70 ผลลัพธ์ สำหรับ *ปรึกษาหารือ*
ภาษา
หรือค้นหา: ปรึกษาหารือ, -ปรึกษาหารือ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ปรึกษาหารือ | (v) consult, See also: confer with, take/seek advice, discuss, take counsel with, Syn. หารือ, ปรึกษา, ขอความเห็น, ขอคำแนะนำ, พิจารณาหารือ, Example: พรรคฝ่ายค้านปรึกษาหารือกันเรื่องเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล |
การปรึกษาหารือ | (n) consulting, See also: taking counsel with, conferring with, Syn. การปรึกษา, การหารือ, การขอความเห็น, Example: โครงการนี้เขาทำโดยพลการโดยไม่มีการปรึกษาหารือใครทั้งนั้น, Thai Definition: การขอความเห็นแนะนำ, การพิจารณาหารือกัน, การพิจารณาอภิปรายกัน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้ามหัว | ก. ทำโดยพลการไม่บอกกล่าวหรือปรึกษาหารือผู้ที่ควรบอกกล่าวหรือควรปรึกษาหารือ. |
คุย ๑ | ปรึกษาหารือ เช่น เรื่องนี้ขอคุยกันก่อนที่จะตัดสินใจ |
คู่คิด | น. ผู้ร่วมคิดหรือร่วมปรึกษาหารือที่สนิทสนมและรู้ใจกันดี. |
ประชุม | ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ, โดยปริยายใช้หมายถึงเอาสิ่งที่เป็นประเภทเดียวกันมารวมกัน เช่น ประชุมพงศาวดาร ประชุมปาฐกถา, บางทีใช้หมายความอย่างเดียวกับชุมนุม เช่น ประชุมพระบรมราชาธิบาย ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔. |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
สนทนา | (สนทะ-) ก. คุยกัน, ปรึกษาหารือกัน, พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น สนทนาปัญหาบ้านเมือง สนทนาสารทุกข์สุกดิบ. |
สนทนา | (สนทะ-) ว. ที่คุยกัน, ที่ปรึกษาหารือกัน, ที่พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น บทสนทนาในนวนิยาย บทสนทนาภาษาอังกฤษ. |
หัวหลักหัวตอ | น. บุคคลที่นึกว่าตนเป็นคนสำคัญแต่คนอื่นมองข้ามไป เวลาทำงานสำคัญก็ไม่ปรึกษา (มักใช้ในลักษณะแสดงความน้อยอกน้อยใจ), ผู้หลักผู้ใหญ่ที่ถูกผู้น้อยมองข้ามไป เวลาทำงานสำคัญก็ไม่ปรึกษาหารือก่อน (มักใช้ในลักษณะแสดงความน้อยอกน้อยใจ) เช่น เขาเห็นเราเป็นหัวหลักหัวตอไปได้ จะทำอะไรก็ไม่ปรึกษาหารือ. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Forum for Comprehensive Development of Indochina | เวทีเพื่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบในอินโดจีน เป็นความริเริ่มโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นที่จะให้มีเวทีปรึกษาหารือ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม กลไกประกอบด้วยคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะที่ปรึกษาภาคเอกชนโดยเน้นบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาภาค เอกชนตลอดจนการสร้างความเชื่อมโยงกับกรอบความร่วมมือ (GMS) [การทูต] |
Forum for East Asia - Latin America Cooperation | เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
Authoritative, Consultative | หัวหน้างานแบบปรึกษาหารือ [การแพทย์] |
Conferences | การปรึกษาหารือร่วมกัน, การประชุมแบบปรึกษาหารือ, ประชุมกลุ่ม, การประชุมปรึกษาหารือ [การแพทย์] |
Conferences, Planning | การประชุมปรึกษาหารือกัน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การปรึกษาหารือ | [kān preuksāhāreū] (n) EN: consultation ; consulting |
การปรึกษาหารือกัน | [kān preuksāhāreū kan] (n, exp) EN: consultation ; deliberation ; discussion |
ปรึกษาหารือ | [preuksāhāreū] (v, exp) EN: consult ; confer with ; take/seek advice ; discuss ; take counsel with |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
advise with | (phrv) ปรึกษาหารือ, See also: ปรึกษา, Syn. consult with |
bring in on | (phrv) ร่วมปรึกษาหารือกับ, See also: ประชุมตกลงกับ, Syn. get in on |
consult | (vi) ปรึกษา, See also: ขอคำปรึกษา, ขอความคิดเห็น, ปรึกษาหารือ |
consult | (vt) ปรึกษา, See also: ขอคำปรึกษา, ขอความคิดเห็น, ปรึกษาหารือ, Syn. ask the advice of |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, See also: การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น, Syn. conference, deliberation |
council | (n) การประชุมเพื่อปรึกษาหารือ |
deliberative | (adj) เกี่ยวกับการปรึกษาหารือ, Syn. consultative, advisory |
discuss | (vt) สนทนา, See also: แลกเปลี่ยนความเห็น, ปรึกษาหารือ, อภิปราย, ถกเถียง, ถกปัญหา, Syn. consult, analyze, criticize, confabulate |
discussion | (n) การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
talk over | (phrv) ปรึกษา, See also: ขอคำแนะนำ, ขอความเห็น, ปรึกษาหารือ, พิจารณากัน, Syn. consult, talk about |
Hope Dictionary
colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม |
consultation | (คันซัลเท'เชิน) n. การปรึกษา, การประชุมปรึกษาหารือ |
deliberative | adj. (เกี่ยวกับ) การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การปรึกษาหารือ., See also: deliberativeness n. ดูdeliberative, Syn. thoughtful |
huddle | (ฮัด'เดิล) { huddled, huddling.huddles } v. จับกลุ่ม, รวมกลุ่ม, เบียดเสียด, ทำอย่างรีบเร่ง, ใส่เสื้อผ้าอย่างเร่งรีบ, ประชุม, หดม้วน, กอดกันกลม. -n. กลุ่ม, ก้อน, กอง, ความวุ่นวาย, ความสับสน, การประชุม, การปรึกษาหารือ, การจับกลุ่มกัน., See also: huddler n. huddli |
Nontri Dictionary
confer | (vi) ปรึกษาหารือ, ปรึกษา, ประชุม |
conference | (n) การประชุม, การปรึกษาหารือ, การชุมนุม |
consult | (vt) ปรึกษาหารือ, พิจารณา, ขอความเห็น |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, การพิจารณา, การประชุม |
counsel | (n) คำแนะนำ, คำปรึกษา, การปรึกษาหารือ, ที่ปรึกษากฎหมาย, ทนายความ |
deliberate | (vi) ใคร่ครวญ, ตรึกตรอง, ปรึกษาหารือ |
deliberation | (n) การตรึกตรอง, การปรึกษาหารือ, การใคร่ครวญ, เจตนา, ความสุขุมรอบคอบ |
Longdo Approved JP-TH
協議 | [きょうぎ, kyougi] ปรึกษาหารือ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0214 seconds, cache age: 2.784 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม