593 ผลลัพธ์ สำหรับ *ศึกษา*
ภาษา
หรือค้นหา: ศึกษา, -ศึกษา-Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Terms of Reference | (n, phrase) ขอบเขตของงาน, รายละเอียด เงื่อนไขหรือข้อกำหนด, ข้อกำหนดการศึกษา |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
การศึกษาค้นคว้าภาษาอังกฤษโดยอิสระ | (n, phrase) Independent Study in English |
ทัศนศึกษา | (n) field visit |
นักศึกษาวิชาทหาร (นศท.) | (n, phrase) Reserve Officer Training Cops Student (ROTCS) |
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
เงินบำรุงการศึกษา | n. tuition fees |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
สรีระวิทยา | (n) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายว่าเกิดอะไรขึ้น, respiration, See also: S. osmoregulation, photosynthesis, A. transpiration, translocation, R. metabolism |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ศึกษา | (v) study, See also: learn, Syn. เรียน, เล่าเรียน, ศึกษาเล่าเรียน, เรียนรู้ |
ศึกษา | (v) study, See also: learn, read up, mug up, cram, Syn. เรียน, เล่าเรียน, Example: เจนเนอรัลมอเตอร์สได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าเกาหลีใต้เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการซื้อกิจการบริษัทรถยนต์, Thai Definition: ฝึกฝนและอบรมเพื่อที่จะให้รู้หรือให้ประสบผลสำเร็จ |
พลศึกษา | (n) physical education, Syn. วิชาพลศึกษา, Example: ในโรงเรียนบางแห่ง ครูกับนักเรียนลงสนามฝึกพลศึกษาด้วยกัน, Count Unit: วิชา, Thai Definition: การศึกษาในทางบำรุงกายโดยวิธีออกกำลัง |
สหศึกษา | (n) coeducation, See also: co-ed, Example: พ่อของเขาให้อยู่โรงเรียนที่เป็นสหศึกษามาตลอดตั้งแต่เล็กจนโต, Thai Definition: การศึกษาที่ให้นักเรียนหญิงและนักเรียนชายเรียนรวมกันในสถานศึกษาเดียวกัน |
การศึกษา | (n) education, See also: study, learning, Syn. การเรียน, การเล่าเรียน, การเรียนรู้, การศึกษาเล่าเรียน, การหาความรู้, Example: การศึกษาในมหาวิทยาลัยทำให้ความคิดของเขาเปลี่ยนไปมาก |
นักศึกษา | (n) student, See also: learner, pupil, scholar, disciple, undergraduate, Syn. นิสิต, Example: นักศึกษารวมตัวกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเพื่อประท้วงระบบของรัฐบาล, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการหรือมีความรู้ตามที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า ซึ่งเข้ารับการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา |
ภาคศึกษา | (n) school year, See also: academic year, Example: ในภาคศึกษาหนึ่งนักศึกษาจะต้องเสียค่าประกันอุบัติเหตุเป็นจำนวนเงิน 1, 000 บาท, Count Unit: ภาค, Thai Definition: ช่วงระยะเวลา 12 เดือนที่สถานศึกษาเปิดทำการสอนถือเป็น 1 ภาคศึกษา |
สุขศึกษา | (n) hygiene, See also: health education, Syn. สุขวิทยา, Thai Definition: การศึกษาที่ว่าด้วยกระบวนการที่เกี่ยวกับสุขภาพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สุขศึกษา | (n) hygiene, See also: health education, Syn. สุขวิทยา, Thai Definition: การศึกษาที่ว่าด้วยกระบวนการที่เกี่ยวกับสุขภาพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
เพศศึกษา | (n) sex education, See also: sexual education, sexology, Example: ในโรงเรียนควรมีการสอนเรื่องเพศศึกษา เพื่อเป็นการสอนแนวทางชีวิตที่เป็นจริงในสังคม, Thai Definition: วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเรื่องทางเพศ |
กรณีศึกษา | (n) case study, Example: เทคนิคที่พัฒนาขึ้นนับว่าน่าสนใจอย่างยิ่งควรที่จะนำกรณีศึกษานี้มาเผยแพร่, Count Unit: เรื่อง, กรณี, Thai Definition: เทคนิคในการสอน โดยมีพื้นฐานอยู่ที่การเลือกเหตุการณ์จากสถานการณ์ที่เป็นจริง เพื่อที่จะคิดหาทางแก้ไขที่เป็นไปได้ต่อไป |
จริยศึกษา | (n) moral education, See also: ethical education, Syn. วิชาศีลธรรม, Example: เด็กๆ ควรได้รับความรู้เรื่องจริยศึกษาเพื่อจะได้ปฏิบัติตนให้เป็นคนดีของสังคมได้, Thai Definition: การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติ และการปฏิบัติตนเพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม |
ทัศนศึกษา | (v) field trip, See also: visual education, educational tour, Example: อาจารย์พานักเรียนไปทัศนศึกษาที่เขาพนมรุ้ง, Thai Definition: ท่องเที่ยวเพื่อแสวงหาความรู้ |
สถานศึกษา | (n) school, See also: establishment for education, Syn. โรงเรียน |
สถานศึกษา | (n) school, See also: academy, college, seminary, institute, institution, Syn. โรงเรียน, Example: ขณะนี้สถานศึกษากำลังประสบปัญหาขาดแคลนครูอยู่มาก, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: สถานที่ให้การศึกษา |
หัตถศึกษา | (n) handicraft education, Example: กระทรวงศึกษาธิการบรรจุวิชาหัตถศึกษาให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษา, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยมือ |
หัตถศึกษา | (n) handicraft, See also: handcraft, Example: กระทรวงศึกษาธิการบรรจุวิชาหัตถศึกษาให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษา, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยมือ |
อุดมศึกษา | (n) higher education, See also: undergraduate study, graduate study, university education, college education, Example: หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยม นักเรียนหลายคนต้องการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา, Thai Definition: การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา |
อุดมศึกษา | (n) higher education, See also: undergraduate study, graduate study, university education, college education, Example: หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยม นักเรียนหลายคนต้องการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา, Thai Definition: การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา |
กรมพลศึกษา | (n) Department of Physical Education, Example: กรมพลศึกษาได้รับนักเรียนพลศึกษาเพิ่ม |
ประถมศึกษา | (n) elementary education, See also: primary education, Example: เขาเรียนจบแค่ชั้นประถมศึกษาเท่านั้น |
ปีการศึกษา | (n) academic year, See also: school year, Example: สถาบันเอชียตะวันออกศึกษาจะเปิดสอนวิชาภาษาเกาหลีในปีการศึกษา 2545, Count Unit: ปี, Thai Definition: ช่วงเวลาที่สถานศึกษาทำการสอนในรอบหนึ่งปี |
มัธยมศึกษา | (n) secondary education, See also: high school education, Syn. ม., มัธยม, Example: พ่อสำเร็จมัธยมศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ค่อยสันทัด, Thai Definition: การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา |
วิทยุศึกษา | (n) educational radio service, Syn. รายการวิทยุศึกษา, Example: สมาคมฯ เผยแพร่การจัดทำภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ทางวิทยุศึกษาทุกวันเสาร์-อาทิตย์ |
ศึกษาธิการ | (n) Ministry of Education, Syn. กระทรวงศึกษาธิการ, Example: หนังสือฉบับนี้เป็นหนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการได้จัดพิมพ์ขึ้น, Thai Definition: ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา การศาสนา และการวัฒนธรรม |
ศึกษาธิการ | (n) superintendent, See also: education officer, Example: เขาไปหาศึกษาธิการให้ช่วยเรื่องฝากลูกเข้าเรียน, Thai Definition: ผู้ที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา การศาสนา และการวัฒนธรรม |
ศึกษาวิจัย | (v) research, Syn. วิจัย |
สังคมศึกษา | (n) social studies, Example: เด็กๆ ส่วนใหญ่มักจะละทิ้งภาษาไทยและสังคมศึกษา จะไปเน้นที่ภาษาอังกฤษและเลขมากกว่า, Count Unit: วิชา, Thai Definition: หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม |
สามัญศึกษา | (n) elementary education, See also: general education, Ant. วิสามัญศึกษา, Example: ในระบบการศึกษานั้น จะมีแต่ระบบสามัญศึกษาอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมีวิสามัญศึกษาสอนวิชากสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการด้วย, Thai Definition: การเรียนวิชาทั่วไป |
อาชีวศึกษา | (n) vocational education, See also: vocational training, Example: จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้อัตราการว่างงานเพิ่มสูงขึ้น, Thai Definition: การศึกษาที่มุ่งไปในทางช่างฝีมือ |
ขาดการศึกษา | (v) be uneducated, Syn. ไม่มีการศึกษา, ไร้การศึกษา, Ant. มีการศึกษา, Example: ประชาชนในชนบทยังขาดการศึกษาอยู่มาก, Thai Definition: ไม่ได้เรียนหนังสือหรือเรียนมาน้อย |
ชุดนักศึกษา | (n) school uniform, See also: student's uniform, Syn. ฟอร์มนักศึกษา, Example: เธออยู่ในชุดนักศึกษาเดินมากับดอกกุหลายสีแดงกำโต |
ทุนการศึกษา | (n) scholarship, See also: education fund, Syn. ทุนเล่าเรียน, Example: รัฐบาลมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กในชนบท, Count Unit: ทุน |
นักการศึกษา | (n) educator, See also: pedagogue, instructor, principal, educationist, Example: ปัจจุบันนักการศึกษามุ่งสนใจพัฒนาการเด็กให้สามารถใช้สติปัญญาของเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา |
ศึกษาศาสตร์ | (n) education science, Example: พี่สาวของเขากำลังเรียนศึกษาศาสตร์อยู่ปีสุดท้าย, Thai Definition: การศึกษาที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน |
วุฒิการศึกษา | (n) educational background, Thai Definition: คนที่มีหน้าที่ดูแลทำความสะอาด หรือดูแลความเรียบร้อย |
สื่อการศึกษา | (n) learning aid, See also: study aid, Syn. สื่อการเรียนการสอน, Example: การเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ต้องมีสื่อการศึกษาที่ดี จึงจะทำให้เด็กเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ, Count Unit: สื่อ, Thai Definition: วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา |
โสตทัศนศึกษา | (n) audiovisual education, Example: เขาพยายามเข้าไปมีบทบาท ในแผนกโสตทัศนศึกษาของวิทยาลัย |
กรมสามัญศึกษา | (n) Department of General Education, See also: Elementary and Adult Education Department, Example: ปีนี้ทางกรมสามัญศึกษารับนักเรียนได้อีก 60, 000 คน, Count Unit: กรม |
กรมอาชีวศึกษา | (n) Department of Vocational Education |
กรมอาชีวศึกษา | (n) Department of Vocational Education, Example: กรมอาชีวศึกษาประกาศรับสมัครอาจารย์วุฒิตรี-โท หลายตำแหน่ง |
สถิติการศึกษา | (n) educational statisics, Example: สถิติการศึกษาของคนไทยในปัจจุบันระบุว่า คนไทยมีการศึกษาสูงขึ้น |
ไม่มีการศึกษา | (v) be uneducated, See also: be illiterate, be ignorant, Syn. การศึกษาต่ำ, ไม่มีคุณวุฒิ, ไร้การศึกษา, Example: คนพวกนี้ไม่มีการศึกษาอธิบายไปก็ไม่เข้าใจเสียเวลาเปล่าๆ, Thai Definition: ไม่ได้เรียนหนังสือตามเกณฑ์ที่กำหนด |
คณะศึกษาศาสตร์ | (n) Faculty of Education, Count Unit: คณะ |
ชั้นมัธยมศึกษา | (n) secondary school level, See also: secondary education level, high school level, Syn. มัธยมศึกษา, Example: ชั้นมัธยมศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคคือ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นกับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
ศึกษาเล่าเรียน | (v) study, See also: learn, Syn. เรียน, เล่าเรียน, ศึกษา |
สถาบันการศึกษา | (n) educational institution, Example: การแก้ปัญหาความมักง่ายเห็นแก่ตัวต้องแก้ที่สถาบันการศึกษา ครอบครัว ฯลฯ, Count Unit: แห่ง |
สำเร็จการศึกษา | (v) graduate, Syn. เรียนจบ, Example: พระองค์ท่านทรงสำเร็จการศึกษาอักษรศาสตร์บัณฑิต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Thai Definition: เรียนได้ครบตามหลักสูตรที่กำหนด |
การศึกษานอกระบบ | (n) nonformal education, Example: การศึกษานอกระบบยังไม่ค่อยได้ผลดีเท่าที่ควร |
พื้นฐานการศึกษา | (n) foundation of education, See also: educational foundation, Example: คนงานพวกนี้มีพื้นฐานการศึกษาต่ำ จะไปรู้เรื่องอะไร, Thai Definition: ระดับการศึกษาที่ได้เล่าเรียนมา |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คุรุศึกษา | น. การเล่าเรียนวิชาครู. |
จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. |
ทัศนศึกษา | ก. ท่องเที่ยวเพื่อแสวงหาความรู้. |
ทัศนศึกษา | น. การเรียนรู้ด้วยการดูการเห็น, การศึกษานอกสถานที่. |
นักศึกษา | น. ผู้ที่ศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า. |
ปีการศึกษา | น. ช่วงเวลาที่สถานศึกษาทำการสอนในรอบ ๑ ปี. |
พลศึกษา | (พะละ-) น. การศึกษาที่จะนำไปสู่ความเจริญงอกงามและพัฒนาการทางร่างกาย. |
พุทธิศึกษา | น. การศึกษาที่เน้นในเรื่องการสอนให้เกิดความรู้ความคิดอย่างมีเหตุผล. |
มัธยมศึกษา | (มัดทะยมมะ-, มัดทะยม-) น. การศึกษาระหว่างประถมศึกษากับอุดมศึกษา. |
ศิลปศึกษา | น. วิชาว่าด้วยการเรียนการสอนศิลปะ เช่น ทฤษฎีศิลป์ ประวัติศาสตร์ศิลป์. |
ศึกษา | น. การเล่าเรียน ฝึกฝน และอบรม. |
ศึกษาธิการ | น. เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่ดูแลควบคุมเกี่ยวกับการศึกษาระดับอำเภอ จังหวัด และเขตการศึกษา เรียกว่า ศึกษาธิการอำเภอ ศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการเขต, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศึกษา. |
ศึกษานิเทศก์ | น. ผู้ชี้แจงแนะนำทางการศึกษาแก่ครูอาจารย์ในโรงเรียนหรือวิทยาลัย. |
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน | น. สถานศึกษาของเอกชนที่ให้การศึกษาระดับปริญญาแก่บุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไป. |
สหศึกษา | น. การศึกษาที่ให้นักเรียนชายและหญิงเรียนรวมในสถานศึกษาเดียวกัน. |
สังคมศึกษา | (สังคมมะ-, สังคม-) น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม. |
สารัตถศึกษา | น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. |
สื่อการศึกษา | น. วิธีการ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้เป็นสื่อในการศึกษา. |
สุขศึกษา | น. การศึกษาที่ว่าด้วยกระบวนการที่เกี่ยวกับสุขภาพ. |
หัตถศึกษา | น. การศึกษาที่เน้นในเรื่องการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ ด้วยมือ. |
อาชีวศึกษา | น. การศึกษาที่มุ่งไปในทางช่างฝีมือ. |
อุดมศึกษา | (อุดมมะ-, อุดม-) น. การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา. |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
กลศาสตร์ | (กนละ-) น. วิชาฟิสิกส์สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระทำของแรงต่อเทหวัตถุ และผลที่เกิดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้นภายหลังที่ถูกแรงมากระทำ. |
กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
กางเกงเล | น. กางเกงแบบชาวประมง เป็นกางเกงที่ตัดแบบกางเกงขาก๊วยหรือกางเกงแพร ใช้ผ้าฝ้ายสีต่าง ๆ เช่น นักศึกษาสมัยนี้ชอบนุ่งกางเกงเลเวลาทำกิจกรรมกัน. |
กายภาพ | ว. เกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีชีวิต, เกี่ยวกับสสารและพลังงาน, เช่น วิทยาศาสตร์กายภาพ ศึกษาเกี่ยวกับสสารและพลังงาน |
กายภาพ | เกี่ยวกับลักษณะตามธรรมชาติของโลก เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของผิวดิน บรรยากาศ อากาศ พืช และสัตว์ในถิ่นต่าง ๆ. |
กายวิภาคศาสตร์ | (-วิพากคะสาด) น. วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. |
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล | น. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน. |
ขึ้นทะเบียน | ก. เอาเข้าไว้ในทะเบียน เช่น ขึ้นทะเบียนนักศึกษา ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน. |
คงแก่เรียน | ว. ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก. |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
ค้นพบ | ก. ศึกษาค้นคว้าหรือค้นหาจนได้ความจริงหรือสิ่งที่ยังไม่เคยมีการพบมาก่อน. |
ครุศาสตร์ | (คะรุสาด) น. วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น. |
คลื่นลูกใหม่ | น. คนรุ่นใหม่ที่มีการศึกษาและมีความคิดก้าวหน้าที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ แทนคนรุ่นเก่า. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
ความรู้สึกไว | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. |
คุณวุฒิ | (คุนนะวุดทิ, คุนนะวุด) น. ความรู้ความสามารถของบุคคล, ระดับการศึกษา, เช่น เขามีคุณวุฒิเหมาะจะเป็นครู. |
คู่มือ | น. สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง. |
เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. |
เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. |
เครดิต | ตัวเลขแสดงสิทธิที่นิสิตนักศึกษาและนักเรียนจะพึงได้รับเมื่อได้ศึกษาตรงตามกำหนดเวลาและสอบผ่านวิชานั้น ๆ, หน่วยกิต ก็เรียก. |
เคลื่อนไหว | แสดงกิริยาหรือปฏิกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักศึกษาเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าต่างประเทศ. |
แคลคูลัส | (แคน-) น. คณิตศาสตร์ชั้นสูงแขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับค่าของจำนวนที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา แบ่งออกเป็น แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ และแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล. |
โครงการตามพระราชประสงค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้เกิดขึ้น โดยทรงศึกษาทดลองปฏิบัติด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เมื่อทรงศึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญและทดลองจนได้ผลสรุปที่ดี และทรงมั่นพระราชหฤทัยว่าเป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลหรือผู้สนใจรับไปดำเนินงานต่อ แบ่งเป็นโครงการทดลองในเขตพระราชฐาน และโครงการทดลองนอกเขตพระราชฐาน. |
โครงการพระดาบส | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริให้มีสถานที่สอนความรู้วิชาชีพต่าง ๆ เช่น วิชาช่างไฟฟ้า วิชาช่างเครื่องยนต์ วิชาช่างวิทยุโทรทัศน์ ให้แก่บุคคลทั่วไป โดยไม่จำกัด เพศ วัย และวุฒิการศึกษา โดยครูที่มีความรู้และยินดีอาสาสมัครสอนให้เป็นวิทยาทาน เปรียบเสมือนพระดาบสในสมัยโบราณที่มีกุศลศรัทธาที่จะถ่ายทอดศิลปศาสตร์ให้แก่ลูกศิษย์ โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ เริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ต่อมาได้จดทะเบียนเป็นโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส และจัดตั้งเป็นมูลนิธิพระดาบสเพื่อส่งเสริมการดำเนินงานของโครงการพระดาบส และกิจการของโรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส. |
โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. |
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาทดลองงานทางด้านการเกษตร ภายในบริเวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนำมาเป็นแบบอย่างสำหรับปฏิบัติตามหรือปรับปรุงแก้ไขในการประกอบอาชีพของราษฎร แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ โครงการไม่ใช่ธุรกิจ เช่น บ่อเพาะเลี้ยงปลานิล ป่าไม้สาธิต นาข้าวทดลอง และโครงการกึ่งธุรกิจ เช่น โรงงานผลิตและแปรรูปนมสดครบวงจร โรงสีข้าว. |
จริย- | (จะริยะ-) น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคำสมาส เช่น จริยศึกษา. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
professional school | โรงเรียนวิชาชีพ, สถานศึกษาวิชาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
policy studies | นโยบายศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
post-graduate student | นักศึกษาบัณฑิตศึกษา [ ดู graduate student ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
population studies | การศึกษาประชากร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
pre-school education | อนุบาลศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
private education | การศึกษาเอกชน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
primary education | ประถมศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
primary school | โรงเรียนประถมศึกษา [ ดู elementary school ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
prospective study; study, cohort | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public education | การศึกษาของรัฐ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
level of education | ระดับการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
level of enrollment | ระดับการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
retrospective study | การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ case control ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
structural-functional approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างและหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
studies, analytical | การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
studies, area | ภูมิภาคศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
studies, country | ประเทศศึกษา, การศึกษารายประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
study | งานศึกษา [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
study cast | ชิ้นหล่อศึกษา [ มีความหมายเหมือนกับ diagnostic cast และ study model ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
study model | แบบจำลองศึกษา [ มีความหมายเหมือนกับ diagnostic cast และ study cast ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
study, case | กรณีศึกษา, คดีศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
study, cohort; study, prospective | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
study, doubled blind cross-over | การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
study, prospective; study, cohort | การศึกษาตามแผน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
student | นักศึกษา, นิสิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
secondary school | โรงเรียนมัธยมศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
scholarship holder | ผู้รับทุนการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
secondary education | มัธยมศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
subjective approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงจิตวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
study, retrospective | การศึกษาย้อนหลัง [ มีความหมายเหมือนกับ case control ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
school attendance, compulsory | การเข้าศึกษาภาคบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
school fees insurance | การประกันชีวิตเพื่อการศึกษา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
officer, attendance; officer, truant | สารวัตรศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
officer, truant; officer, attendance | สารวัตรศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
objective approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงวัตถุวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
angiography | ๑. การบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหรือหลอด น้ำเหลือง๒. ตำราว่าด้วยหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง๓. การศึกษาหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analytical studies | การศึกษาเชิงวิเคราะห์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach | ๑. แนวเข้าสู่การศึกษา๒. การทาบทาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, functional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, normative | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, objective | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงวัตถุวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, structural-functional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงโครงสร้างและหน้าที่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, subjective | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงจิตวิสัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
approach, traditional | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงประเพณี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
area studies | ภูมิภาคศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
attendance officer; truant officer | สารวัตรศึกษา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
qualifying examination | การสอบคุณสมบัติ (ในระดับบัณฑิตศึกษา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mean length of education | ระยะเวลาศึกษาโดยเฉลี่ย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
method of extinct generations | วิธีศึกษาการสิ้นสุดของรุ่นวัย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
change of track | การเปลี่ยนสายการศึกษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์เอาระเบียบวิธีการ แนวความคิดต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนผลิตผลอันเกิดจากผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Interaction Model | การศึกษาแบบจำลองการปฏิสัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Academic library | ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Educational Technology | เทคโนโลยีการศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
College librarian | บรรณารักษ์หัองสมุดสถาบันอุดมศึกษา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library use studies | การศึกษาการใช้ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Educational technologist | นักเทคโนโลยีทางการศึกษา [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Library and continuing education | ห้องสมุดกับการศึกษาต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Agricultural education | ศึกษาศาสตร์การเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Future study | การศึกษาภาวะเศรษฐกิจในอนาคต [เศรษฐศาสตร์] |
Consumer education | การศึกษาเพื่อผู้บริโภค [เศรษฐศาสตร์] |
Preinvestment study | การพิจารณาศึกษาก่อนการลงทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Economics of education | เศรษฐศาสตร์การศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Educational financing | การจัดหาเงินทุนเพื่อการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Educational efficiency | ประสิทธิภาพทางการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Equity in education | สมธรรมทางการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Student loan | เงินกู้สำหรับนักศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Student tour | ทัศนาจรเพื่อการศึกษา [เศรษฐศาสตร์] |
Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Single Photon Emission Computed Tomography | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก, Example: [นิวเคลียร์] |
Single Photon ECT | สเป็กต์, เทคนิคการถ่ายภาพด้วยวิธีกราดวิเคราะห์ โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีเข้าไปในกระแสเลือด ใช้มากในการศึกษาสารส่งผ่านประสาท (neurotransmitter) แต่ก็สามารถใช้ตรวจวินิจฉัยระบบอวัยวะใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับเภสัชภัณฑ์รังสีที่ใช้ซึ่งมีครึ่งชีวิตยาวกว่าที่ใช้กับเพ็ต จึงไม่จำเป็นต้องมีไซโคลทรอนอยู่ด้วยกัน อย่างไรก็ตาม สเป็กต์มีความละเอียดในการวิเคราะห์ต่ำกว่าเพ็ตมาก [นิวเคลียร์] |
Radioecology | นิเวศวิทยารังสี, การศึกษาผลกระทบของสารกัมมันตรังสีที่มีในธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นต่อระบบนิเวศ สารกัมมันตรังสีอาจมีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีของตัวมันเอง และมีวัฏจักรการเคลื่อนย้ายในระบบนิเวศภายในกลุ่มหรือระหว่างกลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต (หิน ดิน น้ำ และอากาศ) ในสภาวะแวดล้อมต่างๆ กัน เข้าสู่ห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต ส่งผลกระทบทางชีววิทยาและการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ [นิวเคลียร์] |
Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
Radiation entomology | กีฏวิทยารังสี, วิชากีฏวิทยาแขนงหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของรังสีต่อแมลง ได้แก่ การใช้รังสีเพื่อกำจัดแมลงในผลผลิตการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว เพื่อควบคุมประชากรแมลงโดยปล่อยแมลงที่เป็นหมันด้วยรังสีไปในธรรมชาติ และเพื่อปรับปรุงผลผลิตของแมลงที่มีประโยชน์ เช่น ปรับปรุงคุณภาพและผลผลิตไหม <br>(ดู radiation disinfestation, sterile insect technique, radiation induced F1-sterility ประกอบ) </br> [นิวเคลียร์] |
Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] |
intelligent island | วิสัยทัศน์ของประเทศสิงคโปร์ตามแผน Vision 2000 ที่จะมีการนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในทุกระบบทั้งที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การปกครอง ภาคธุรกิจ การสาธารณสุข การศึกษา และอื่นๆ ของประเทศสิงคโปร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Educational technology | เทคโนโลยีทางการศึกษา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
้heuristics | ศึกษาสำนึก, Example: วิธีการแก้ปัญหาแบบหนึ่งซึ่งไม่ใช้วิธีสำรวจลู่ทางการคำนวณทุกอย่างจนครบเสียก่อนแต่ใช้วิธีคาดคะเนว่าอะไรน่าจะดีที่สุดแล้วทำไปตามนั้น [คอมพิวเตอร์] |
integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] |
Individualized Education plan | แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล, แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษ (special needs) ของคนพิการแต่ละคน (ซึ่งไม่เหมือนกัน) ตลอดจนกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา [Assistive Technology] |
interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] |
Simulation | การจำลองแบบเสมือน, เป็นการจำลองสถานการณ์โดยใช้สูตรคณิตศาสตร์ สถิติและแคลคูลัส เพื่อให้การคำนวณในสิ่งที่ศึกษามีผลลัพท์ตรงกับหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง [Assistive Technology] |
Virtual university | มหาวิทยาลัยเสมือนจริง, มหาวิทยาลัยเสมือนจริง คือ การศึกษาแนวใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีลักษณะเป็นการสร้างฐานความรู้ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Knowledge-based Learning Organization) ที่ใครก็ได้สามารถเรียนรู้จากแหล่งใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้ [Assistive Technology] |
Gamma field | ไร่รังสีแกมมา, พื้นที่ที่มีอาณาบริเวณกว้างขวาง และติดตั้งเครื่องฉายรังสีแกมมาอยู่ตรงกลาง ใช้สำหรับปลูกพืชไร่ พืชสวน ไม้ดอก และไม้ประดับ เพื่อศึกษาผลของรังสีแกมมาปริมาณต่ำที่พืชได้รับอย่างสม่ำเสมอ [นิวเคลียร์] |
Gamma greenhouse | เรือนรังสีแกมมา, เรือนเพาะเลี้ยงพืชที่มีหลังคาโปร่งแสง บริเวณตรงกลางเรือนหรือด้านใดด้านหนึ่งของห้องติดตั้งเครื่องฉายรังสีแกมมา มีกำแพงคอนกรีตหนาเพื่อป้องกันไม่ให้รังสีออกสู่ภายนอก และมีเครื่องควบคุมการฉายรังสีอยู่ด้านนอก ใช้สำหรับศึกษาผลของรังสีต่อพืชและการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ โดยให้พืชที่ปลูกในกระถางได้รับรังสีปริมาณต่ำอย่างสม่ำเสมอเป็นเวลานาน [นิวเคลียร์] |
อิเล็กทรอนิกส์ | วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งที่นำมาประยุกต์ใช้กับการศึกษาวงจรไฟฟ้าที่ใช้สารกึ่งตัวนำและอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งควบคุมการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ อิเล็กทรอนิคส์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Women's studies | สตรีศึกษา [TU Subject Heading] |
Ability grouping in education | การจัดกลุ่มตามความสามารถทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic achievement | ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic costume | เครื่องแบบในสถานศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic costume | เครื่องแบบในสถานศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic costume | เครื่องแบบในสถานศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic decoration of honor | เครื่องหมายประกาศเกียรติคุณของสถาบันการศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic librarians | บรรณารักษ์ห้องสมุดระดับอุดมศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic libraries | ห้องสมุดระดับอุดมศึกษา [TU Subject Heading] |
Academic medical centers | ศูนย์การแพทย์ระดับอุดมศึกษา [TU Subject Heading] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อาชีวศึกษา | [āchīwaseuksā] (n) EN: vocational education ; vocational training FR: enseignement professionnel [ m ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ | [chan matthayomseuksā pī thī hā] (xp) FR: cinquième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de cinquième année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ | [chan matthayomseuksā pī thī hok] (xp) FR: sixième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de sixième année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ | [chan matthayomseuksā pī thī neung] (xp) FR: première année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de première année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ | [chan matthayomseuksā pī thī sām] (xp) FR: troisième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de troisième année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ | [chan matthayomseuksā pī thī sī] (xp) FR: quatrième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de quatrième année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ | [chan matthayomseuksā pī thī søng] (xp) FR: deuxième année de l'enseignement secondaire [ f ] ; classe de deuxième année de l'enseignement secondaire [ f ] |
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ | [chan prathomseuksā pī thī hok] (xp) FR: sixième année de l'enseignement primaire [ f ] ; classe de sixième année de l'enseignement primaire [ f ] |
ได้รับการศึกษา | [dāirap kānseuksā] (v, exp) EN: be educated |
หอพักนักศึกษา | [høphak nakseuksā] (n, exp) FR: foyer d'étudiants [ m ] |
จริยศึกษา | [jariyaseuksā] (n) EN: moral education ; ethical education FR: éducation morale [ f ] |
จิตวิทยาการศึกษา | [jittawitthayā kānseuksā] (n, exp) EN: educational psychology FR: psychologie éducative [ f ] |
จบการศึกษา | [jop kānseuksā] (v, exp) EN: graduate FR: être diplômé ; obtenir son diplôme ; terminer ses études ; sortir de l'université ; sortir de l'école |
การบริหารการศึกษา | [kān børihān kān seuksā] (n, exp) EN: education administration |
การรับเข้าศึกษา | [kān rap khao seuksā] (n) EN: admission FR: admission [ f ] |
การศึกษา | [kānseuksā] (n) EN: education FR: éducation [ f ] ; formation [ f ] ; enseignement [ m ] ; études [ fpl ] ; instruction [ f ] |
การศึกษา | [kānseuksā] (n) EN: study ; learning FR: étude [ f ] ; apprentissage [ m ] |
การศึกษาเบื้องต้น | [kānseuksā beūangton] (n, exp) EN: elementary education ; primary education FR: enseignement élémentaire [ m ] |
การศึกษาเฉพาะกรณี | [kānseuksā chaphǿ karanī] (n, exp) EN: case study |
การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ | [kānseuksā choēng prīepthīep] (n, exp) EN: comparative study |
การศึกษาความเป็นไปได้ | [kānseuksā khwām penpai dāi] (n, exp) EN: feasibility study FR: étude de faisabilité [ f ] |
การศึกษาในระดับอุดมศึกษา | [kānseuksā nai radap udomseuksā] (n, exp) EN: higher education |
การศึกษานำร่อง | [kānseuksā namrǿng] (n, exp) EN: pilot study FR: étude pilote [ f ] |
การศึกษานอกระบบ | [kānseuksā nøk rabop] (n, exp) EN: nonformal education |
การศึกษานอกสถานที่ | [kānseuksā nøk sathānthī] (n, exp) EN: field trip |
การศึกษาภาคสนาม | [kānseuksā phāksanām] (n, exp) EN: field study |
การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย | [kānseuksā radap mahāwitthayālai] (n, exp) EN: university education |
การศึกษาระดับสูง | [kānseuksā radap sūng] (n, exp) EN: advanced education ; advanced study FR: formation de haut niveau [ f ] ; formation supérieure [ f ] |
การศึกษาเรื่องเพศ | [kānseuksā reūang phēt] (n, exp) FR: éducation sexuelle [ f ] |
การศึกษาต่อเนื่อง | [kānseuksā tøneūang] (n, exp) EN: continuous education FR: formation continue [ f ] |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา | [kān wijai choēng patibatkān thāng kānseuksā] (n, exp) EN: action research in education |
กรณีศึกษา | [karanīseuksā] (n) EN: case study |
ขั้นตอนการศึกษา | [khantøn kānseuksā] (n, exp) EN: process of the study |
คอมพิวเตอร์ศึกษา | [khømphiutoē seuksā] (n, exp) EN: computer education FR: enseignement informatique [ m ] |
ขอบเขตของการศึกษา | [khøpkhēt khøng kānseuksā] (n, exp) EN: scope of the study ; delimitation of the study |
ครูประถมศึกษา | [khrū prathomseuksā] (n, exp) EN: elementary school teacher |
คุณภาพการศึกษา | [khunnaphāp kānseuksā] (n, exp) EN: education quality FR: qualité de l'enseignement [ f ] |
กลุ่มศึกษา | [klum seuksā] (n, exp) EN: study group |
กฎหมายการศึกษา | [kotmāi kānseuksā] (n, exp) EN: education laws FR: loi sur l'éducation [ f ] |
กระทรวงศึกษาธิการ | [Krasūang Seuksāthikān] (org) EN: Ministry of Education FR: ministère de l'Éducation [ m ] |
กรมอาชีวศึกษา | [Krom Āchīwaseuksā] (org) EN: Vocational Education Department |
กรมสามัญศึกษา | [Krom Sāmanseuksā] (org) EN: Department of General Education |
ไม่มีการศึกษา | [mai mī kānseuksā] (v, exp) EN: be uneducated ; be illiterate ; be ignorant FR: manquer d'éducation |
มัธยมศึกษา | [matthayomseuksā] (n, exp) EN: secondary education ; secondary ; high school education FR: enseignement secondaire [ m ] |
มัธยมศึกษาตอนปลาย | [matthayomseuksā tønplāi] (n, exp) EN: high school education |
มัธยมศึกษาตอนต้น | [matthayomseuksā tønton] (n, exp) EN: secondary education ; secondary school |
มีการศึกษา | [mī kānseuksā] (adj) EN: educative ; educated FR: instructif |
นักการศึกษา | [nak kānseuksā] (n) EN: educationist ; educationalist ; educator (Am.) ; academic FR: éducateur [ m ] ; éducatrice [ f ] ; pédagogue [ m ] |
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา | [nakrīen radap chan prathomseuksā] (n, exp) FR: les écoliers du primaire [ mpl ] |
นักศึกษา | [nakseuksā] (n) EN: student ; university student ; academic ; learner ; scholar ; undergraduate FR: étudiant [ m ] ; étudiante [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
educational supervisor | (n) ศึกษานิเทศก์ |
student loan | (n) เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา(โดยทั่วไป ในระดับอุดมศึกษา) เช่น Did you apply for a student loan? |
distance learning | (n) การศึกษาทางไกล เช่น การเรียนผ่านสื่อเช่นโทรทัศน์หรืออินเทอร์เน็ต ไม่ได้ไปโรงเรียนและเข้าเรียนในห้องเรียนตามปกติ |
final examination | (n) สอบไล่ (การสอบปลายภาคการศึกษา) |
NEET | (n) คนวัยหนุ่มสาวที่อยู่เฉย ไม่กระตือรือร้นที่จะรับการศึกษาหรือทำงาน ย่อมาจากคำว่า 'Not in Education, Employment, or Training' |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) |
CERIAS | (n) ศูนย์การศึกษาและวิจัย ด้านการรับรองและรักษาความปลอดภัยด้านข้อมูล ย่อมาจาก The Center for Education and Research in Information Assurance and Security |
physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา |
entomologist | (n) ผู้ทำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลง |
anthropogenic | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องการกำเนิดและการวิวัฒนาการของมนุษย์, ที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ เช่น The anthropogenic contribution to greenhouse gas has been established as an infinitesimally small amount., See also: anthropogenetic |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
temperature mapping | [เทมเพอราเชอร์ แมปปิง] (n) การศึกษาอุณหภูมิโดยการวางเครื่องวัดอุณหภูมิตามจุดวิกฤต |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
academic | (n) อาจารย์หรือนักศึกษามหาวิทยาลัย |
academy | (n) โรงเรียน, See also: สถานศึกษา, สถาบันการศึกษา, วิทยาลัยเฉพาะด้าน |
adult education | (n) การศึกษานอกเวลางาน, See also: การศึกษาผู้ใหญ่, การศึกษาแบบต่อเนื่อง, การศึกษาเพิ่มเติม, Syn. continuing education |
aerography | (n) การศึกษาสภาพอากาศหรือบรรยากาศ |
aeronautical | (adj) ที่เกี่ยวกับการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบหรือสร้างเครื่องบิน |
aeronautics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบหรือสร้างเครื่องบิน |
aerostatics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับก๊าซหรืออากาศธาตุ |
aesthetics | (n) สุนทรียศาสตร์, See also: การศึกษาความงาม, Syn. philosophy of beauty |
aetiology | (n) การศึกษาที่เกี่ยวกับสาเหตุ (โดยเฉพาะของโรค), Syn. etiology |
agrology | (n) วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร |
alma mater | (n) โรงเรียนที่เคยศึกษามา |
analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements |
analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements |
anatomize | (vt) ชำแหละร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาโครงสร้าง |
anatomize | (vi) ชำแหละร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาโครงสร้าง |
angelology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับเทพหรือเทวดา |
anthropology | (n) มานุษยวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในด้านต่างๆ, Syn. science of humans, study of humans |
antiquarian | (n) ผู้ศึกษาโบราณวัตถุ, Syn. antiquary, student of antiquity |
antiquary | (n) ผู้ชำนาญหรือศึกษาทางโบราณวัตถุ, Syn. antiquarian |
astronautics | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเดินทางไปในอวกาศ |
ballistics | (n) การศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: การศึกษาการเคลื่อนไหวของกระสุนปืนและจรวด / ขีปนาวุธ |
biophysics | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้วิธีการทางฟิสิกส์ศึกษาชีววิทยา |
bluestocking | (n) หญิงที่มีการศึกษาดี |
bursary | (n) เงินทุนสำหรับนักศึกษา, Syn. scholarship, grant |
bone up on | (phrv) ศึกษาอย่างหนัก, Syn. mug up, swot up |
bring up | (phrv) เลี้ยงดู, See also: ให้การศึกษา, Syn. drag up, fetch up |
brush up | (phrv) (ศึกษา)ปรับปรุง, Syn. polish up, rub up |
campanology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับระฆังและศิลปะของเสียงระฆัง |
cardiology | (n) การศึกษาศาสตร์ที่เกี่ยวกับหัวใจ |
case study | (n) การศึกษา, Syn. case |
case | (n) คนหรือสิ่งที่เป็นกรณีศึกษา, Syn. subject |
civics | (n) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิทธิหน้าที่ของพลเมือง |
civilise | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilize, cultivate |
civilize | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilise, cultivate |
classicist | (n) ผู้ที่ศึกษาวัฒนธรรมกรีกและโรมันโบราณ |
clerisy | (n) กลุ่มคนที่มีการศึกษา, See also: กลุ่มปัญญาชน |
coed | (adj) ที่เป็นสหศึกษา, See also: ที่ผู้หญิงและชายเรียนร่วมกัน |
coeducation | (n) สหศึกษา, Syn. co-education |
collegial | (adj) ที่เกี่ยวกับนักศึกษา |
collegian | (n) นักศึกษาของวิทยาลัย |
commencement | (n) การพบปะของผู้สำเร็จการศึกษา |
common room | (n) ห้องโถงพักผ่อนของนักศึกษา |
commoner | (n) นักศึกษาที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเอง (เนื่องจากไม่ได้รับทุน) |
con | (vt) ศึกษา, See also: เรียนรู้ |
cosmogony | (n) การศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดของจักรวาล |
cosmology | (n) จักรวาลวิทยา, See also: การศึกษาเกี่ยวกับจักรวาล |
cryptography | (n) การศึกษาเกี่ยวกับรหัสสัญญาณ |
cultivate | (vt) ฝึกฝน, See also: ให้การศึกษา, ปลูกฝัง, Syn. nurture, educate, teach |
cultivation | (n) ลักษณะที่มีการศึกษา, See also: การมีความรู้, Syn. sophistication |
drop in | (phrv) ไม่เข้าร่วม (ระบบสังคมหรือการศึกษา) |
Hope Dictionary
abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน |
academy | (อะแคด' ดิมี) โรงเรียน, สำนัก, สภา, สถาบันการศึกษา, กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ, สำนักปัญญาปรัชญาของ Plato, วิทยสถาน, Syn. school |
accidence | (แอค' ซิเดินซฺ) n. อักขรวิธี, การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของรูปคำ, Syn. rudiment |
ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
alienism | (เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage) |
alma mater | (อาล' มะมา' เทอะ, แอล' มาเม' เทอะ) n. โรงเรียนเดิมที่เคยศึกษามาก่อน, เพลงประจำโรงเรียน |
alumna | (อะลัม' นะ) n., (pl. -nae) นักเรียนเก่าสตรี, นักศึกษาเก่าสตรี |
americanist | (อะเม' ริคันนิสทฺ) n. นักศึกษาเกี่ยวกับเครื่องของอเมริกา (โดยเ) พาะอย่างยิ่งประวัติศาสตร็และภูมิศาสตร์) พวกเชี่ยวชาญวัฒรธรรมหรือภาษาของอินเดียนแดง. -Americanistic adj. (student of America) |
anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด |
antiquarian | (แอนทีแคว' เรียน) adj. เกี่ยวกับการศึกษาโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับหนังสือเก่า ๆ หรือที่หายาก. -antiquarianism n. |
antiquary | (แอน' ทีแควรี่) n. ผู้ชำนาญหรือศึกษาทางโบราณวัตถุ, ผู้สะสมโบราณวัตถุ |
apiology | (เอพิออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับผึ้ง, - apiologist n. (scientific study of bees) |
areology | (อารีออล'โลจี) n. การศึกษาเกี่ยวกับดาวพระอังคาร. -areologic (al) adj. -areologist n. (study of the planet Mars) |
artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
assistantship | (อะซิส'เทินทฺชิพ) n. ทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาเพื่อช่วยศาสตราจารย์ ทำงาน |
assyriology | (อะเซอริออล'โลจี) n. การศึกษาประวัติศาสตร์ภาษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ ของ Assyria -Assyriologist, n. |
auditor | (ออ'ดิเทอะ) n. ผู้ตรวจสอบบัญชี, ผู้ฟัง, นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาที่ไม่เอาคะแนน |
autodidact | (ออ'โทคิแดคทฺ) n. ผู้ศึกษาด้วยตัวเอง (self-taught person) |
bacteriology | (แบคเทียรีออล'โลจี) n. แบคทีเรียวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับเชื้อแบคทีเรีย, See also: bacteriological adj. bacteriologist n. |
ballistics | (บะลิส'ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับขีปนาวุธ, See also: ballistician adj. ดูballistics |
bbs | (บีบีเอส) ย่อมาจาก bulletin board system หรือที่แปลว่า ระบบแผงข่าว เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น บีบีเอสของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
bionics | (ไบออน'นิคซฺ) n. การศึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติงานและการแก้ปัญหาของมนุษย์และสัตว์เพื่อนำไปใช้ผลิตคอมพิวเตอร์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกอื่น ๆ |
biopsy | (ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์, See also: bioptic adj. ดูbiopsy |
booboisie | (บูบวาชี') n. ชนชันที่ไร้การศึกษา |
bookish | (บุค'คิช) adj. ชอบอ่านหนังสือ, ชอบศึกษา, หนอนหนังสือ, เกี่ยวกับหนังสือ, เกี่ยวกับอักษรศาสตร์, See also: bookishness n., Syn. erudite |
booklearned | (บุด'เลิร์นดฺ) adj. ซึ่งเชื่อถือความรู้ในหนังสือ, การศึกษา |
brushup | n. การทบทวนศึกษาใหม่, การตกแต่ง, การทาสีใหม่ |
bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
bursa | (เบอร์'ซะ) n. ถุง, หอพัก, นักศึกษา, See also: bursate adj. ดูbursa -pl. bursae |
bursary | (เบอร์'ซะรี) n. ทุนการศึกษา, ฝ่ายคลังของโบสถ์ |
cacognics | n. การศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการเสื่อมของพันธุ์ |
case study | n. การศึกษาเรื่องราวทีละราย, ประวัติคนไข้ |
casuist | (แคซ'ซูอิสทฺ) n. เจ้าคารม, เจ้าโวหาร, ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา, ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง |
civilian | (ซิวิล'เยิน) n. พลเรือน, นักศึกษากฎหมายแพ่ง |
classicist | (แคลส'ซิซิสทฺ) n. ผู้เลื่อมใสและยึดถือเอกลักษณ์ของคลาสซิค, ผู้ศึกษาเกี่ยวกับคลาสซิค., See also: classicistic adj. ดูclassicist, Syn. classicalist |
clinician | (คลินิช'เชิน) n. นายแพทย์ที่ศึกษาโรคจากคนไข้จริง ๆ, Syn. doctor |
coed | (โค'เอด) n., adj. นักเรียนหญิง (ในโรงเรียนสหศึกษา), Syn. co-ed |
coeducation | n. สหศึกษา. |
college-bred | adj. ซึ่งได้รับการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย |
collegial | (คะลี'เจียล) adj. เกี่ยวกับวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย, นักศึกษาของมหาวิทยาลัย |
commoner | (คอม'มะเนอะ) n. สามัญชน, สมาชิกสภาล่าง, นักศึกษา (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอ๊อคฟอร์ด) ที่ไม่ได้รับทุนช่วยเหลือการศึกษา, ผู้มีกรรมสิทธิ์ร่วม |
computer education | คอมพิวเตอร์ศึกษาหมายถึง การเรียนรู้วิชาทางคอมพิวเตอร์เพียงพอที่จะรู้เรื่องราว ความเป็นมา องค์ประกอบ การใช้ งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวิธีที่จะนำคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้กับงานต่าง ๆ พอ สมควร มีความหมายเหมือน computer appreciation |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer user group | กลุ่มผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึง กลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ บุคคลเหล่านี้มักจะรวมตัวกันเพื่อช่วยกันศึกษาวิธีการใช้ซอฟต์แวร์และเครี่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ประโยชน์สูงสุด บางทีก็จะแบ่งย่อยลงไปเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เฉพาะผู้ที่มีความสนใจใกล้เคียงกันจริง ๆ เช่นแบ่งไปตามชนิดของเครื่องที่ใช้ (พีซี/แมคอินทอช) หรือตามประเภทของโปรแกรมที่ใช้ เช่น ประมวลผลคำ (word processing) , ตารางจัดการ (spreadsheet) บางที ใช้เรียกเพื่อให้ดูต่างจากกลุ่มผู้ที่ขายคอมพิวเตอร์ดู computer vendor group เปรียบเทียบ |
con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
cram | (แครม) { crammed, cramming, crams } vt. ยัด, อัด, กินอย่างตะกละตะกลาม, กินมากเกินไป, ศึกษาอย่างเร่งรีบ, เร่งเรียน, โกหก vi. กินมากเกินไป, กินอย่างตะกละตะกราม, เร่งเรียน, เร่งท่องจำ n. ภาวะที่อัดเต็ม, ภาวะที่ยัดเยียด, Syn. press, pack, crowd |
criminology | (คริมินอล'โลจี) n. อาชญากรรมวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับอาชญากรรมและอาชญากร., See also: criminologic adj. ดูcriminology criminological adj. ดูcriminology criminologist n. ดูcriminology |
decryption | การถอดรหัสลับหมายถึงการถอดรหัส หรือแปลความของรหัส ให้เป็นข้อความที่เข้าใจได้ เช่นรหัส 3716543 มีความหมายว่า เป็นเลขประจำตัวของนักศึกษาที่เริ่มเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2537 อยู่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ดู encryption ประกอบ |
diablerie | (ดิอา' บละรี) n. การศึกษาเกี่ยวกับภูตผีปีศาจ, ความร้ายกาจ |
dissect | (ดิสเซคทฺ') vt. ชำแหละเพื่อศึกษา, ผ่า (ศพ, เนื้อเยื่อ) เพื่อศึกษา, ตัดกิ่ง ต้นดอกเพื่อศึกษา, จำแนก, วิเคราะห์., See also: dissecter n. ดูdissect dissector n. ดูdissect, Syn. cut apart, analye, anatomize |
Nontri Dictionary
academic | (adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา |
academy | (n) สถานศึกษา |
bursary | (n) เงินทุน, เงินอุดหนุน, เงินอุปถัมภ์, ทุนการศึกษา |
civilize | (vt) ทำให้มีอารยธรรม, ทำให้จริญ, ทำให้มีการศึกษา |
coeducation | (n) สหศึกษา |
collegian | (n) นิสิต, นักศึกษา |
cultivate | (vt) เพาะปลูก, ศึกษา, ฝึกฝน, อบรม, ปลูกฝัง |
educate | (vt) สอน, อบรม, ฝึกฝน, ให้การศึกษา, ให้ความรู้ |
education | (n) การสั่งสอน, การอบรม, การศึกษา, ครุศาสตร์, ศึกษาศาสตร์ |
educational | (adj) ซึ่งให้ความรู้, เกี่ยวกับการอบรมสั่งสอน, ทางการศึกษา |
educator | (n) นักการศึกษา, นักศึกษาศาสตร์, ผู้ให้การศึกษา |
graduate | (adj) เกี่ยวกับผู้สำเร็จการศึกษา |
graduate | (n) ผู้ได้รับปริญญา, ผู้สำเร็จการศึกษา, บัณฑิต |
graduate | (vi) ได้รับปริญญา, สำเร็จการศึกษา |
graduation | (n) การได้รับปริญญา, การสำเร็จการศึกษา, พิธีมอบปริญญา |
GRAMMAR grammar school | (n) โรงเรียนมัธยมศึกษา |
gymnastic | (adj) ทางพลศึกษา, เกี่ยวกับกายกรรม, เกี่ยวกับยิมนาสติก, เกี่ยวกับการบริหารร่างกาย |
gymnastics | (n) พลศึกษา, กายกรรม, วิชายิมนาสติก, การบริหารร่างกาย, วิชายืดหยุ่น |
humanist | (n) นักศึกษาเรื่องมนุษยชาติ |
illiterate | (adj) ไม่รู้หนังสือ, ไม่มีการศึกษา |
junior | (n นักศึกษาปีที่) 3 |
learn | (vi, vt) เรียน, ศึกษา, เล่าเรียน, รู้, ทราบ, หัด |
learner | (n) ผู้เรียน, ผู้ศึกษาเล่าเรียน |
learning | (n) การเรียน, การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การเล่าเรียน |
literate | (adj) รู้หนังสือ, มีการศึกษา, มีความรู้ |
matriculate | (vi, vt) รับเข้าเป็นนักศึกษา, รับเข้าสมาคม |
philosophize | (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี, ปลงตก, ยึดหลักปรัชญา, ศึกษาธรรมะ |
scholar | (n) นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ได้รับทุน, นักวิชาการ |
scholarly | (adj) คงแก่เรียน, เป็นนักศึกษา, เป็นนักวิชาการ |
scholastic | (adj) เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับการศึกษา, เกี่ยวกับการเล่าเรียน |
SCHOOL school year | (n) ปีการศึกษา |
school | (n) โรงเรียน, วิทยาลัย, สถาบันการศึกษา, การเล่าเรียน, ฝูงปลา |
school | (vt) สอน, ให้การศึกษา, สั่งสอน |
schooling | (n) ระบบการศึกษา, การเรียนการสอน, แผนการศึกษา |
SELF-self-taught | (adj) ศึกษาเอง, เรียนด้วยตัวเอง |
semester | (n) ภาคการศึกษา, ภาคเรียน |
senior | (n) ผู้สูงอายุ, ผู้มีอาวุโส, นักศึกษาปีสุดท้าย |
session | (n) สมัยประชุม, การประชุม, ภาคการศึกษา |
skim | (vt) กวาดออก, ช้อนออก, อ่านคร่าวๆ, ศึกษาเพียงผิวเผิน |
sophomore | (n) นักศึกษาปีที่สอง |
specialize | (vt) ศึกษาเฉพาะสาขา, มีความชำนาญเป็นพิเศษ, ระบุ |
student | (n) นักศึกษา, นักเรียน |
studied | (adj) รอบคอบ, โดยเจตนา, ระมัดระวัง, มีการศึกษา |
study | (n) การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, ห้องค้นคว้า |
study | (vt) พิจารณา, เรียน, ศึกษา, ค้นคว้า |
supervisor | (n) ผู้ดูแล, ผู้ควบคุม, นิเทศน์ศึกษา |
training | (n) การฝึกหัด, การอบรม, การฝึกฝน, การศึกษา |
transcript | (n) สำเนา, บันทึก, ใบแสดงผลการศึกษา |
undergraduate | (n) นักศึกษาระดับปริญญาตรี |
unlearned | (adj) เขลา, ไร้การศึกษา |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
*optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) |
*ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 |
Assumption College | โรงเรียนอัสสัมชัญเป็นสถานศึกษาเอกชนในเครือมูลนิธิเซนต์คาเบรียล ตั้งอยู่ที่ 26 ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 สามารถติดต่อได้ที่ 0-2630-7111-25 |
Bachelor of Education | (n) ศึกษาศาสตรบัณฑิต |
co-education | [โค เอ็ดดึเคชัน] (n) สหศึกษา |
Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) |
Dhamma Studies Department | ฝ่ายการศึกษาพระปริยัติธรรม |
double-blind | (n) การศึกษาฤทธิ์ของยาซึ่งผู้ให้กับผู้รับตอนให้ยาไม่รู้ว่ายานั้นเป็นสารที่ active หรือ inert |
doxastic | [ด็อกซาติค (dɒksˈæstɪk)] (adj) 1. ของความเชื่อ, เกี่ยวข้องกับความเชื่อ 2. เป็นสาขาหนึ่งของตรรกศาสตร์อัญรูปที่ศึกษามโนทัศน์เกี่ยวความเชื่อ หรือ 1. of or relating to belief 2. denoting the branch of modal logic that studies the concept of belief |
educational durable objects | ครุภัณฑ์ทางการศึกษา |
enology | (n) การศึกษาเรื่องไวน์, การทำไวน์ และการปลูกองุ่น, Syn. viticulture |
entania | [เอนทาเนีย] (name) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
entania | (uniq) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
entania | (n) ชื่อเรียกของนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Epigenetic | [อีพีเจเนติกส์] อีพีเจเนติกส์ หรือพันธุศาสตร์ด้านกระบวนการเหนือพันธุกรรม คือองค์ความรู้ทางชีววิทยาโดยเฉพาะพันธุศาสตร์ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของการแสดงออกของยีนที่เกิดจากกระบวนการอื่นนอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงลำดับดีเอ็นเอ ตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีนแบบนี้เช่นการเติมหมู่เมธิลบนดีเอ็นเอหรือการถอนหมู่อะเซทิลออกจากฮิสโตน เป็นการยับยั้งการแสดงออกของยีนนั้นๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลำดับดีเอ็นเอในยีนนั้นๆ |
graduated | [เกรด ดู เอท] จบการศึกษา |
heuristically | (adv) ด้วยการศึกษามาอย่างดี |
immunological | [อิมมิวโนโลจิคอล] (n) การศึกษาเกี่ยวกับวิทยาภูมิคุ้มกัน |
inclusive education | (n) การศึกษาแบบเรียนรวม - เป็นการเรียนการสอนที่รวมเอานักเรียนที่ต้องการความใส่ใจดูแลเป็นพิเศษ (อาจพิการ ฯลฯ) มาเรียนรวมกับเด็กปกติ |
Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
intania | (n, name, uniq) ชื่อเรียกของนิสิต นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยมหิดล |
Khonkaen Vocational College | [ขอนแก่น โวเคชั่นแนลคอลเลจ] (n) วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น |
Molecular Gastronomy | (n, name) การทำอาหารโดยอาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ และอาศัยวิธีการศึกษาองค์ประกอบของเครื่องปรุงอย่างวิทยาศาสตร์ศึกษาปฏิกิริยาทางเคมีที่ทำให้เครื่องปรุงเปลี่ยนรสหรือเปลี่ยนสี เพื่อให้เกิดการสร้างสรรค์ที่ได้ทั้งรูปทรงใหม่ๆ และรสชาติที่แตกต่างจากของเดิม |
Oceanographer | [โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล |
oceanography | [โอ-เชีย-นอ-กราฟ-ฟี] (n) “สมุทรศาสตร์” เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิทยาศาสตร์โลก (Earth science) ที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทรในหัวข้อต่างๆ ที่รวมทั้งสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร, ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดล้อม, กระแสคลื่นในมหาสมุทร, พฤติกรรมของคลื่น, แผ่นเปลือกโลกที่ก้นมหาสมุทร, ธรณีวิทยาของก้นมหาสมุทร, และความผันผวนของสารเคมีและลักษณะทางฟิสิคส์ของทั้งมหาสมุทรและบริเวณรอบข้าง (ข้อมูลจาก wikipedia.org) |
optometrist | ผู้ที่จบการศึกษาปริญญาชั้นสูงเฉพาะทางการตรวจสายตา(Doctor of Optometry) |
palaeontology | (n) สาขาทางธรณีวิทยาซึ่งศึกษาซากฟอสซิล |
Pharmacokinetics | 1. การศึกษาการดูดซึมของร่างกาย การกระจายการเผาผลาญและการขับถ่ายของยา 2. ปฏิกิริยาลักษณะของยาและร่างกายในแง่ของการดูดซึมการกระจายการเผาผลาญและการขับถาย |
Philatelist | [/fɪˈlæt̬.əl.ɪst/] (n) คนที่สะสมหรือศึกษาแสตมป์ |
philological | (adj) เกี่ยวกับการศึกษาเรื่องภาษาที่ใช้ในอักษรศาสตร์ เกี่ยวกับภาษาศาสตร์ |
philology | [(ฟิลอจ'ละจี)] (n) นิรุกติศาสตร์, ภาษาศาสตร์, การศึกษาเรื่องภาษา., Syn. Synonym: . philological adj. philologist n. !philologer n. philologize vi. ###S. |
preppy | (n) นักเรียน หรือคนที่แต่งตัวคล้ายกับนักเรียนชั้นเตรียมประถมศึกษา, See also: prep·pi·eradv., prep·pi·est n. |
psycholinguistics | [げんごしんりがく] (n) การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของภาษากับลักษณะพฤติกรรมของผู้พูด |
reserved officers' training corps | ร.ด., รักษาดินแดน, นักศึกษาวิชาทหาร |
retrospective study | (n, phrase) การศึกษาย้อนหลัง |
rhelogy | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการไหลของของเหลวและของกึ่งของเหลว |
ronin student | (n) นักเรียนที่พลาดการสมัครสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทลัยในปีนั้นๆ และกำลังศึกษาเพื่อเตรียมสอบคัดเลือกในปีต่อๆ ไป |
sophomore | (n) นักศึกษาปีที่ 2 |
stomatology | [สโตมาโตโลจี] (n) โอษฐวิทยา, การศึกษาเกี่ยวกับโรคชนิดต่างๆ ที่พบในช่องปากและอวัยวะข้างเคียง |
student | (n) นักศึกษา |
student body | กลุ่มนักเรียนทั้งหมดในสถาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง |
tribology | (n) การศึกษาเกี่ยวการแรงเสียดทานบนเครื่องจักร, การศึกษาเกี่ยวกับการหล่อลื่น หรือการศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองระหว่างพื้นผิวที่เสียดสีกันขณะเคลื่อนไหว |
TU | (n) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา , มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, See also: thammasat university, Syn. trian undon suksa |
tum | (n) บุคคลที่กำลังศึกษาคณะแพทย์, บุคคลที่นิยมกันดั้ม บางครั้งใช้เรียกคนประเทศเกาหลี, See also: sensei, Apae, Syn. Otaku |
ummo | (name) (อุมโม) ชื่อของกลุ่มมนุษย์ต่างดาวกลุ่มหนึ่งที่มาศึกษาปัญหาในโลก |
unified school distric | เขตการศึกษารวม |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
นักวิชาการศึกษา | (n) ผู้ปฏิบัติงานทางด้านการศึกษา, Syn. acadamist |
Longdo Approved JP-TH
ニート | [にーと, ni-to] (n) NEET คนวัยหนุ่มสาวที่อยู่เฉย ไม่กระตือรือร้นที่จะรับการศึกษาหรือทำงาน ย่อมาจากคำว่า 'Not in Education, Employment, or Training' |
卒業 | [そつぎょう, sotsugyou] (n) การจบการศึกษา |
学生 | [がくせい, gakusei] (n) นักเรียน, นิสิต, นักศึกษา, Syn. 生徒 |
年度 | [ねんど, nendo] (n) ปีงบประมาณ, ปีการศึกษา |
研修大学生 | [けんしゅうだいがくせい, kenshuudaigakusei] (n) นักศึกษาฝึกงาน |
義務教育 | [ぎむきょういく, gimukyouiku] (n) การศึกษาภาคบังคับ |
見学 | [けんがく, kengaku] (n) ทัศนศึกษา |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
短期大学 | [たんきだいがく, tankidaigaku] (n) ปวช., วิทยาลัยเทคนิค, อาชีวศึกษา |
学士 | [がくし, gakushi] (n) ผู้จบการศึกษาปริญญษตรี |
給食 | [きゅうしょく, kyuushoku] (n) อาหารที่จัดเตรียมไว้ให้บุคลากร ตามสถานที่ทำงาน หรือสถานศึกษา |
文部省 | [もんぶしょう, monbushou] (n) กระทรวงศึกษาธิการ |
学歴 | [がくれき, gakureki] (n) ประวัติการศึกษา |
独学 | [どくがく, dokugaku] การศึกษาด้วยตัวเอง |
ヤッピー | [やっぴー, yappi] (n) คนหนุ่มสาวที่มีการงานและการศึกษาที่ดี |
産学連携 | [さんがくれんけい, sangakurenkei] ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา |
留学 | [りゅうがく, ryuugaku] ศึกษาต่อต่างประเทศ |
留学生 | [りゅうがくせい, ryuugakusei] (n) นักเรียนต่างชาติ, นักศึกษาต่างชาติ |
院生 | [いんせい, insei] (n) นักศึกษาปริญญาโท |
学生 | [がくせい, gakusei] (n) นักเรียน, นักศึกษา |
学生 | [がくせい, gakusei] (n) นักเรียน, นักศึกษา |
学生 | [がくせい, gakusei, gakusei , gakusei] (n) นักเรียน, นักศึกษา |
入学金 | [にゅうがくきん, nyuugakukin] (n) ค่าธรรมเนียมการศึกษา |
新学期 | [しんがっき, shingakki] (n) ภาคการศึกษาใหม่, เทอมใหม่ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
学内 | [がくない, gakunai] TH: อยู่ภายในบริเวณสถานศึกษา เช่น โรงเรียน, วิทยาสัย หรือ มหาวิทยาลัย EN: within the school |
新入生 | [しんにゅうせい, shinnyuusei] TH: นักศึกษาใหม่ EN: freshman |
新入生 | [しんにゅうせい, shinnyuusei] TH: นักเรียน(นักศึกษา)ปีหนึ่ง EN: first-year student |
小学 | [しょうがく, shougaku] TH: ระดับชั้นการศึกษา, ประถมศึกษา EN: grade school |
大生 | [だいせい, daisei] TH: นักศึกษามหาวิทยาลัย EN: college student |
深める | [ふかめる, fukameru] TH: ศึกษาให้ลึกซึ้ง |
動物園 | [どうぶつえん, doubutsuen] TH: สวนที่มีการศึกษาสัตว์ EN: zoological gardens |
研究 | [けんきゅう, kenkyuu] TH: ศึกษาวิจัย EN: study (vs) |
Longdo Approved DE-TH
Student | (n) |der, pl. Studenten| นักศึกษา, See also: die Studentin/nen |
Klinikum | (n) |das, pl. Kliniken| การศึกษาภาคปฏิบัติในโรงพยาบาลของนักศึกษาแพทย์ |
Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท |
promovieren | (vi) |promovierte, hat promoviert| ศึกษาหรือเรียนระดับปริญญาเอก เช่น Meine Schwester promovierte im Jahr 1991 an der Mahidol Universität. น้องสาวของผมเรียนจบระดับปริญญาเอกจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 1991, Syn. eine Doktorarbeit machen |
Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid |
Zulassungsbescheid | (n) |der| คำตอบรับ เช่น ตอบรับเข้าศึกษาต่อ เป็นต้น, See also: A. der Ablehnungsbescheid |
Hochschule | (n) |die, pl. Hochschulen| สถาบันอุดมศึกษา เช่น Universität, Fachhochschule |
Studentenwohnheim | (n) |das, pl. Studentenwohnheime| หอพักนักศึกษา |
Studiengebühr | (n) |die, pl. Studiengebühren| เงินบำรุงการศึกษา (ไม่ใช่ค่าหน่วยกิจ เพราะโดยมากแล้ว ในเยอรมนีจะละเว้นค่าหน่วยกิจเนื่องจากรัฐเป็นผู้ช่วยเหลือในส่วนนี้ หรือ เป็นการศึกษาแบบให้เปล่าจากรัฐ จนถึงระดับดิโพลม) |
Studienausweis | (n) |der, pl. Studienausweise| บัตรประจำตัวนักศึกษา |
Studienbescheinigung | (n) |die, pl. Studienbescheinigungen| ใบรับรองสถานภาพการศึกษา (ในนี้ จะบอกถึงรายละเอียดเกี่ยวกับการศึกษาของนักศึกษา เช่น สถาบัน, คณะ, ภาคการศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ปัจจุบัน และรายละเอียดที่สำคัญเกี่ยวกับเจ้าตัวเองด้วย, โดยส่วนมากแล้ว ทางสถาบันจะออกใบรับรองนี้เป็นรายเทอม) |
Studienfach | (n) |das, pl. Studienfächer| สาขาวิชาที่ศึกษา, คณะที่ศึกษา, Syn. der Studiengang |
Studienplatz | (n) |der, pl. Studienplätze| จำนวนที่นั่งที่สถาบันศึกษาหนึ่งมีให้, จำนวนนักศึกษาที่สามารถรับเข้ามาได้ |
Studentenanzahl | (n) |die, nur Sg.| จำนวนนักศึกษา |
Cafeteria | (n) |die, pl. Cafeterian/Cafeterias| ร้านขายกาแฟและอาหารว่างตามมหาวิทยาลัยและสถานศึกษา |
sich informieren über etw. | (vt) หาข้อมูลเกี่ยวกับบางสิ่ง, ศึกษาบางสิ่ง เช่น Ich möchte mich über das Bildungssystem in Deutschland informieren., Syn. sich erkundigen |
ständig | (adv) สม่ำเสมอ, เป็นประจำ เช่น Der Student stellt Fragen ständig in der Vorlesung. นักศึกษาคนนี้ตั้งคำถามในห้องเรีอนเสมอ, See also: stets, Syn. immer |
gebildet | (adj) ที่มีการศึกษา, ที่ศิวิไลซ์, ที่มีอารยธรรม, ที่เจริญ เช่น Manche Deutsche sind gut gebildet. คนเยอรมันส่วนใหญ่ได้รับการศึกษามาดี |
Antrag | (n) |der, pl. Anträge| ข้อเสนอที่ต้องลงมติในที่ประชุม เช่น Ich stelle den Antrag, daß die Fakultät keine ausländische Studenten mehr aufnimmt. ผมขอเสนอให้ทางคณะไม่รับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาอีก |
analysieren | (vt) |analysierte, hat analysiert| วิเคราะห์, ศึกษาหรือตรวจสอบคุณสมบัติหรือโครงสร้าง เช่น ein Problem analysieren วิเคราะห์ปัญหา |
erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen |
forschen | (vi) |forschte, hat geforscht| (nach etw./jmdm.) พยายามเพื่อหาที่มาหรือสาเหตุของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Wissenschaftler forschen seit langem nach der Ursache des Aussterbens von Dinosaurier. นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาหาสาเหตุของการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์มานานแล้ว, See also: Related: erforschen |
abnehmend | (adj) ที่กำลังลดลง เช่น die abnehmenede Anzahl von Studenten จำนวนนักศึกษาที่กำลังลดลง |
aufmerksam | (adj) เอาใจใส่, ตั้งอกตั้งใจ เช่น Er ist ein aufmerksamer Student. เขาเป็นนักศึกษาที่ตั้งใจเรียน |
beglaubigen | (vt) |beglaubigte, hat beglaubigt, etw.(A)| ให้การรับรอง, ยืนยัน, พิสูจน์ว่าจริง เช่น Die Kopie des Abschlusszeugnisses muß beglaubigt werden. สำเนาใบประกาศนียบัตรจบการศึกษาต้องได้รับการรับรอง |
sich bewerben | (vt) |bewirbt sich, bewarb sich, hat sich beworben, um etw.(A)| สมัคร เช่น Sie hat sich um ein Stipendium beworben. เธอสมัครขอทุนการศึกษา |
verschlafen | (vt) |verschläft, verschlief, hat verschlafen| นอนตื่นสาย เช่น Der Student hat immer verschlafen und Vorlesungen versäumt. นักศึกษาคนนี้นอนตื่นสายและขาดเรียนเสมอ |
Abschlussprüfung | (n) |die, pl. Abschlussprüfungen| สอบไล่, สอบจบ, การสอบจบการศึกษา, |
Studentenausweis | (n) |der, pl. Studentenausweise| บัตรประจำตัวนักศึกษา |
Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife |
Physiologie | (n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา |
Erzieher | (n) |der, pl. Erzieher| ผู้ให้การศึกษา ครู อาจารย์ เช่น Für eine renomierte Kindertagesstätte in Dresden suchen wir im Rahmen der Personalvermittlung einen Erzieher (m/w) zum nächstmöglichen Zeitpunkt., See also: die Erzieherin |
Verwaltungswissenschaft | (n) |die, pl. Verwaltungswissenschaften| ศาสตร์หรือการศึกษาเกี่ยวกับการเมือง นิติศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
gebildet | (adj) ที่มีการศึกษา, ที่ได้รับการอบรมมาดี เช่น Eine gebildete Person ist für einen bestimmten Inhalt empfänglicher, als eine weniger gebildete Person für denselben Inhalt. |
Longdo Approved FR-TH
étudiant | |m, f. -e| นักศึกษา |
carte d'étudiant | (n) |f| บัตรประจำตัวนักศึกษา |
foyer d'étudiants | (n) |m| หอพักนักศึกษา, Syn. la cité universitaire |
étudier | (vt) |j'étudie, tu étudies, il étudie, nour étudions, vous étudiez, ils étudient| ศึกษาเล่าเรียน, See also: regarder Image: |
cité universitaire, -s | (n) |f| หอพักนักศึกษา, Syn. foyer d'étudiants |
soutenance d'une thèse | (n) |f| การแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก |
soutenir une thèse | (vt) แสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก |
linguistique | (n, adj) ภาษาศาสตร์, เกี่ยวกับภาษา, เกี่ยวกับการศึกษาภาษา, See also: langue, langage, science du langage |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0502 seconds, cache age: 12.478 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม