111 ผลลัพธ์ สำหรับ *ประสม*
ภาษา
หรือค้นหา: ประสม, -ประสม-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ประสม | (v) mix, See also: combine, mingle, amalgamate, add, compound, Syn. ผสม, รวมกัน, ปนกัน, Example: แป้งประสมกับน้ำเป็นแป้งเปียก |
คำประสม | (n) compound word, Ant. คำเดี่ยว, คำมูล, Example: คำบาลีกับคำไทยประสมกันให้อ่านอย่างคำประสมคือไม่มีเสียงอะระหว่างพยางค์, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำที่เกิดจากการนำคำมูลตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคำใหม่ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง |
ประสมโรง | (v) join in, See also: take part in, be involved, Syn. พลอยเข้าด้วย, ร่วมด้วย, Example: พอเธอถูกหัวหน้าตำหนิคนอื่นก็พลอยประสมโรงด้วย |
ประสมโรง | (v) join, See also: amalgamate, combine, Thai Definition: เอาคนที่เป็นลิเกหรือละครเป็นต้นต่างโรงมาเล่นรวมกัน |
สระประสม | (n) diphthong, Ant. สระเดี่ยว, Example: ภาษาไทยมีสระประสม 2 ชนิด คือ สระประสมสองส่วน และสระประสมสามส่วน, Thai Definition: สระที่เกิดขึ้นจากการประสมสระเดี่ยว 2 ตัวขึ้นไปเข้าด้วยกัน, การออกเสียงสระสองเสียงต่อเนื่องกัน โดยการเลื่อนลิ้นไปยังตำแหน่งที่ต่างกัน |
ประสมประเส | (v) add together, See also: join in, Syn. ผสม, ปนกัน, รวมกัน, ประสม, พลอยเข้าด้วย, Example: แจอันพวกนี้บางอันเป็นของแท้ๆ บางอันก็เป็นของปลอมประสมประเสกับของแท้ |
ประสมประสาน | (v) blend, See also: mix, mingle, combine, merge, Syn. ผสมผสาน, ประสาน, Example: ศิลปกรรมของไทยและชวาสามารถประสมประสานกันได้เป็นอย่างดี |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คำประสม | น. คำที่เกิดจากการนำคำมูลที่เกิดอิสระได้ตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคำใหม่ที่มีความหมายใหม่ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง เช่น ลูกเสือ ลูกน้ำ แขกยาม เครื่องใน ไฟฟ้า. |
ประสม | ก. รวมกันเข้า (เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป). |
ประสมประสาน | ก. ผสมผสาน, เก็บรวมไว้ทีละเล็กละน้อย, เก็บเล็กผสมน้อย. |
ประสมประเส | ก. พลอยเข้าด้วย, เก็บเล็กผสมน้อย. |
ประสมพันธุ์ | ก. ผสมพันธุ์. |
ประสมโรง | ก. เอาคนที่เป็นลิเกหรือละครเป็นต้นต่างโรงมาเล่นรวมกัน |
ประสมโรง | พลอยเข้าด้วย. |
ลูกประสม | น. ต้นไม้หรือสัตว์ที่เกิดจากการผสมพันธุ์ต่างชนิดกัน, ลูกผสม ก็ว่า. |
กระแจะ ๑ | น. ผงเครื่องหอมต่าง ๆ ที่ประสมกันสำหรับทา เจิม หรืออบผ้า โดยปรกติมีเครื่องประสม คือไม้จันทน์ แก่นไม้หอม ชะมดเชียง หญ้าฝรั่น. |
กระเบื้อง ๑ | น. วัสดุใช้มุงหลังคา ทำผนังหรือปูพื้น เป็นต้น ทำด้วยดินเผาหรือซีเมนต์ หรือวัสดุอื่น ๆ มักทำเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม มีขนาดต่าง ๆ อาจมีสีหรือลวดลายก็ได้, เครื่องถ้วยชามที่ปั้นด้วยดินประสมอย่างดี เนื้อมีลักษณะแข็งและขาว เคลือบผิวเป็นมัน มีพื้นหรือลวดลายเป็นสีต่าง ๆ เรียกรวมว่า เครื่องกระเบื้อง, ชิ้นของเครื่องกระเบื้องที่แตกออก, กระทะแบน ๆ สำหรับละเลงขนมเบื้องเป็นต้น เดิมทำด้วยดินเผา แต่ปัจจุบันทำด้วยโลหะ |
กล่อม ๓ | (กฺล่อม) น. ชื่อเพลงเครื่องปี่พาทย์ ทำตอนพระเข้าหานาง ซึ่งเรียกว่า โลม หรือตอนขับบำเรอ เรียกว่า กล่อมมโหรี อันใช้เป็นเครื่องสายประสมในภายหลัง และมีชื่อเป็นชนิดต่าง ๆ คือ กล่อมช้าง กล่อมพระยา กล่อมนารี และกล่อมในพิธีพราหมณ์ เรียกว่า ช้าหงส์ หรือ ช้าเจ้าหงส์, ชาวบ้านมักเรียกว่า กล่อมหงส์. |
กะรัต ๒ | (-หฺรัด) น. ปริมาณทองคำแท้ที่ประสมอยู่กับธาตุอื่น โดยกำหนดทองคำและโลหะที่ประสมกันนั้นรวมเป็น ๒๔ ส่วน เช่น ทองคำ ๑๔ กะรัต หมายความว่า มีเนื้อทองคำ ๑๔ ส่วน นอกนั้นอีก ๑๐ ส่วนเป็นธาตุอื่นประสม. |
เกรียบ | (เกฺรียบ) น. ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเพื่อให้แข็ง เรียกว่า ตะกั่วเกรียบ |
เกลือก ๒ | (เกฺลือก) สัน. หาก, ถ้า, แม้, บางที, เผื่อว่า, มักใช้ว่า เกลือกว่า เช่น แม่อย่าสามานย์ด้วยวาจา มันจะตามถ้อยคำเข้ามาประสมประสาน เกลือกว่าเหยื่อมันสาธารณ์แม่จะอดสู (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ข้าวเกรียบอ่อน | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า ประสมกับนํ้าตาลโตนดหรือนํ้าตาลมะพร้าว ละเลงบนผ้าที่ขึงปากหม้อน้ำเดือด มีไส้ทำด้วยถั่วและมะพร้าว กินกับนํ้าตาลคลุกงา. |
ข้าวเบือ | น. ข้าวสารที่ตำละเอียด ใช้ประสมกับนํ้าแกงเพื่อให้นํ้าแกงข้น. |
เข้า ๑ | ประสม, แทรก, เช่น เข้ายาดำ |
คมน-, คมน์ | (คะมะนะ-, คมมะนะ-, คม) น. การไป, การถึง, มักใช้ประสมกับคำอื่น เช่น สรณคมน์ คมนาการ. |
คราญ | (คฺราน) ว. งาม, สวย, น่ารัก, ใช้ประสมกับคำอื่น เช่น นงคราญ สะคราญ. |
คำมูล | น. คำคำเดียวที่ไม่ได้ประสมกับคำอื่น เช่น ยาม แขก นาฬิกา. |
จานเจือ | ก. เพิ่มเติม, ประสม |
เจ่า ๑ | น. อาหารชนิดหนึ่ง ทำด้วยกุ้งหรือปลาประสมด้วยข้าวหมาก เรียกว่า กุ้งเจ่า ปลาเจ่า, ถ้าหลนกับกะทิ เรียกว่า หลนกุ้งเจ่า หลนปลาเจ่า ใช้เป็นเครื่องจิ้ม. |
เจือ | ก. เอาส่วนน้อยประสมลงไปในส่วนมากให้ระคนปนกัน ตามปรกติใช้กับของเหลว เช่น เอานํ้าเย็นเจือนํ้าร้อน |
เจือปน | ก. เอาส่วนน้อยประสมลงในส่วนมากเพื่อให้ระคนปนเป็นอันเดียวกัน. |
ชาด | น. วัตถุสีแดงสดชนิดหนึ่ง เป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี ใช้ทำยาไทยหรือประสมกับนํ้ามันสำหรับประทับตราหรือทาสิ่งของ. |
ชาดหรคุณ | (ชาดหอระ-) น. ชาดประสมกับปรอทและกำมะถันเพื่อจะให้ชาดจับแน่นกับเนื้อทองดุจกะไหล่และเพื่อจะให้สุก. |
เชื่อม ๑ | ก. ทำของหวานอย่างหนึ่ง โดยเอานํ้าตาลใส่นํ้าตั้งไฟเคี่ยวให้ละลาย แล้วใส่สิ่งที่ต้องการเคี่ยวจนได้ที่ เช่น เชื่อมกล้วย, ต้มน้ำตาลกับน้ำให้ใส เพื่อประสมกับสิ่งอื่น เช่น เชื่อมน้ำตาล. |
เชื่อม ๑ | ว. เรียกนํ้าหวานที่เอานํ้าตาลต้มให้ใสเพื่อใช้ประสมหรือเคี่ยวกับสิ่งอื่น ว่า นํ้าเชื่อม |
ซั้ว ๒ | น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง มักต้มผักหลายชนิดและเนื้อสัตว์ให้สุกก่อนแล้วจึงนำมาหั่นหรือฉีกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหม้อต้มใหม่พร้อมกับเครื่องปรุงประสมปลาร้า เช่น ซั้วไก่ ซั้วกบ. |
ดินดำ | น. ผงถ่านประสมกำมะถันกับดินประสิวเป็นต้น ใช้เป็นวัตถุระเบิด, ดินปืน ก็เรียก. |
ดินนวล | น. ดินประสมอย่างหนึ่ง ใช้ในการหล่อ |
ตะกั่วเกรียบ | น. ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเช่นสังกะสี นิยมใช้ทำพระเครื่อง. |
ตัง ๑ | น. ยางไม้ที่ประสมกับสิ่งอื่น แล้วทำให้เหนียวสำหรับดักนกเป็นต้น. |
ถมปัด | น. ภาชนะทองแดงที่เคลือบนํ้ายาประสมด้วยลูกปัดป่นให้เป็นผงให้เป็นสีและลวดลายต่าง ๆ. |
ท ๒ | ใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซอ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียง ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ อินทรา นิทรา อิเล็กทรอนิกส์. |
ทองหยอด | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยไข่แดงประสมแป้งเล็กน้อย หยอดเป็นลูกกลม ๆ อย่างหยดนํ้าในนํ้าเชื่อมเดือด ๆ, ลักษณนามว่า ลูก. |
ทองม้วน | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งประสมกับกะทิและไข่ เทราดลงในพิมพ์ซึ่งมักมีลักษณะกลมให้เป็นแผ่นบาง ๆ ผิงไฟให้สุกแล้วม้วนเป็นหลอด, ถ้าพับเป็นชิ้น เรียก ทองพับ, มีทั้งอย่างรสเค็มและรสหวาน. |
นพเก้า | ชื่อแกงชนิดหนึ่งมีลักษณะคล้ายแกงส้ม ปรุงด้วยผักหลายชนิด เช่น ผักกระเฉด ผักบุ้ง ประสมปลาร้า, แกงซั้ว ก็เรียก. |
น้ำยา ๑ | สิ่งที่ประสมเป็นนํ้าสำหรับจิตรกรรมหรือระบายภาพ |
เนียม ๑ | ชื่อไม้พุ่มชนิด Strobilanthes nivea Craib ในวงศ์ Acanthaceae ดอกเล็ก สีม่วงอ่อน ใบมีกลิ่นหอมใช้ประสมปูนกินกับหมาก, เนียมสวน ก็เรียก, อีสานเรียก อ้ม. |
บท ๒, บท- ๒ | (บด, บดทะ-) น. เท้า, รอยเท้า, เช่น จตุบท, ในบทกลอนใช้ประสมกับคำอื่น ๆ หมายความว่า เท้า คือ บทบงกช บทบงสุ์ บทมาลย์ บทรัช บทเรศ บทวเรศ บทวลัญช์ บทวาร บทศรี บทามพุช, (ดูคำแปลที่คำนั้น ๆ ). |
เบือ | น. ข้าวสารที่ตำประสมกับเครื่องแกงเพื่อให้นํ้าแกงข้น เรียกว่า ข้าวเบือ, เรียกสากไม้ที่ใช้ตำข้าวเบือหรือนํ้าพริก ว่า สากกะเบือ, เรียกครกดินที่ใช้ตำข้าวเบือหรือนํ้าพริก ว่า ครกกะเบือ. |
ปน | ก. ประสมกัน เช่น ข้าวเจ้าปนข้าวเหนียว, แกมกัน เช่น พูดไทยปนฝรั่ง, รวมกัน เช่น อย่าเอาผ้านุ่งกับเสื้อซักปนกัน, ถ้าเอาส่วนน้อยประสมลงในส่วนมากเพื่อให้ระคนปนเป็นอันเดียวกัน เรียกว่า เจือปน, ถ้าเป็นในลักษณะที่ปนกันทั้งเล็กและใหญ่ ทั้งดีและชั่ว เรียกว่า คละปน. |
ประกอบ | ประสมหรือปรุงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ประกอบยา |
ปรุง | (ปฺรุง) ก. ประสมหรือประกอบให้เหมาะส่วน. |
ปี่พาทย์นางหงส์ | น. วงปี่พาทย์ที่ใช้บรรเลงเฉพาะในงานอวมงคล เรียกชื่อตามเพลงซึ่งใช้เป็นหลักในการบรรเลง คือ เพลงเรื่องนางหงส์ อัตรา ๒ ชั้น การประสมเครื่องดนตรีเหมือนวงปี่พาทย์ธรรมดาประสมกับวงบัวลอย แต่ใช้ปี่ชวาแทนปี่ใน ใช้กลองมลายูแทนตะโพนหรือกลองทัด. |
ปีบ ๑ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Millingtonia hortensis L.f. ในวงศ์ Bignoniaceae ใบเป็นใบประกอบ ดอกยาว สีขาว กลิ่นหอม ดอกแห้งใช้ประสมยาสูบ, พายัพเรียก กาซะลอง, อีสานเรียก กางของ. |
ผสมพันธุ์ | ก. สืบพันธุ์, คัดเลือกพันธุ์ที่มีคุณภาพมาผสมกัน, ประสมพันธุ์ ก็ว่า. |
ผอก ๑ | ปลาหรือกุ้งประสมตำกับเกลือ. |
พลอย ๒ | (พฺลอย) ว. ร่วมด้วย, ประสมด้วย, ตามไปด้วย, ในลักษณะเช่นเห็นเขาเดินขบวนกันแล้วเดินตามเขาไป เห็นคนอื่นเขาทำกันแล้วก็ร่วมกับเขาด้วย. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
rising diphthong | สระประสมเน้นเสียงหลัง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
opening diphthong | สระประสมเลื่อนลง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
biomechanical rock; bioclastic rock | หินเนื้อประสมชีวภาพ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
bioclastic rock; biomechanical rock | หินเนื้อประสมชีวภาพ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
mosaic verse | บทร้อยกรองประสม, บทร้อยกรองโมเสก [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Multipurpose Internet Multimedia Extensions (MIME) | ส่วนขยายสื่อประสมในระบบอินเทอร์เน็ตแบบอเนกประสงค์ (ไมม์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Multipurpose Internet Multimedia Extensions (MIME) | ส่วนขยายสื่อประสมในระบบอินเทอร์เน็ตแบบอเนกประสงค์ (ไมม์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
multimedia | ๑. สื่อประสม๒. สื่อหลายแบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
multimedia | ๑. สื่อประสม๒. สื่อหลายแบบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mixed metaphor | อุปลักษณ์ประสม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
MIME (Multipurpose Internet Multimedia Extensions) | ไมม์ (ส่วนขยายสื่อประสมในระบบอินเทอร์เน็ตแบบอเนกประสงค์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
MIME (Multipurpose Internet Multimedia Extensions) | ไมม์ (ส่วนขยายสื่อประสมในระบบอินเทอร์เน็ตแบบอเนกประสงค์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
closing diphthong | สระประสมเลื่อนขึ้น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
clastic | ๑. -เศษหิน๒. หินเนื้อประสม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
clastic rock | หินเนื้อประสม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
clastic sediment | ตะกอนเศษหิน, ตะกอนเนื้อประสม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
diphthong | สระประสมสองเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
falling diphthong | สระประสมเน้นเสียงแรก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
intermediate policy | กรมธรรม์แบบประสม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
triphthong | สระประสมสามเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Interactive multimedia | สื่อประสมเชิงโต้ตอบ, ส่วนมากใช้ สื่อประสมปฏิสัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Multimedia | สื่อประสม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Multimedia | สื่อประสม, มัลติมีเดีย [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Mixed notation | สัญลักษณ์ประสม, Example: คือ สัญลักษณ์ที่มีหลายอย่างประสมกัน เช่น มีตัวเลขและตัวอักษร เช่น สัญลักษณ์ของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ตัวอย่าง <p> Z 659 หมายถึง หนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดหมู่และการทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hypertext Markup Language( HTML) | เอชทีเอ็มแอล, ภาษาที่ใช้จัดรูปแบบการแสดงผลของข้อความและรูปภาพ รวมถึงสื่อประสมบนหน้าเว็บ ดังนั้นเอชทีเอ็มแอลจึงไม่ได้ถูกจัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างแท้จริง แต่เป็นการกำหนดวิธีการในการแสดงผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
คำประสม | [kham prasom] (n, exp) EN: compound word |
ประสม | [prasom] (v) EN: mix ; combine ; mingle ; amalgamate ; add ; compound ; put together FR: mélanger ; combiner ; allier ; mêler |
ประสมพันธุ์ | [prasomphan] (v) EN: breed |
ประสมพันธุ์สุกร | [prasomphan sukøn] (v, exp) EN: mate pigs |
ประสมประสาน | [prasomprasān] (v) EN: blend ; mix ; mingle ; combine ; merge |
ประสมประเส | [prasomprasē] (v) EN: add together ; join in |
ประสมโรง | [prasomrōng] (v) EN: join in ; take part in ; be involved |
ประสมสัตว์ | [prasom sat] (v, exp) EN: breed animals FR: élever des animaux |
ประสมสี | [prasom sī] (v, exp) EN: mix colours FR: mélanger les couleurs |
ประสมยา | [prasom yā] (v, exp) EN: make up a medicine ; compound a medicine ; prepare a prescription |
สถานีประสมพันธุ์สัตว์ | [sathānī prasomphan sat] (n, exp) EN: breeding station ; breedind centre |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
blend | (n) คำประสม |
compound | (n) คำประสม |
harmonize | (vt) ทำให้เข้ากันได้, See also: ทำให้ปรองดอง, ทำให้ประสมกลมกลืน |
join | (phrv) มีส่วนร่วม, See also: ประสมโรง, Syn. take part in, participate |
synthesis | (n) การปะติดปะต่อ, See also: การรวมสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกัน, การประสม, Syn. organization, combination, integration, Ant. separation, disseminating |
synthesize | (vi) รวมสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกัน, See also: ปะติดปะต่อ, ประสม, Syn. combine, integrate, organize |
synthesizer | (n) อุปกรณ์ในเครื่องดนตรีที่ทำให้เกิดและปรับประสมเสียง, Syn. musical instrument |
take part in | (phrv) เข้าไปมีส่วนร่วม, See also: ประสมโรง |
Nontri Dictionary
compound | (n) บริเวณ, สารประกอบ, ของเจือ, คำประสม |
synthesis | (n) การปะติดปะต่อ, การสังเคราะห์, การประสม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
mechatronics | (n) เป็นคำประสมระหว่าง mechanics กับ electronics รวมกันเป็นศาสตร์ในการสร้างหุ่นยนต์, See also: cybernetics, robotics |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
落札 | [らくさつ, rakusatsu] (n, vt) ประสมความสำเร็จในการประมูล |
合成 | [ごうせい, gousei] (n) (n) การปะติดปะต่อ, การสังเคราะห์, การประสม |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
調合 | [ちょうごう, chougou] TH: การประสม EN: compounding |
Longdo Approved FR-TH
permis de conduire | (n) |m| ใบอนุญาตขับขี่รถ (สังเกตว่าเพศของคำประสมนี้จะตามนามตัวหน้า) |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0254 seconds, cache age: 2.455 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม