206 ผลลัพธ์ สำหรับ *ยากจน*
ภาษา
หรือค้นหา: ยากจน, -ยากจน-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เสรีภาพแห่งการพอเพียง | [พอเพียงเพื่อเสรีภาพ] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, pron, phrase, colloq, abbrev, name, org, uniq) เสรีภาพกระผมอย่างยกตัวอย่างที่ในหลวงร9และร10พยายามทำอยู่และส่งเสริมอย่างยิ่งมันคือสิ่งที่เป็นพื้นฐานแห่งชีวิตของทุกคนไม่ว่าคุณจะอดอยากประเทศยากจนในดินแดนต่างๆทั่วโลกไทยคือครัวโลกเรายินดีแบ่งปันความรู้เศรฐกิจพอเพียงนี้ด้วยพืชและสูตรการทำอาหารของไทยที่มีมากมายใข่2ฟองก็สามารถสร้างเมนูเพื่อยังชีพได้เกิน10อย่างผัดทอดนึ่งต้ม |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ยากจน | (v) be poor, See also: be impoverished, be needy, be poverty-stricken, be destitute, be broke, be indigent, Syn. ยากไร้, ขัดสน, ยากแค้น, ยากจนข้นแค้น, Ant. ร่ำรวย, มั่งมี, Example: แม้ชาวชนบทบางคนจะยากจนก็ยังมีจิตใจเอื้อเฟื้อ โดยเฉพาะการตักบาตรทำบุญทำทานแก่ศาสนา |
ยากจน | (adj) poor, See also: impoverished, needy, poverty-stricken, destitute, broke, indigent, Syn. ยากไร้, ขัดสน, ยากแค้น, ยากจนข้นแค้น, Ant. ร่ำรวย, มั่งมี, Example: คนไทยในชนบทในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีฐานะยากจน |
คนยากจน | (n) the poor, Syn. คนจน, คนยากคนจน, Ant. คนร่ำรวย, คนมั่งมี, เศรษฐี, คนรวย, Example: รัฐบาลพยายามแก้ปัญหาเรื่องความเป็นอยู่ของคนยากจนให้ดีขึ้น, Count Unit: คน |
ความยากจน | (n) poverty, See also: beggary, impoverishment, Syn. ความยากจนข้นแค้น, ความจน, ความแร้นแค้น, Ant. ความรวย, ความร่ำรวย, Example: ประชาชนกำลังแสวงหาทางที่จะทำให้หลุดพ้นจากความยากจน |
เด็กยากจน | (n) poor children, See also: impoverished children, needy children, Ant. เด็กรวย |
ความยากจนข้นแค้น | (n) poverty, See also: destitution, penury, indigence, Syn. ความยากจน, ความยากแค้น, ความแร้นแค้น, Ant. ความรวย, ความร่ำรวย, Example: เขาได้พบความยากจนข้นแค้นมามาก สมควรแล้วที่จะได้รับความสบายเสียที |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ยากจน | ว. เข็ญใจ, ไร้ทรัพย์. |
กรอ ๔ | ว. ยากจน, เข็ญใจ, ฝืดเคือง, ในคำว่า เบียดกรอ. |
กระจอกงอกง่อย | ว. ยากจนเข็ญใจ. |
กลิ้งเกลือก | ก. พยายามช่วยตัวเองเท่าที่จะทำได้ เช่น ยากจนก็กลิ้งเกลือกไปตามบุญตามกรรมไม่ขอพึ่งใคร, เกลือกกลิ้ง ก็ว่า. |
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. |
ข้นแค้น | ก. อัตคัด, ขัดสน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ยากจน เป็น ยากจนข้นแค้น. |
เข็ญ | (เข็น) ว. ยาก, ยากจน, เช่น ลำบากแสนเข็ญ. |
เข็ญใจ | ว. ยากจนข้นแค้น. |
จมไม่ลง | ก. เคยทำตัวใหญ่มาแล้วทำให้เล็กลงไม่ได้ (มักใช้แก่คนที่เคยมั่งมีหรือรุ่งเรืองมาก่อน เมื่อยากจนหรือตกอับลงก็ยังทำตัวเหมือนเดิม). |
ช่องว่าง | ความไม่เข้าใจกันของคนที่มีความคิด ฐานะ หรืออื่น ๆ ที่แตกต่างกัน เช่น ช่องว่างระหว่างคนมั่งมีกับคนยากจน ช่องว่างระหว่างวัย. |
โซ | ว. อดอยาก เช่น อดโซ ผอมโซ หิวโซ, ยากจน เช่น ผัวข้าหาปลาประสาโซ แต่จมูกไม่โหว่เหมือนผู้ดี (สังข์ทอง). |
ดูแคลน, ดูถูกดูแคลน | ก. พูดหรือแสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามผู้อื่นที่ขัดสนหรือยากจนกว่า. |
ตกยาก | ก. ลำบาก, ยากจน, ขัดสน. |
เตี้ยอุ้มค่อม | น. คนที่ช่วยเหลือคนที่มีฐานะตํ่าต้อยหรือยากจน ทั้ง ๆ ที่ตนเองก็มีฐานะตํ่าต้อยหรือยากจนเหมือนกัน. |
ทริทร | (ทะริด) ว. ยากจน, เข็ญใจ. |
ทลิท | (ทะลิด) ว. ยากจน, เข็ญใจ, เช่น พราหมณพฤฒาเฒ่าทลิทยากยิ่งยาจก (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ทลิททก | (ทะลิดทก) น. คนยากจน, คนเข็ญใจ, เช่น ส่วนออเฒ่าพฤฒาทลิททก (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ทาน ๑, ทาน- | สิ่งที่ให้ มักหมายถึงเงินหรือสิ่งของที่คนให้แก่คนยากจน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุและทศพิธราชธรรม. (ดู สังคหวัตถุและทศพิธราชธรรม). |
ทิ้งกระจาด | น. ประเพณีทางศาสนาอย่างหนึ่งของจีน โดยนำอาหาร ข้าวสาร และเงินใส่กระจาดเล็ก ๆ ทิ้งให้คนยากจนแย่งกันแบบโปรยทาน ต่อมาใช้ทิ้งติ้วหรือสลากสำหรับนำไปขึ้นของแทน. |
ทุคตะ | (ทุกคะตะ) ว. ยากจน, เข็ญใจ. |
ใฝ่ร้อนจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะดิ้นตาย | ก. มุ่งหวังจะสบายต้องทำงาน ถ้าเกียจคร้านจะลำบากยากจน. |
ยาก | จน เช่น คนยาก, นิยมใช้เข้าคู่กันเป็น ยากจน |
ยากไร้ | ว. ยากจน, ขาดแคลนไปทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น คนยากไร้. |
ล้นพ้น | ว. ยิ่งยวด, ไม่มีอะไรเปรียบ, เช่น ยากจนเป็นล้นพ้น พ่อแม่มีพระคุณเป็นล้นพ้น. |
ไว้ตัว | ก. สงวนฐานะและเกียรติยศของตนให้เหมาะให้ควร เช่น แม้จะยากจนลงก็ต้องไว้ตัวอยู่ เป็นสตรีควรไว้ตัว, ถือตัว เช่น ไว้ตัวว่าเป็นลูกเศรษฐี ไม่คบคนทั่วไป. |
สมมต, สมมติ, สมมติ-, สมมุติ, สมมุติ- | (สมมด, สมมด, สมมดติ-, สมมุด, สมมุดติ-) สัน. ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดกสิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก. |
แสนเข็ญ | ว. มากเหลือเกิน (มักใช้เกี่ยวกับความยากจน) เช่น เขาเป็นคนยากแค้นแสนเข็ญ. |
ไส้แห้ง | ว. ยากจน, อดอยาก. |
หมากลางถนน | น. หมาที่ไม่มีเจ้าของ, โดยปริยายใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบคนที่ไม่มีสังกัด ไม่มีญาติพี่น้อง ยากจนอนาถา ไม่มีใครเหลียวแล เช่น เขาตายอย่างหมากลางถนน. |
หอบหิ้ว | ร่วมทุกข์ร่วมสุขไม่ทอดทิ้งกัน เช่น คนคู่นี้ถึงจะยากจนอย่างไรเขาก็หอบหิ้วกันไป. |
เหลือเข็ญ | ว. ลำบากที่สุด เช่น ยากจนเหลือเข็ญ. |
อนาถา | ว. ไม่มีที่พึ่ง, กำพร้า, ยากจน, เข็ญใจ. |
อัตคัด | (อัดตะ-) ว. ขัดสน, ฝืดเคือง, ยากจน, เช่น เขาเป็นคนอัตคัด. |
อ้าขาผวาปีก, อ้าขาพวาปีก | ก. หาเรื่องมาเป็นภาระของตนโดยไม่จำเป็น เช่น เขามีฐานะยากจนอยู่แล้วยังจะอ้าขาผวาปีกไปขอเด็กมาเลี้ยงเป็นลูกบุญธรรมอีก งานก็มากอยู่แล้ว ทำไมจะต้องอ้าขาพวาปีกไปรับงานอื่นมาอีก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
poor relief | การบรรเทาทุกข์คนยากจน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poverty, war against | การณรงค์ต่อต้านความยากจน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relief, poor | การบรรเทาทุกข์คนยากจน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
common lodging house | บ้านพักแรมคนยากจน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
war against poverty | การณรงค์ต่อต้านความยากจน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Absolute poverty | ความยากจนสัมบูรณ์ [เศรษฐศาสตร์] |
Digital Divide | ความเหลื่อมล้ำ (ช่องว่าง) ในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้, ความเหลื่อมล้ำระหว่างประชากรกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศ ที่มีโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้แตกต่างกัน เช่น ระหว่างประชากรในเมือง ใหญ่กับประชากรในชนบท ระหว่างกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ ต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน ระหว่างผู้ที่มีเชื้อชาติและวัฒนธรรมที่ต่างกัน รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ของผู้พิการ ที่อาจน้อยกว่าบุคคลทั่วไปอีกด้วย หรืออาจะไปเปรียบเทียบความเหลื่อมล้ำระหว่างคนในประเทศต่างๆ เพราะประเทศที่มั่งคั่ง จะมีความพร้อมมากกว่าประเทศยากจน [Assistive Technology] |
Working poor | คนยากจนที่มีงานทำ [TU Subject Heading] |
Elderly poor | ผู้สูงอายุยากจน [TU Subject Heading] |
Legal assistance to the poor | ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนยากจน [TU Subject Heading] |
Poor | คนยากจน [TU Subject Heading] |
Poor children | เด็กยากจน [TU Subject Heading] |
Poor women | สตรียากจน [TU Subject Heading] |
Poor youth | เยาวชนยากจน [TU Subject Heading] |
Poverty | ความยากจน [TU Subject Heading] |
Rural poor | คนยากจนในชนบท [TU Subject Heading] |
Urban poor | คนยากจนในเมือง [TU Subject Heading] |
African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] |
ASEAN Ministers' Meeting on Rural Development and Poverty Eradication | การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน [การทูต] |
Indigent Nationals | คนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ [การทูต] |
Marshall Plan | แผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
New Zealand's International Aid & Development Agencies | หน่วยงานความช่วยเหลือด้านการพัฒนาของนิวซีแลนด์ เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่แทน NZODA (New Zealand?s Official Development Assistance Program) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยเป็นหน่วยงานด้านนโนยายและปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือด้าน การพัฒนา ลักษณะการดำเนินงานเป็นอิสระ แต่ยังขึ้นตรงต่อกระทรวงการต่างประเทศและการค้า นิวซีแลนด์ มีวัตถุประสงค์ในการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา โดยมีเป้าหมายหลัก เพื่อขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษาขั้นมูลฐาน และเน้นการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศในภูมิภาคแปซิฟิกเป็นลำดับแรก [การทูต] |
Open and Caring Societies | สังคมเปิดและเอื้ออาทร เป็นส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์อาเซียนปี พ.ศ. 2563 ที่ได้เล็งเห็นว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยรวมในปีดังกล่าวจะมีสังคมเปิดที่ประชาชน ยึดมั่นในเอกสักษณ์แห่งชาติของตนและเข้าถึงโอกาสของการพัฒนาความเป็นมนุษย์ อย่างสมบูรณ์ได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะเป็นสังคมเอื้ออาทรที่ความหิวโหยทุกข์โภชนาการ การสูญเสียและความยากจนจะไม่ใช่ปัญหาพื้นฐาน และเป็นสังคมที่มีสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็ง [การทูต] |
Social Safety Nets | โครงข่ายรองรับทางสังคม หมายถึง มาตรการในการให้ความช่วยเหลือทางสังคมแก่ประชาชนเพื่อบรรเทาภาวะวิกฤตต่าง ๆ อาทิ ปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน และการส่งเสริมผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เป็นต้น ด้วยการดำเนินนโยบายระยะสั้นในการสร้างงาน การให้การฝึกอบรมวิชาชีพใหม่ และอื่น ๆ อันจะนำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่องในระยะยาวและการพัฒนา สังคมอย่างรอบด้านในภาพรวม [การทูต] |
Senior Officials Meeting on Rural Development and Poverty Eradication | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน [การทูต] |
World Bank | ธนาคารโลก ประกอบด้วยสถาบันต่าง ๆ รวม 4 แห่ง คือ ธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนาระหว่างประเทศ (IBRD) ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1945 บรรษัทการเงินระหว่างประเทศ (IFC) ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1956 สมาคมพัฒนาระหว่างประเทศ (IDA) ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1960 และองค์การประกันการลงทุนหลายฝ่าย (Multilateral Investment Guarantee Agency) ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1988วัตถุประสงค์ร่วมกันของสถาบันการเงินทั้งสี่แห่งนี้ คือ ต้องการลดภาวะความยากจน และยกมาตรฐานการครองชีพของประชากรให้สูงขึ้น โดยส่งเสริมการพัฒนาและความเติบโตทางเศรษฐกิจ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เด็กยากจน | [dek yākjon] (n, exp) EN: poor children; impoverished children ; needy children FR: enfants pauvres [ mpl ] |
ขจัดความยากจน | [khajat khwām yākjon] (v, exp) EN: eradicate poverty |
ความยากจน | [khwām yākjon] (n) EN: poverty ; beggary ; impoverishment FR: pauvreté [ f ] ; indigence [ f ] (vx) |
ความยากจนข้นแค้น | [khwām yākjon khonkhaēn] (n) EN: poverty ; destitution ; penury ; indigence |
ยากจน | [yākjon] (v) EN: be poor ; be impoverished ; be needy ; be poverty-stricken ; be destitute ; be indigent FR: être pauvre ; être indigent |
ยากจน | [yākjon] (adj) EN: poor ; impoverished ; needy ; poverty-stricken; destitute ; broke ; indigent FR: pauvre ; misérable |
Longdo Approved EN-TH
on the breadline | ในสถานการณ์ที่ยากจนมาก (สำนวนนี้มีที่มาจากการเข้าแถวรอรับขนมปังจากรัฐบาลในสมัยก่อน) เช่น She has been forced to live on the breadline for failing to sign Child Support Agency forms. |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
beggar | (vt) ทำให้ยากจนลง, See also: ทำให้เป็นคนขอทาน |
be hard up | (phrv) ยากจน, See also: แร้นแค้น, อดอยาก |
cheesy | (adj) ยากจน, Syn. poor, inferior |
down-and-out | (idm) คนยากจน |
destitute | (adj) แร้นแค้น, See also: ยากจน, ขัดสน, ยากไร้, อดอยาก, ขาดแคลน, Syn. insolvent, impoverished, moneyless, Ant. solvent |
destitution | (n) ความแร้นแค้น, See also: ความยากจน, ความอดอยาก, Syn. pennilessness, pauperism |
guest worker | (n) ผู้ทำงานที่มาจากประเทศยากจนและเข้าทำงานในประเทศรวยกว่า |
hardship | (n) ความทุกข์ยาก, See also: ความยากลำบาก, ความลำบาก, ความขาดแคลน, ความยากจน, Syn. adversity, difficulty |
humble | (adj) ยากจน |
impoverish | (vt) ทำให้ยากจน, See also: ทำให้จนลง, Syn. pauperize |
impoverished | (adj) ยากแค้น, See also: ลำบาก, ยากจน, จน, Syn. pauperized, poor, Ant. rich |
impoverishment | (n) ความแร้นแค้น, See also: ความยากจน, ความยากจน, Syn. poverty |
indigence | (n) ความยากจนข้นแค้นอย่างที่สุด, See also: ความแร้นแค้น, Syn. destitution, poverty, Ant. richness, weathiness |
indigency | (n) ความยากจนข้นแค้นอย่างที่สุด, See also: ความแร้นแค้น, Syn. destitution, poverty, Ant. richness, weathiness |
indigent | (adj) ยากจน, See also: แร้นแค้น, ยากแค้น, Syn. destitude, needy, poor, Ant. rich, wealthy |
live from hand to mouth | (idm) มีชีวิตอยู่อย่างแร้นแค้น, See also: อยู่อย่างลำบากยากจน |
meager | (adj) ขาดแคลน, See also: ยากจน, ไม่พอเพียง, มีน้อยมาก, Syn. few, scant, scarce, Ant. many, numerous |
necessitous | (adj) ยากจน, See also: แร้นแค้น, Syn. needy, poor |
pauperize | (vt) ทำให้ยากจนมาก, See also: ทำให้ยากไร้, ทำให้อนาถา, Syn. bankrupt, impoverish |
penurious | (adj) ยากจนมาก, See also: ขัดสนอย่างมาก, Syn. stingy, mean, frugal, niggardly, Ant. generous, charitable |
penuriously | (adv) อย่างยากจนที่สุด, See also: อย่างอัตคัด, อย่างขัดสน, อย่างขาดแคลน |
penury | (n) ความยากจน, See also: ความอัตคัด, ความขัดสน, Syn. poverty, impoverishment, privation |
poor | (adj) ยากจน, See also: ขัดสน, ขาดแคลน, อัตคัด, ยากแค้น, Syn. needy, penniless, scanty, deprived, Ant. wealthy, well-to-do |
poor white | (n) คนผิวขาวที่ยากจน (โดยเฉพาะในภาคใต้ของอเมริกา) |
poorness | (n) ความยากจน, See also: ความขาดแคลน, Syn. need, poverty, starvation |
poverty-stricken | (adj) ยากจน, See also: ขัดสนมาก, Syn. insolvent, indigent, broke, Ant. solvent |
privative | (adj) ซึ่งยากจน, See also: ซึ่งขัดสน |
starve into | (phrv) ทำให้อดอยากจน (ทำบางสิ่ง) |
starve out | (phrv) ทำให้อดอยากจนยอมจำนน |
underprivilged | (adj) ไม่ได้มีสิทธิเพราะยากจน, See also: ไม่ได้สิทธิเพราะด้อยโอกาส, Syn. deprived, disadvantaged |
waif | (n) คนหนุ่มสาวที่มีรูปร่างบอบบางและดูยากจน |
want | (n) ความยากจน, Syn. indigence, poverty, scarcity, Ant. abundance, adequate, plenty |
workhouse | (n) สถานฝึกอาชีพสำหรับคนยากจน, Syn. poorhouse |
Hope Dictionary
antipoverty | (แอนทีพอฟ' เวอที) adj. ซึ่งบรรเทาหรือขจัดความยากจน (angainst poverty) |
beggary | (เบก'เกอรี) n. ความยากจน, คนขอทาน, ชีวิตคนขอทาน |
bread and cheese marriage | n. การแต่งงานกับชายที่ยากจน |
destitution | (เดสทิทิว'เชิน) n. การขาดแคลน, ความอดอยาก, ความยากจน., See also: destitute adj. |
impecunious | (อิมพะคิว' เนียส) adj. ไม่มีเงิน, ยากจน., See also: impecuniously adv. impecuniousness n., Syn. poor |
impoverish | (อิมพอฟ' เชอริช) vt. ทำให้ยากจนทำให้มีคุณภาพเลว, ทำให้เสื่อม, ทำให้อ่อนกำลัง., See also: impoverisher n. impoverishment n. |
impoverished | (อิมพอฟ' เชอริชทฺ) adj. ยากจน, อ่อนกำลัง, เสื่อม, (ดิน) เลว, Syn. indigent |
indigency | (อิน' ดิเจินซี) n. ความยากจน |
indigent | (อิน' ดิเจินทฺ) adj. ยากจน, ขัดสน, , See also: indigently adv., Syn. poor, needy |
meager | (มี'เกอะ) adj. ขาดแคลน, น้อย, ไม่พอเพียง, ยากจน, ผอม, See also: meagerness n. meagreness n., Syn. poor, scanty |
meagre | (มี'เกอะ) adj. ขาดแคลน, น้อย, ไม่พอเพียง, ยากจน, ผอม, See also: meagerness n. meagreness n., Syn. poor, scanty |
misease | (มิสซีซ') n. ความไม่สบายกาย, ความทุกข์ใจ, ความทนทุกข์, ความยากจน |
miserable | (มิส'เซอระเบิล) adj. ทุกข์ยาก, ไม่มีความสุข, ยากจน, น่าดูถูก, เลว, น่าสังเวช., See also: miserableness n. miserably adv. |
necessity | (นะเซส'ซิที) n. ความจำเป็น, สิ่งจำเป็น, ความขัดสน, ความยากจน. -Phr. (of necessity อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยงเป็นแน่แท้), Syn. want, need |
needy | (นีด'ดี) adj. จำเป็น, ยากจนมาก, See also: needily adv., Syn. necessarily |
pauperise | (พอ'พะไรซ) vt. ทำให้ยากจนมาก, See also: pauperisation n. pauperization n. |
pauperize | (พอ'พะไรซ) vt. ทำให้ยากจนมาก, See also: pauperisation n. pauperization n. |
poor | (พัวร์) adj. ยากจน, ขาดแคลน, ขัดสน, เลว, น่าสงสาร, น่าสังเวช, ไม่มีรสชาติ, ไม่ดีพอ, ไม่สมบูรณ์, ไม่สำคัญ. n. คนจน, See also: poorly adv., Syn. needy, indigent, penniless |
poverty | (พอฟ'เวอที) n. ความยากจน, ความขาดแคลน, ความขัดสน, ความไม่พอเพียง, Syn. indigence, lack |
poverty-stricken | adj. ยากจน, ขัดสนมาก, Syn. extremely poor |
protectory | (พระเทค'ทะรี) n. สถานที่เลี้ยงเด็กกำพร้า, สถานสงเคราะห์เด็กยากจน |
threadbare | (เธรด'แบร์) adj. เก่าแก่, ขาดกระรุ่งกะริ่ง, กร่อน, น่าเบื่อหู, แร้นแค้น, ยากจน, สวมเสื้อผ้าเก่า ๆ, See also: threadbareness n., Syn. ragged, worn |
trash | (แทรช) n. ของเสีย, ของเหลวไหล, ขยะ, หนังสือไร้สาระ, กากอ้อย, ของสวะ, คำพูด, ข้อคิดเห็นหรือข้อเขียนที่เหลวไหล, คนเหลวไหล, คนสวะ, คนผิวขาวที่ยากจน. vt. เล็มกิ่ง, ตัดกิ่ง, เด็ดใบทิ้ง, ทำลายข้าวของ., Syn. stuff, waste, rags, nonsense, refuse, Ant. trea |
underprivileged | (อัน'เดอะพริฟ'วะลิจดฺ) adj. ไม่ได้มีสิทธิเพราะยากจน, ไม่ได้สิทธิเพราะอยู่ในชนชั้นที่ต่ำ |
want | (วอนทฺ) vt. vi., ต้องการ, ปรารถนา, อยาก, ขาดแคลน, หา, ล่า n. สิ่งที่ต้องการ, สิ่งที่จำเป็น, ความขาดแคลน, ความยากจน, การขาดแคลนสิ่งจำเป็นของชีวิต, ความรู้สึกต้องการ Phr. (want out ต้องการออก), See also: wanter n., Syn. esire, lack, sha |
wretched | (เรช'ชิด) adj. เคราะห์ร้าย, น่าเวทนา, ต่ำช้า, ยากจน, เศร้าหมอง, ไร้ค่า, See also: wretchedly adv. wretchedness n., Syn. miserable, destitute, poor |
Nontri Dictionary
beggar | (vt) ทำให้ยากจน, ทำให้หมดตัว, ทำให้หมดเกลี้ยง |
beggarly | (adj) เหมือนขอทาน, ยากจน, ยากไร้ |
beggary | (n) ความยากจน, ความแร้นแค้น, ความยากไร้ |
destitute | (adj) อัตคัด, ขาดแคลน, ยากจน, อดอยาก, ไม่เพียงพอ, สิ้นเนื้อประดาตัว |
destitution | (n) ความอัตคัด, ความขาดแคลน, ความยากจน, ความอดอยาก |
impecunious | (adj) ยากจน, ขัดสน |
impoverish | (vt) ทำให้ไม่อุดมสมบูรณ์, ทำให้ยากจน, ทำให้อ่อนกำลัง |
indigence | (n) ความยากจน, ความขัดสน |
indigent | (adj) ยากจน, ขัดสน, ไม่พอใช้, ขาดแคลน |
needy | (adj) ยากจน, ขาดแคลน, จำเป็น, ซึ่งต้องการมาก |
pauperism | (n) ความยากจน, ความยากไร้, ความอนาถา |
poor | (adj) ยากจน, ขัดสน, น่าสงสาร, เลว, ไม่ดี, ต่ำต้อย |
poverty | (n) ความยากจน, ความขัดสน, ความอัตคัด |
POVERTY-poverty-stricken | (adj) ยากจน, เข็ญใจ, ขัดสน, อัตคัด, ยากไร้ |
starveling | (adj) กระหาย, อดอาหาร, หิวโหย, ยากจน |
wretch | (n) คนสารเลว, คนชั่วช้าสามานย์, คนยากจน, ผู้เคราะห์ร้าย |
wretched | (adj) ยากจน, ชั่วร้าย, ชั่วช้าสามานย์, ต่ำช้า |
wretchedness | (n) ความยากจน, ความชั่วร้าย, ความเคราะห์ร้าย, ความน่าเวทนา |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
heavily indebted poor countries | (uniq) ประเทศยากจนที่มีหนี้สูง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
貧乏 | [びんぼう, binbou] (n, vt, adj) ยากจน ตัวอย่าง 私がびんぼう人です。(ฉันเป็นคนจน) |
Longdo Approved DE-TH
Elend | (n) |das, nur Sg.| ความเดือดร้อน, ความลำบาก, ความเสียใจ, ความทุกข์ เช่น das Elend der Kinder in der dritten Welt = ความยากจน, ความลำบากของเด็กๆในประเทศโลกที่สาม |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0373 seconds, cache age: 2.597 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม