |
insinuating | (อินซิน'นิวเอททิง) adj. เป็นนัย, แย้ม, ประจบประแจง, น่าสงสัย, Syn. doubtful |
joberous | (จู'บะลัส) adj. ลังเล, สงสัย |
left-handed | (เลฟทฺ'แฮนดิด) adj., adv. ถนัดมือซ้าย, ใช้มือซ้าย, อยู่ทางด้านซ้าย, หมุนทวนเข็มนาฬิกา, คลุมเครือ, น่าสงสัย, งุ่มง่าม, ซุ่มซ่าม, See also: left-handedness n. ดูleft-handed |
misgive | (มิสกิฟว') { misgave, misgiven, misgiving, misgives } vt., vi. สงสัย, แคลงใจ, หวั่นหวาด, Syn. doubt |
misgiving | (มิสกิฟ'วิง) n. ความสงสัย, ความไม่ไว้วางใจ, ความหวั่นหวาด., Syn. doubt, -A. faith |
moot | (มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปราย, Syn. debatable, academic |
mysterious | (มิสเทีย'เรียส) adj. ลึกลับ, เป็นที่สงสัย, ลี้ลับ, |
nihilism | (ไน'อะลิสซึม) n. ลัทธิยกเลิกกฎหมายและองค์กรบริหารทั้งหลาย, คนสงสัยอย่างยิ่งยวด, ลัทธิทำลาย, สภาวะที่ไร้กฎหมาย มีการก่อการร้ายและการปฏิวัติอื่น ๆ , การทำลายสิ้นเชิง., See also: nihilist n., adj. nihilistic adj. |
odds | (ออดซ) n., pl. ความเป็นต่อในการพนัน, โอกาสที่จะเป็นไปได้มากกว่า, ความได้เปรียบ, ปริมาณที่ดีกว่าหรือเหนือกว่า. -at odds ไม่ลงรอยกัน, ไม่เห็นด้วย. -Phr. (by all odds, by long odds, by odds อย่างไม่ต้องสงสัย, แน่นอน, ในทุกกรณี) |
positively | (พอส'ซิทิฟวลี) adv. แน่ชัด, แน่นอน, เด็ดขาด, ไม่ต้องสงสัย interj. คำอุทานแสดงความมั่นใจ |
Nontri Dictionary
askance | (adv) ด้วยความสงสัย, ด้วยความไม่ไว้วางใจ |
askant | (adv) ด้วยความสงสัย, ด้วยความไม่ไว้วางใจ |
distrust | (n) ความเคลือบแคลงใจ, ความไม่ไว้ใจ, ความสงสัย |
distrust | (vt) เคลือบแคลงใจ, ไม่ไว้ใจ, ไม่เชื่อใจ, สงสัย |
distrustful | (adj) เคลือบแคลงใจ, ไม่น่าไว้ใจ, สงสัย, ไม่ไว้วางใจ |
doubt | (n) ความสงสัย, ความไม่แน่ใจ, ความสนเท่ห์, ความคลางแคลงใจ, ความข้องใจ |
doubt | (vt) สงสัย, ไม่ไว้วางใจ, ฉงนสนเท่ห์, แคลงใจ, ข้องใจ, กริ่งเกรง, ไม่แน่ใจ |
doubtless | (adv) อย่างไม่ต้องสงสัย, อย่างแน่นอน |
dubious | (adj) น่าสงสัย, น่าแคลงใจ, คลุมเครือ |
enigma | (n) ปริศนา, ความสงสัย, สิ่งที่น่าฉงนสนเท่ห์, เรื่องลึกลับ |
enigmatic | (adj) เป็นปริศนา, น่าสงสัย, น่าฉงน, พิศวง, ลึกลับ, ซับซ้อน |
enigmatical | (adj) เป็นปริศนา, น่าสงสัย, น่าฉงน, พิศวง, ลึกลับ, ซับซ้อน |
hypothetical | (adj) โดยสมมุติ, ไม่มีเหตุผล, น่าสงสัย |
incredulity | (n) ความไม่เชื่อ, ความไม่เลื่อมใส, ความสงสัย |
indubitable | (adj) เชื่อถือได้, ไม่ต้องสงสัย, แน่นอน |
misgive | (vt) ทำให้แคลงใจ, ทำให้สงสัย, ทำให้หวาดหวั่น |
misgiving | (n) ความแคลงใจ, ความสงสัย, ความหวาดหวั่น |
moot | (adj) เป็นที่สงสัย, เป็นที่ถกเถียง, เป็นทฤษฎี |
mysterious | (adj) ลึกลับ, ลี้ลับ, น่าสงสัย, น่าพิศวง, ประหลาด |
query | (vt) สอบถาม, ถาม, สงสัย, ไต่ถาม |
question | (n) ปัญหา, คำถาม, เรื่อง, ข้อสงสัย, กระทู้, การสอบถาม |
question | (vt) สงสัย, ถาม, ไต่ถาม, ไต่สวน, ตั้งกระทู้, สอบถาม |
questionable | (adj) น่าสงสัย, ที่เป็นปัญหา, มีพิรุธ, ไม่แน่นอน |
sceptic | (n) คนขี้สงสัย, คนช่างระแวง |
sceptical | (adj) ขี้สงสัย, ไม่เชื่อ, ขี้ระแวง |
scepticism | (n) ความสงสัย, ความแคลงใจ, ความระแวง, ความไม่เชื่อ |
shady | (adj) เป็นเงามืด, ในที่ร่ม, สลัว, คลุมเครือ, น่าสงสัย |
skeptic | (n) คนขี้สงสัย, ผู้กังขา |
skeptical | (adj) ขี้สงสัย, ไม่เชื่อ, กังขา |
skepticism | (n) ความแคลงใจ, ความสงสัย, ความกังขา |
suspect | (vt) ระแวง, สงสัย, ข้องใจ |
suspension | (n) ความสงสัย, การพักชั่วคราว, ความใจจดใจจ่อ, การลอยตัว |
suspicion | (n) ข้อพิรุธ, ความสงสัย, ความระแวง, ร่องรอย |
suspicious | (adj) ขี้ระแวง, ขี้สงสัย, มีพิรุธ |
uncertain | (adj) ไม่แน่ใจ, น่าสงสัย, คลุมเครือ |
undoubted | (adj) ไม่เป็นที่สงสัย, ไม่มีปัญหา, แน่นอน |
unquestionable | (adj) ไม่ต้องสงสัย, ไม่มีปัญหา, แน่นอน |
wonder | (vi) ประหลาดใจ, สนเท่ห์, อัศจรรย์ใจ, พิศวง, งงงวย, สงสัย, กังขา |
wonder | (vt) ประหลาดใจ, อัศจรรย์ใจ, สนเท่ห์, พิศวง, งงงวย, สงสัย, กังขา |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
in doubt | (phrase) มีข้อสงสัย |
reservation | ความสงสัย |
Longdo Approved JP-TH
多分 | [たぶん, tabun] (n, adv) คาดว่าจะ, อาจจะ, สงสัยจะ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
疑わしい | [うたがわしい, utagawashii] (adj) ไม่แน่ใจ, สงสัย |
ぼやける | [ぼやける, boyakeru] (vi, vt, adj) (ดิม) { dimmed, dimming, dims } adj. ทึบ, หมอง, สลัว, ไม่สว่าง, พร่า, คลุมเครือ, เลือนราง, เชื่องช้า, ท้อแท้, หมอง, ไม่แจ่มแจ้ง -Phr. (take a dim view of สงสัย, มองในแง่ร้าย) vt., vi. (ทำให้) ทึบ, (ทำให้) หมอง, ทำให้ (เลือนราง) ., S. . dims n., pl. ไฟสลัว, ไฟหรี่ |
疑問 | [ぎもん, gimon] (n) (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, S. . questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. (beyond (all) question ไม่ต้องสงสัย) -Phr. (out of the question เป็นไปไม่ได้) |
疑惑 | [ぎわく, giwaku] ความสงสัย, ความแคลงใจ |
どう考えても | [どうかんがえても, doukangaetemo] โดยไม่ต้องสงสัย |
あやしい | [どうかんがえても, ayashii] (adj) แปลกใจ สงสัย |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
問題 | [もんだい, mondai] TH: คำถาม ข้อสงสัย EN: question |
疑う | [うたがう, utagau] TH: สงสัย EN: to doubt |
Longdo Approved DE-TH
in Frage stellen | ทำให้เป็นที่สงสัยเคลือบแคลง |
verdächtig | (adj, adv) ที่น่าสงสัย เช่น Er sieht verdächtig aus. เขาดูท่าทางน่าสงสัย |
Verdacht | (n) |der, nur Sg.| ความสงสัยว่ามีการกระทำผิด เช่น Er steht im Verdacht, seinen Nachbar zu töten. เขาถูกสงสัยว่าได้ฆาตกรรมเพื่อนบ้าน |
Verdacht | (n) |der, nur Sg.| สถานการณ์ที่กำลังถูกสงสัยอยู่ เช่น Man weiß nicht wo sie ist, aber es besteht Verdacht auf Bangkok. ไม่มีใครรู้ว่าเธอหายไปไหน แต่มีเหตุการณ์ชี้ว่าเธอน่าจะอยู่ที่กรุงเทพฯ |
dubios | (adj) เป็นที่คลุมเคลือ, เป็นที่น่าสงสัย |
vernehmen | (vt) |vernimmt, vernahm, hat vernommen, jmdn.| ตั้งคำถามหรือไต่สวนพยานหรือผู้ต้องสงสัย เช่น Die Polizei vernimmt den Verdächtigen. ตำรวจสอบสวนผู้ต้องสงสัย |
bedenkenlos | (adj, adv) ที่ไม่ต้องคิดมาก, ที่ไม่ต้องสงสัย(ทำได้เลย) เช่น Das Medikament kannst du bedenkenlos einnehmen. Es hat keine Nebenwirkungen. ยานี้เธอกินเข้าไปได้เลยนะ มันไม่มีผลข้างเคียง, Syn. ohne Zweifel |
zweifeln | (vi) |zweifelte, hat gezweifelt, an etw.(D)/jmdm.| สงสัย, เคลือบแคลง เช่น Die Polizei hat an der Aussage des Zeugen gezweifelt. ตำรวจสงสัยคำให้การของพยาน |
zweifelhaft | (adj) |zweifelhafter, zweifelhaftest-| ที่น่าเคลือบแคลงสงสัยหรืออาจผิดกฎหมาย เช่น ein zweifelhaftes Geschäft ธุรกิจที่น่าสงสัย |
zweifellos | (adv) เป็นที่แน่นอนปราศจากความสงสัย, Syn. ohne Zweifel |
skeptisch | [สะ-เค็บ-ทิช] (adj) น่าสงสัย, เป็นที่น่าสงสัย, เป็นที่เคลือบแคลง |
Verdachtsfall | (n) |der, pl. Verdachtsfälle| กรณีต้องสงสัย, กรณีที่เป็นที่น่าสงสัย |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0444 seconds, cache age: 23.002 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม