69 ผลลัพธ์ สำหรับ *บำเหน็จ*
ภาษา
หรือค้นหา: บำเหน็จ, -บำเหน็จ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บำเหน็จ | (n) bonus, See also: premium, reward, Syn. รางวัล, Example: พระราชาปูนบำเหน็จให้ชายหนุ่มมากมาย เพราะพอใจในความฉลาดของเขา, Thai Definition: ค่าเหนื่อย, ค่าความชอบเป็นพิเศษ |
บำเหน็จ | (n) pension, Syn. เงินบำเหน็จ, เบี้ยบำเหน็จ, Example: แม่ได้รับบำเหน็จของพ่อเลี้ยงที่ตายไปจำนวน 300, 000 บาทเรียบร้อยแล้ว, Thai Definition: เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมา ซึ่งจ่ายครั้งเดียวเมื่อออกจากงาน, Notes: (กฎหมาย) |
ค่าบำเหน็จ | (n) pension, Syn. เงินบำเหน็จ, บำเหน็จ, Example: เขาตัดสินใจลาออกจากราชการ เพื่อรับค่าบำเหน็จ ซึ่งคำนวณดูแล้วเป็นเงินก้อนพอที่จะปลูกบ้านได้, Thai Definition: เงินตอบแทนความชอบที่ได้รับราชการมา ซึ่งจ่ายครั้งเดียวเมื่อออกจากงาน |
ปูนบำเหน็จ | (v) reward (with a gift), See also: give, distribute, allot, bestow, mete, Syn. ให้รางวัล, Example: รัฐบาลได้ปูนบำเหน็จให้เขาในฐานะที่ปฏิบัติงานได้ผล |
เงินบำเหน็จ | (n) pension, See also: retirement pay, Syn. บำเหน็จ, Example: หลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว เขาได้รับเงินบำเหน็จมาก้อนหนึ่ง, Count Unit: ก้อน, Thai Definition: เงินตอบแทนที่ได้ทำงานมา ซึ่งจ่ายครั้งเดียวเมื่ออกจากงาน |
เบี้ยบำเหน็จ | (n) reward, See also: remuneration, prize, premium, bonus, gratuity, Syn. เงินรางวัล |
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | (n) The Government Pension Fund, Syn. กบข., Example: กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการได้จัดส่งใบแจ้งยอดกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ประจำปี 2545 ให้สมาชิก เพื่อนำไปประกอบการหักลดหย่อนภาษี |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ เรียกชื่อย่อว่า กบข. |
ความชอบ | น. คุณงามความดีที่ควรได้รับบำเหน็จรางวัล. |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | น. สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบำเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด. |
ตกทอด | เรียกบำเหน็จหรือบำนาญที่ตกแก่ทายาทของผู้รับบำเหน็จหรือบำนาญ ว่า บำเหน็จตกทอด หรือ บำนาญตกทอด. |
นายคลังสินค้า | น. บุคคลผู้รับทำการเก็บรักษาสินค้าเพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปรกติของตน. |
นายหน้า | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะให้ค่าบำเหน็จแก่อีกบุคคลหนึ่งเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทำสัญญาหรือจัดการให้ได้ทำสัญญากัน |
นายหน้า | บุคคลผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลสองฝ่ายได้เข้าทำสัญญากัน โดยจะได้รับบำเหน็จเป็นการตอบแทน. |
นายหน้าประกันชีวิต | น. ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญาประกันชีวิตกับบริษัทโดยกระทำเพื่อบำเหน็จเนื่องจากการนั้น. |
นายหน้าประกันวินาศภัย | น. ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทำสัญญาประกันภัยกับบริษัทโดยกระทำเพื่อบำเหน็จเนื่องจากการนั้น. |
โบนัส | น. เงินพิเศษที่รัฐวิสาหกิจ องค์การ บริษัท ห้างร้าน เป็นต้น จ่ายให้เป็นบำเหน็จรางวัลแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ของตน นอกเหนือจากเงินเดือนค่าจ้าง, เงินที่ให้เป็นส่วนแบ่งพิเศษแก่ผู้ถือหุ้น. |
ปลดออก | น. โทษทางวินัยสถานหนึ่ง ที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ซึ่งมีผลให้ข้าราชการผู้นั้นออกจากราชการ แต่ยังมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าผู้นั้นลาออก. |
ปูน ๓ | ก. แจก, ปัน, ให้, เช่น ปูนบำเหน็จ. |
ผู้ขนส่ง | น. บุคคลผู้รับขนส่งของหรือคนโดยสารเพื่อบำเหน็จเป็นทางค้าปรกติของตน. |
รัตนาภรณ์ | น. เหรียญบำเหน็จส่วนพระองค์ที่สร้างขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ผู้จงรักภักดีและทรงคุ้นเคยรู้จัก เพื่อเป็นเครื่องหมายในพระมหากรุณาธิคุณ มี ๕ ชั้น, เดิมเรียกว่า รจนาภรณ์. |
ไล่ออก | น. โทษทางวินัยสถานหนักที่สุดที่ใช้ลงแก่ข้าราชการผู้กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง มีผลให้พ้นจากราชการโดยไม่มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญ. |
สินจ้าง | น. เงินค่าบำเหน็จตอบแทน |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
plum | ตำแหน่งที่ให้เป็นบำเหน็จทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
profit commission | ค่าบำเหน็จกำไร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
return commission | ค่าบำเหน็จจ่ายคืน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
remuneration | สินจ้าง, บำเหน็จ, ค่าตอบแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
super profit commission | ค่าบำเหน็จกำไรเพิ่มพิเศษ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sliding scale commission | คำบำเหน็จนายหน้าอัตราเลื่อน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brokerage | ค่าบำเหน็จนายหน้า [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brokerage; brocage; brokage | ค่าบำเหน็จนายหน้า, การเป็นนายหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brocage; brokage; brokerage | ค่าบำเหน็จนายหน้า, การเป็นนายหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brokage; brocage; brokerage | ค่าบำเหน็จนายหน้า, การเป็นนายหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commission | ค่าบำเหน็จ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commission | ๑. ค่าป่วยการ, ค่าบำเหน็จ (ก. แพ่ง)๒. คณะกรรมการ, คณะข้าหลวง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
carry passengers for a consideration | รับขนคนโดยสารเพื่อบำเหน็จ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collecting commission | ค่าบำเหน็จรับค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
gratuity | เงินรางวัล, เงินบำเหน็จ, ค่าตอบแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factorage | ค่าบำเหน็จตัวแทนค้าต่าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ | สิ่งซึ่งเป็นเครื่องหมายแสดงเกียรติยศและบําเหน็จความชอบ เป็นของพระมหากษัตริย์ทรงสร้างหรือโปรดให้สร้างขึ้นสําหรับพระราชทานเป็น บำเหน็จความชอบในราชการหรือส่วนพระองค์, เรียกเป็นสามัญว่า ตรา, ปัจจุบันหมายความรวมถึงเครื่องราช-อิสริยาภรณ์สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำ ความดีความชอบอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศ ศาสนา และประชาชน และเหรียญที่ระลึกที่พระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบในโอกาสต่าง ๆ และที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บุคคลประดับได้อย่างเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตามที่ทางราชการกำหนด [ศัพท์พระราชพิธี] |
Old age pensions | บำเหน็จบำนาญชราภาพ [TU Subject Heading] |
Pension trusts | กองทุนบำเหน็จบำนาญ [TU Subject Heading] |
Pensions | บำเหน็จบำนาญ [TU Subject Heading] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Pension fund | กองทุนบำเหน็จ, บำนาญ [การบัญชี] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บำเหน็จ | [bamnet] (n) EN: pension ; retirement allowance FR: pension [ f ] |
บำเหน็จ | [bamnet] (n) EN: bonus ; premium ; reward ; gratuity ; benefit FR: prime [ f ] ; rémunération [ f ] ; rétribution [ f ] |
ค่าบำเหน็จ | [khā bamnet] (n, exp) EN: commission |
กองทุนบำเหน็จบำนาญ | [køngthun bamnet bamnān] (n, exp) EN: pension fund FR: fonds de pension [ m ] ; fonds de retraite [ m ] |
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ | [Køngthun Bamnet Bamnān Khārātchakān] (n, prop) EN: Government Pension Fund (GPF) |
เงินบำเหน็จ | [ngoen bamnet] (n, exp) EN: pension ; retirement pay ; gratuity FR: pension [ f ] |
ปูนบำเหน็จ | [pūn bamnet] (v, exp) EN: reward ; give ; distribute ; allot ; bestow ; mete FR: récompenser |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
award | (vt) ให้รางวัล, See also: มอบรางวัล, ปูนบำเหน็จ, Syn. grant, give, confer |
perpetuity | (n) เงินบำเหน็จ (รายปีหรือตลอดชีพ) |
senior citizen | (n) ผู้สูงอายุมักเป็นผู้ที่เกษียณแล้วและรับเบี้ยบำเหน็จบำนาญ, Syn. oldster |
vesting | (n) การให้บำเหน็จบำนาญเมื่อเกียณแล้ว |
Hope Dictionary
perpetuity | (เพอพิทู'อิที) n. ความเป็นอมตะ, ความไม่มีที่สิ้นสุด, กรรมสิทธิ์ตลอดชีพ, เงินบำเหน็จรายปีตลอดชีพ |
Nontri Dictionary
honour | (vt) ปูนบำเหน็จ, ติดยศ, ให้เกียรตินิยม |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0254 seconds, cache age: 0.389 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม