50 ผลลัพธ์ สำหรับ *ศักย์ไฟฟ้า*
ภาษา
หรือค้นหา: ศักย์ไฟฟ้า, -ศักย์ไฟฟ้า-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ขั้วบวก | น. ขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง. |
ขั้วลบ | น. ขั้วไฟฟ้าที่มีศักย์ไฟฟ้าตํ่ากว่าอีกขั้วหนึ่ง. |
สายดิน | น. สายตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก. |
เหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า | น. ปรากฏการณ์ซึ่งมีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเนื่องจากอำนาจแม่เหล็ก, เรียกกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอำนาจแม่เหล็ก ว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ, เรียกเครื่องมือสำเร็จที่ใช้สำหรับเปลี่ยนศักย์ไฟฟ้าให้มีค่าสูงขึ้นมาก ๆ โดยอาศัยอำนาจแม่เหล็ก ว่า ขดลวดเหนี่ยวนำ. |
โอห์ม | น. หน่วยวัดความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ Ω ความต้านทาน ๑ โอห์ม คือ ความต้านทานระหว่างจุด ๒ จุดบนตัวนำ ซึ่งเมื่อจุดคู่นี้มีความต่างศักย์ไฟฟ้า ๑ โวลต์แล้ว จะทำให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ๑ แอมแปร์. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Electron volt | อิเล็กตรอนโวลต์, หน่วยหนึ่งของพลังงานหรืองาน 1 อิเล็กตรอนโวลต์ คือ พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้าขนาด 1 โวลต์ มีค่าเท่ากับ 1.603 x 10<sup>-12</sup> เอิร์ก [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff generator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474, Example: [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff accelerator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474 [นิวเคลียร์] |
Action Potential Period | ระยะเวลาที่เกิดศักย์ไฟฟ้า [การแพทย์] |
Action Potentials | ศักย์ขณะทำงาน, ศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าขณะทำงาน, ศักย์ในการทำงาน, กระแสไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าขณะกำลังทำงาน, ศักย์ไฟฟ้าขณะทำงาน [การแพทย์] |
Action Potentials, Compound | ศักย์ไฟฟ้าขณะทำงานผสม [การแพทย์] |
Bioelectric Potentials | ศักย์ไฟฟ้า2ขั้ว [การแพทย์] |
Depolarization, Local | การเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้าเฉพาะที่ [การแพทย์] |
Electrical Potentials | ศักย์ทางไฟฟ้า, ความต่างศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้า, ความแตกต่างในศักย์ไฟฟ้า [การแพทย์] |
Electrochemical Potentials | ศักยภาพทางเคมีไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้าเคมี [การแพทย์] |
Electrode Potentials | ศักย์ไฟฟ้าอีเล็คโตรด [การแพทย์] |
standard electrode [ reference electrode ] | ขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่กำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ต่าง ๆ บางครั้งเรียกว่าขั้วไฟฟ้าอ้างอิง เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ขั้วไฟฟ้าคาโลเมลอิ่มตัว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
standard hydrogen electrode | ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์อื่น ๆ โดยกำหนดค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์นี้ให้เท่ากับศูนย์โวลต์ ขั้วไฟฟ้านี้ประกอบ ด้วยแผ่นแพลทินัมบาง ๆ ที่เคลือบด้วยแพลทินัมแบลก จุ่มอยู่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1 mol/d [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
half-cell potential [ electrode potential ] | ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์, ความต่างศักย์ที่อ่านได้เมื่อนำครึ่งเซลล์หนึ่งต่อกับอีกครึ่งเซลล์หนึ่งที่ถือว่าศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
standard half cell potential | ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน, ความต่างศักย์ที่ได้จากการนำครึ่งเซลล์หนึ่ง ๆ ซึ่งมีความเข้มข้นของไอออนในสารละลาย 1 mol/dm3 อุณหภูมิ 25oC และถ้าเป็นแก๊สให้มีความดัน 1 atm มาต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ซึ่งใช้เป็นครึ่งเซลล์มาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบใช้สัญลักษณ์ Eo [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
induction coil | ขดลวดเหนี่ยวนำ, อุปกรณ์ที่ใช้เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้สูงขึ้นโดยอาศัยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าของขดลวดไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
positive electrode | ขั้วไฟฟ้าบวก, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าลบ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
capacitance | ความจุ, สมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุ มีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างจำนวนประจุไฟฟ้าบนตัวนำหรือตัวเก็บประจุกับความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุนั้น ใช้สัญลักษณ์ C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
potential difference | ความต่างศักย์, โดยทั่วไปหมายถึงความต่างศักย์ไฟฟ้า (ดู electric potential difference) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electric potential difference | ความต่างศักย์ไฟฟ้า, ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในสนามไฟฟ้าหรือในวงจรไฟฟ้า เป็นงานที่ทำในการเคลื่อนประจุบวก 1 หน่วยจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
stopping potential difference | ความต่างศักย์หยุดยั้ง, ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่พอดีทำให้โฟโตอิเล็กตรอนในหลอดสุญญากาศหยุดเคลื่อนที่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
thermocouple | คู่ควบความร้อน, คู่ควบความร้อน อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ โดยใช้หลักความแตกต่างของอุณหภูมิที่ปลายซึ่งต่อกันทั้ง 2 ข้างของโลหะตัวนำ 2 ชนิด ทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
potential divider | ตัวแบ่งศักย์, ความต้านทานที่ถูกต่อในวงจรไฟฟ้าเพื่อแบ่งความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรนั้นออกเป็นความต่างศักย์ย่อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ballast | บัลลาสต์, อุปกรณ์ในวงจรหลอดฟลูออเรสเซนซ์ ทำหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าเพื่อจุดหลอดฟลูออเรสเซนซ์ ประกอบด้วยขดลวดตัวนำหุ้มฉนวนพันอยู่บนแกนเหล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spark | ประกายไฟฟ้า, ปรากฏการณ์ที่ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวกลาง เช่น อากาศหรือฉนวนไฟฟ้า ระหว่างจุด 2 จุดที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง เกิดจากการเสื่อมสภาพเป็นฉนวนอย่างฉับพลันของตัวกลางนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Electrical energy | พลังงานไฟฟ้า, พลังงานรูปหนึ่งที่สัมพันธ์กับตำแหน่งของประจุไฟฟ้าที่อยู่ในสนามไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล วัตถุที่มีประจุไฟฟ้า Q วางอยู่ ณ จุดหนึ่ง มีศักย์ไฟฟ้า V จะมีพลังงานไฟฟ้า QV [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
farad | ฟารัด, หน่วยของความจุไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ F โดยกำหนดว่าความจุไฟฟ้า 1 ฟารัด คือค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ ซึ่งถ้ามีการถ่ายโอนประจุระหว่างแผ่นตัวนำทั้งสองในตัวเก็บประจุปริมาณ 1 คูลอมบ์ จะทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electromotive force [ e.m.f. ] | แรงเคลื่อนไฟฟ้า (ร.ค.ฟ.), พลังงานที่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าให้ต่อหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ผ่านแหล่งกำเนิดนั้น โดยทั่วไปแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าใกล้เคียงความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า หรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขณะที่วงจรเปิด ใช้ตัวย่อว่า e.m.f. แทนด้วยสัญลักษณ์ E มีหน่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
V | โวลต์, สัญลักษณ์ของหน่วยความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า ดู volt [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
volt | โวลต์, หน่วยของความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ V โดยกำหนดว่า 1 โวลต์ คือ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง 2 จุด บนตัวนำที่มีกระแสขนาด 1 แอมแปร์ผ่าน ทำให้เกิดกำลัง 1 วัตต์ระหว่าง 2 จุดนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
voltmeter | โวลต์มิเตอร์, อุปกรณ์ที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดในวงจร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electric potential | ศักย์ไฟฟ้า, ศักย์ไฟฟ้า ณ จุดใด หมายถึงงานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าบวก 1 หน่วย ผ่านสนามไฟฟ้าจากระยะอนันต์หรือจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์มายังจุดนั้น ศักย์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโวลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
equipotential line | เส้นสมศักย์, เส้นที่ต่อจุดต่าง ๆ ที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันในสนามไฟฟ้า เส้นสมศักย์ตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้าเสมอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
anode | แอโนด, 1. ขั้วไฟฟ้าที่มีปฏิกิริยาออกซิเดชันเกิดขึ้น ซึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าลบในเซลล์กัลวานิก หรือเป็นขั้วไฟฟ้าบวกในเซลล์อิเล็กโทรไลต์ 2. ขั้วไฟฟ้าซึ่งเป็นตัวรับอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นภายในระบบ เช่น หลอดวิทยุชนิดไดโอดเป็นขั้วซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าบวกเมื่อเทียบกับแคโทด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ohm | โอห์ม, หน่วยวัดความต้านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ W โดยกำหนดว่าความต้านทานไฟฟ้า 1 โอห์ม คือความต้านทานของตัวนำซึ่งมีปลายทั้งสองต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ แล้วมีกระแสไฟฟ้าผ่านตัวนำนั้น 1 แอมแปร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
earth [ ground ] | สายดิน, การต่อสายไฟฟ้าลงดิน ตำแหน่งที่ต่อสายไฟฟ้าลงดินในวงจรไฟฟ้ามีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
negative electrode | ขั้วไฟฟ้าลบ, ขั้วตัวนำไฟฟ้าที่ต่อกับจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่าอีกขั้วหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า ขั้วไฟฟ้าบวก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electric resistance | ความต้านทานไฟฟ้า, สมบัติอย่างหนึ่งของตัวนำที่จะต้านกระแสไฟฟ้า ถ้าตัวนำนั้นยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้ดีเรียกว่าตัวนำนั้นมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำมีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนำกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Generator Potentials | ศักย์ไฟฟ้าของตัวรับ [การแพทย์] |
Generators, High Tension | หน่วยสร้างศักย์ไฟฟ้าแรงสูง [การแพทย์] |
Local Potentials | ศักย์ไฟฟ้าเฉพาะที่ [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความต่างศักย์ไฟฟ้า | [khwām tāng sak faifā] (n, exp) EN: electrical potential differenc |
ศักย์ไฟฟ้า | [sak faifā] (n, exp) EN: electric potential |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
potential difference | (n) ความแตกต่างของขั้วไฟฟ้า, See also: ศักย์ไฟฟ้า, Syn. voltage |
Longdo Approved DE-TH
Spannungsmesser | (n) |der, pl. Spannungsmesser| เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า, Syn. Voltmeter |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0221 seconds, cache age: 3.659 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม