108 ผลลัพธ์ สำหรับ *ประชาสัมพันธ์*
ภาษา
หรือค้นหา: ประชาสัมพันธ์, -ประชาสัมพันธ์-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ | (n, phrase) English for Advertising and Public Relations |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ประชาสัมพันธ์ | (n) public relations, Syn. การโฆษณา, การบอกข่าว, การบอกกล่าว, Example: เขามาช่วยงานประชาสัมพันธ์ |
ประชาสัมพันธ์ | (v) publicize, See also: advertise, Syn. แพร่ข่าว, กระจาย, ป่าวประกาศ, โฆษณา, เผยแพร่, ป่าวร้อง, แจ้ง, Example: ภาคเอกชนมีการเตรียมพร้อมที่จะประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว |
กรมประชาสัมพันธ์ | (n) Public Relations Department, Example: กรมประชาสัมพันธ์ได้จัดเตรียมการประชาสัมพันธ์ในงานวันกาชาดไทย |
นักประชาสัมพันธ์ | (n) public relations personnel, Count Unit: คน |
พนักงานประชาสัมพันธ์ | (n) public relations officer |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ประชาสัมพันธ์ | ก. ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน. |
ประชาสัมพันธ์ | น. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการนี้. |
จดหมายข่าว | น. แผ่นปลิวหรือจุลสารที่ลงข่าวสาร มักใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์หน่วยงาน องค์กร สมาคม หรือชมรม. |
นิเทศศาสตร์ | (นิเทดสาด) น. วิชาว่าด้วยการสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์. |
เป่าแตร | ก. ป่าวประกาศ, ประชาสัมพันธ์. |
แผ่นพับ | น. แผ่นปลิวที่ให้ข้อมูลเฉพาะเรื่องในการประชาสัมพันธ์ มักจัดข้อมูลเป็นหัวข้อและพับเป็นรูปเล่ม เช่น แผ่นพับวิธีป้องกันไข้หวัด แผ่นพับประชาสัมพันธ์งานนิทรรศการ. |
สัมภาษณ์ | ก. สนทนาหรือสอบถามเพื่อนำเรื่องราวไปเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์หรือวิทยุกระจายเสียงเป็นต้น เช่น เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์สัมภาษณ์นายกราชบัณฑิตยสถานเกี่ยวกับความเป็นมาของราชบัณฑิตยสถาน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
public relations | การประชาสัมพันธ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
public relations | การประชาสัมพันธ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relations, public | การประชาสัมพันธ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Library public relations | การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Government information agencies | หน่วยประชาสัมพันธ์ของรัฐ [TU Subject Heading] |
Government publicity | การประชาสัมพันธ์ของรัฐ [TU Subject Heading] |
Industrial publicity | การประชาสัมพันธ์ทางธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Institutional advertising | โฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Internet in public relations | อินเตอร์เน็ตในการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Personals | การประชาสัมพันธ์บุคคล [TU Subject Heading] |
Public relations | การประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Public relations and law | การประชาสัมพันธ์กับกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Public relations and politics | การประชาสัมพันธ์กับการเมือง [TU Subject Heading] |
Public relations consultants | ที่ปรึกษาทางการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Public relations firms | บริษัทประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
Public relations personnel | บุคลากรทางการประชาสัมพันธ์ [TU Subject Heading] |
School publicity | การประชาสัมพันธ์ทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การประชาสัมพันธ์ | [kān prachāsamphan] (n, exp) EN: public relations FR: relations publiques [ fpl ] |
กรมประชาสัมพันธ์ | [Krom Prachāsamphan] (org) EN: Public Relations Department |
แผนกประชาสัมพันธ์ | [phanaēk prachāsamphan] (n, exp) EN: public relations section |
ประชาสัมพันธ์ | [prachāsamphan] (n, exp) EN: public relations FR: relations publiques [ fpl ] |
Longdo Approved EN-TH
public relations department | (n) กรมประชาสัมพันธ์ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
desk clerk | (n) ประชาสัมพันธ์ในโรงแรม, Syn. receptionist |
fanfare | (n) การโฆษณา, See also: การป่าวประกาศ, การประชาสัมพันธ์, Syn. exhibition, show |
press agent | (n) เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์, Syn. advertiser, publicizer |
propaganda | (n) ข้อมูลประชาสัมพันธ์, See also: ข้อมูลเผยแพร่เพื่อประชาสัมพันธ์ |
public relations | (n) งานประชาสัมพันธ์ |
publicist | (n) นักประชาสัมพันธ์, Syn. publicizer |
Hope Dictionary
exploitation | (เอคซฺพลอยเท'เชิน) n. การใช้หาประโยชน์, การใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว, การส่งเสริมโดยการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์, Syn. manipulation |
fanfare | (แฟน'แฟรฺ) n. เสียงแตรที่ดังกังวาล, การแสดงโอ้อวด, การโฆษณา, การประชาสัมพันธ์, การประโคม, แตรเดี่ยว |
information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) |
presentation graphics | ภาพเพื่อการนำเสนอหมายถึง ซอฟต์แวร์ประเภทที่มุ่งไปในด้านการนำเสนอผลงานที่ชวนให้ประทับใจ โดยเฉพาะ เพื่อนำไปใช้ประกอบการบรรยาย หรืองานประชาสัมพันธ์ เป็นต้นว่า จะต้องสามารถแปลงตัวเลขใน ตารางจัดการ เป็นผังงาน กราฟ ฯ แล้วสามารถนำข้อความ ภาพ และเสียง หรือที่เรียกว่า สื่อหลายแบบ (multimedia) มาจัดเสนอในรูปแบบที่จะดึงดูดใจให้ดูน่าเชื่อถือ กับทั้งอาจจัดทำเป็น สไลด์ หรือแสดงบนจอภาพแล้วถ่ายทอดออกทางเครื่องฉายข้ามศีรษะ (overhead projector) ได้ นับเป็นการแสดงถึงเทคโนโลยีชั้นสูงอย่างหนึ่ง โปรแกรมที่ใช้กันมาก ก็มี Freelance, HiJack ฯ |
public relations | n. ประชาสัมพันธ์ |
publicist | (พับ'ลิซิสทฺ) n. นักหนังสือพิมพ์, นักประชาสัมพันธ์, นักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนหรือการเมือง, ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายมหาชน หรือกฎหมายระหว่างประเทศ |
publicity | (พับลิส'ซิที) n. การโฆษณา, การเผยแพร่, การประชาสัมพันธ์, ชื่อเสียง |
vaporware | เวเพอร์แวร์ <คำอ่าน>หมายถึง ผลิตภัณฑ์สินค้า ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ยังไม่มีการผลิตออกสู่ตลาด จริง ๆ แต่มีการประชาสัมพันธ์ราวกับว่าได้มีการผลิตออกมาเรียบร้อยแล้ว ชักชวนให้เชื่อว่า จะปฏิวัติระบบเก่า ๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ที่สามารถสั่งงานได้ด้วยเสียงพูด แต่จริง ๆ แล้ว กว่าจะผลิตออกขายได้ ยังต้องใช้เวลาพัฒนาอีกนาน |
Nontri Dictionary
PUBLIC public relations | (n) การประชาสัมพันธ์ |
publicist | (n) นักเขียนข่าวการเมือง, นักหนังสือพิมพ์, นักประชาสัมพันธ์ |
publicity | (n) การโฆษณา, การประกาศ, การเปิดเผย, การเผยแพร่, การประชาสัมพันธ์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cbd | (abbrev) ย่อมาจาก "central business district" มักใช้ในการประชาสัมพันธ์สถานที่เพื่อระบุว่า อยู่ในเมือง เช่น "Bangkok CBD" เกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย์ หรือรับสมัครงาน ฯลฯ |
Longdo Approved JP-TH
受付 | [うけつけ, uketsuke] (n) โต๊ะประชาสัมพันธ์, เคาว์เตอร์ต้อนรับ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
広報 | [こうほう, kouhou] (n) (n) กรมประชาสัมพันธ์ |
受付 | [うけつけ, uketsuke, uketsuke , uketsuke] (n) ที่ติดต่อสอบถาม, โต๊ะประชาสัมพันธ์ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0247 seconds, cache age: 0.07 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม