196 ผลลัพธ์ สำหรับ *บรรทัด*
ภาษา
หรือค้นหา: บรรทัด, -บรรทัด-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
rechtsstaat | (n) ประเทศที่ใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตีบรรทัด | (v) rule, See also: draw a line, make lines, Syn. ขีดเส้น, ตีเส้น, Example: หนูน้อยใช้ไม้บรรทัดตีบรรทัดบนกระดานชนวน, Thai Definition: ทำให้เป็นเส้นบรรทัดตามแนวนอน |
ไม้บรรทัด | (n) ruler, See also: straightedge, Example: เด็กใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของสี่เหลี่ยม, Count Unit: เล่ม, อัน, Thai Definition: อุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตีบรรทัด | ก. ทำให้เป็นเส้นบรรทัดตามแนวนอน. |
บรรทัด | (บัน-) น. ข้อความที่เขียนหรือพิมพ์ต่อเนื่องกันเป็นแถวเป็นแนวแต่ละแนว เช่น ตัดบรรทัดที่ ๒๐ ออก, ลักษณนามว่า บรรทัด เช่น ให้เขียนเรียงความอย่างน้อย ๕๐ บรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเต็มช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวเต็มบรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเพียงครึ่งหนึ่งของช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวครึ่งบรรทัด, เรียกอุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง ว่า ไม้บรรทัด, เรียกเส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น ว่า เส้นบรรทัด. |
บรรทัดฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ, ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. |
บรรทัดรองมือ | น. อุปกรณ์อย่างหนึ่งสำหรับจิตรกรใช้รองมือเขียนภาพ เป็นไม้แบน ๆ ยาว ๑-๒ ฟุต กว้างประมาณ ๑ นิ้ว หุ้มปลายข้างหนึ่งด้วยสำลีพันกระดาษฟางหรือผ้าเนื้อนุ่ม. |
บรรทัดราง | น. อุปกรณ์อย่างหนึ่งของช่างไม้ เป็นเชือกพันลูกรอกอยู่ในรางไม้ เมื่อดึงปลายเชือกออกจากรอก เชือกจะผ่านกระปุกซึ่งมีสีดำหรือสีแดงบรรจุอยู่ทำให้เชือกติดสี เมื่อดึงเชือกให้ตึงตรงแนวพื้นกระดานเป็นต้นที่ต้องการขีดเส้นแล้วดีด สีจากเชือกจะติดพื้นเป็นเส้นตรงตามต้องการ. |
ไม้บรรทัด | น. อุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง, (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า บรรทัด. |
รางบรรทัด | น. เครื่องตีเส้นบรรทัดบนใบลาน. |
เส้นบรรทัด | น. เส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น. |
กระหมวด ๒ | น. จอมประสาทหัวช้าง เป็นอวัยวะสำคัญที่เกิดขนช้างฐาน ๑ ใน ๕ ฐาน คือ ขนที่หู หาง บรรทัดหลัง กระหมวดหรือโขมด ราวชัก (คือ สีข้างช้าง แต่โดยนิยมถือเอาเฉพาะแนวที่สายประโคนรัด ซึ่งถัดจากขาหน้าไปหน่อยหนึ่ง), ในการดูลักษณะช้างเผือก ใช้ตรวจขนทั้ง ๕ ฐานนี้ เป็นทางประกอบการพิจารณา. |
กุญแจ ๒ | น. เครื่องหมายกำหนดระดับเสียงตัวโน้ตตามหลักดนตรีสากล ปรกติเขียนไว้ซ้ายสุดของบรรทัด ๕ เส้น. |
ขึ้น ๑ | เริ่ม เช่น ขึ้นหนุ่ม ขึ้นบรรทัดใหม่ |
ควง | รวมหรือโยงเข้าในกลุ่มเดียวกัน เช่น เครื่องหมายปีกกาใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน |
ฉีกคำ | ก. แยกพยางค์ของคำให้อยู่คนละวรรคหรือคนละบรรทัด มักใช้ในคำประพันธ์. |
ตาไก่ | น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปคล้ายตาไก่ ดังนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ฟองมัน ก็เรียก |
ตีเส้น | ก. ทำให้เป็นแนวตรงด้วยไม้บรรทัดหรือด้ายชุบสีดำเป็นต้น. |
แบบฉบับ | น. หลักปฏิบัติที่เป็นบรรทัดฐาน, บุคคลหรือสิ่งที่ถือเป็นแบบได้. |
แบบอย่าง | น. ตัวอย่างที่จะอ้างเป็นบรรทัดฐานได้. |
ปทัฏฐาน | บรรทัดฐาน หรือ ปทัสถาน ก็ว่า. |
ปทัสถาน | บรรทัดฐาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. |
โปรแทรกเตอร์ | (โปฺรแทฺรก-) น. เครื่องมือวัดมุม มักทำเป็นรูปครึ่งวงกลม, ถ้าเป็นไม้บรรทัด ใช้วัดมุมได้ เรียกว่า ไม้โปรแทรกเตอร์. |
ฟองมัน | น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปอย่างนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สำหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ตาไก่ ก็เรียก. |
ฟุลสแก๊ป | (ฟุนสะ-) น. กระดาษสีขาว มีเส้นบรรทัด ขนาดประมาณ ๔๓ x ๓๔ เซนติเมตร พับทบกลางใช้สำหรับเขียนหนังสือเป็นต้น. |
มือเที่ยง | มีความสามารถในการบังคับมือให้เขียนเส้นตรง เส้นโค้ง หรือลวดลายต่าง ๆ เป็นต้น ได้ตามที่ต้องการ เช่นในการเขียนเส้นตรงได้ตรงเหมือนไม้บรรทัดหรือเขียนวงกลมได้กลมดิกเป็นต้น. |
ไม้ที | น. ไม้บรรทัดขนาดยาว. |
ยติภังค์ | เครื่องหมายขีดสั้น - ใช้เป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าพยางค์หน้ากับพยางค์หลังนั้นติดกันหรือเป็นคำเดียวกัน ตัวที่เขียนแยกนั้นจะอยู่ในบรรทัดเดียวกันหรือคนละบรรทัดก็ได้, เขียนเป็น ยัติภังค์ ก็มี. |
ย่อหน้า | ก. เขียนหรือพิมพ์หนังสือขึ้นบรรทัดใหม่และร่นจากแนวซ้ายสุดเข้าไปพอสมควร เพื่อแสดงว่าขึ้นความตอนใหม่. |
ละ ๑ | เว้นว่างคำหรือข้อความไว้ไม่กล่าวให้เต็ม โดยใช้เครื่องหมาย ฯ หรือ ฯลฯ เรียกว่า ไปยาลน้อย หรือ ไปยาลใหญ่ หรือเขียนว่างเป็นจุด ๆ ดังนี้ … หรือเว้นว่างไว้โดยใช้เครื่องหมายดังนี้ – ' – แสดงว่ามีคำหรือข้อความซํ้ากับบรรทัดบน. |
วงเล็บปีกกา | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
precedent | กรณีเดิมที่อาจถือเป็นบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
precedent | แบบอย่าง, บรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
line-oriented text editor | บรรณาธิกรณ์ข้อความรายบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
line editor | บรรณาธิกรณ์เชิงบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
LPM (lines per minute) | แอลพีเอ็ม (บรรทัดต่อนาที) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
LPS (lines per second) | แอลพีเอส (บรรทัดต่อวินาที) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lines per second (LPS) | บรรทัดต่อวินาที (แอลพีเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
line feed | ป้อนบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lines per minute (LPM) | บรรทัดต่อนาที (แอลพีเอ็ม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
leading case | คดีบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Return key | แป้นขึ้นบรรทัด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Return key | แป้นขึ้นบรรทัด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ruled surface | ผิวเชิงบรรทัด [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
soft return | ขึ้นบรรทัดใหม่อัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
social norm | บรรทัดฐานทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
orphan | บรรทัดค้างต้นย่อหน้า [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
automatic carriage return | การขึ้นบรรทัดใหม่อัตโนมัติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
automatic carriage return | การขึ้นบรรทัดใหม่อัตโนมัติ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
approach, normative | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
jurisprudence | ๑. หลักนิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
jurisprudence | ๑. ธรรมศาสตร์, หลักนิติศาสตร์๒. ประมวลคำพิพากษาที่เป็นบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
judicial precedent | คำพิพากษาบรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
BNF (Backus normal form) | บีเอ็นเอฟ (รูปแบบบรรทัดฐานแบกคัส) [ มีความหมายเหมือนกับ BNF (Backus-Naur form) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Backus normal form (BNF) | รูปแบบบรรทัดฐานแบกคัส (บีเอ็นเอฟ) [ มีความหมายเหมือนกับ Backus-Naur form (BNF) ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
carriage-return line feed (CRLF) | อักขระขึ้นต้นบรรทัดใหม่ (ซีอาร์แอลเอฟ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
case law | หลักกฎหมายที่ถือเอาคำพิพากษาเป็นบรรทัดฐาน (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CRLF (carriage-return line feed) | ซีอาร์แอลเอฟ (อักขระขึ้นต้นบรรทัดใหม่) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Chomsky normal form | รูปแบบบรรทัดฐานชอมสกี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
digest | ประชุมย่อคำพิพากษาบรรทัดฐาน (เรียงตามอักษร) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
normalised random variable; normalized random variable | ตัวแปรสุ่มแบบบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
normalize; normalise | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
normalize; normalise | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
normalized random variable; normalised random variable | ตัวแปรสุ่มแบบบรรทัดฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
normalise; normalize | ทำให้เป็นบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
normal form | รูปแบบบรรทัดฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
normal form | รูปแบบบรรทัดฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
normative | เชิงปทัฏฐาน, เชิงปทัสถาน, เชิงบรรทัดฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
normative approach | แนวเข้าสู่การศึกษาเชิงบรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
normlessness | ความไร้บรรทัดฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
norm | บรรทัดฐาน, ปทัสถาน, ปทัฏฐาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
norm | ปทัฏฐาน, ปทัสถาน, บรรทัดฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
norm | บรรทัดฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
norm, social | บรรทัดฐานทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
wrap around | ๑. วนรอบ๒. ยกคำ [ ขึ้นบรรทัดใหม่ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Line feed | ป้อนบรรทัด [คอมพิวเตอร์] |
Line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัด [คอมพิวเตอร์] |
Line spacing | ระยะห่างบรรทัด [คอมพิวเตอร์] |
Lines per minute | บรรทัดต่อนาที, Example: หน่วยสำหรับวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์โดยนับเป็นจำนวนบรรทัดต่อนาที [คอมพิวเตอร์] |
return key | แป้นขึ้นบรรทัด, Example: แป้นที่ทำหน้าที่ระบุว่าได้สิ้นสุดการป้อนข้อมูลแต่ละบรรทัดแล้ว มีหน้าที่เหมือนแป้น enter [คอมพิวเตอร์] |
Line editor | บรรณาธิการรายบรรทัด [คอมพิวเตอร์] |
Braille Typewriter | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Perkins Brailler [Assistive Technology] |
Slate and stylus | อุปกรณ์สำหรับเขียนอักษรเบรลล์, แผ่นและเข็ม สำหรับเขียนอักษรเบรลล์ลงบนกระดาษ อุปกรณ์นี้ ประดิษฐ์ โดย Charles Barbier and Louis Braille ประกอบด้วย แผ่นรองเขียนอักษรเบรลล์ ทำด้วยพลาสติก เหล็ก หรือไม้ และเข็มดันกระดาษ ตัวแผ่นเจาะเป็นช่องอักษรเบรลล์สำหรับสร้างจุดเบรลล์ ๒ แถวๆ ละ ๓ จุด รวม ๒๘ ช่องต่อ ๑ บรรทัด แผ่นหลังเป็นที่วางกระดาษ มีบานพับปิดเปิดระหว่าง ๒ แผ่น [Assistive Technology] |
Perkins Brailler | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Braille Typewriter [Assistive Technology] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] |
Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
Pilot - balloon slide - rule | บรรทัดคำนวณไพลอตแบ ลลูน หรือแบลลูนตรวจอากาศ [อุตุนิยมวิทยา] |
alidade | alidade, บรรทัดเล็ง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
scale | มาตราส่วน, ระบบที่แสดงการแบ่งช่วงหรือความยาวออกเป็นหน่วยย่อยที่เท่ากัน เช่น มาตราส่วนบนไม้บรรทัด มาตราส่วนบนเทอร์โมมิเตอร์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
straight pulse wave | คลื่นดลเส้นตรง, คลื่นดลที่มีหน้าคลื่นเป็นเส้นตรง เกิดจากแหล่งกำเนิดคลื่นที่เป็นเส้นตรง เช่น คลื่นน้ำซึ่งเกิดจากการรบกวนผิวน้ำด้วยไม้บรรทัดเพียงครั้งเดียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
significant figure | เลขนัยสำคัญ, จำนวนตัวเลขที่เป็นผลจากการวัดซึ่งมีความหมายและความเหมาะสมตามความละเอียดของเครื่องมือที่ใช้วัด เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวดินสอแท่งหนึ่งได้ 2.56 เซนติเมตร แต่ถ้าใช้ไมโครมิเตอร์วัดจะได้ 2.5632 เซนติเมตร แสดงว่าการใช้ไม้บรรทัดวัดจะได้เลขนัยสำคัญ 3 ตัว และใช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรทัด | [banthat] (n) EN: line of writing ; straight line ; line FR: ligne d'écriture [ f ] ; ligne droite [ f ] |
บรรทัด | [banthat] (n) EN: ruler FR: règle [ f ] ; règle plate [ f ] ; latte [ f ] (Belg.) |
บรรทัดฐาน | [banthatthān] (n) EN: standard : norm ; criterion ; yardstick |
บรรทัดฐานทางสังคม | [banthatthān thāng sangkhom] (n, exp) EN: social norm FR: norme sociale [ f ] |
กรณีบรรทัดฐาน | [karanī banthatthān] (n, exp) EN: precedent |
ไม้บรรทัด | [māibanthat] (n) EN: ruler ; straightedge FR: règle [ f ] ; règle plate [ f ] ; réglette [ f ] ; latte [ f ] (Belg.) |
ตีบรรทัด | [tī banthat] (v, exp) EN: rule a straight line |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
box | (n) ต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำเครื่องแกะสลักและไม้บรรทัด |
byline | (n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน |
criterion | (n) เกณฑ์, See also: บรรทัดฐาน, Syn. basis, standard |
enjambment | (n) การที่ความหมายของบทกวีต่อเนื่องจากบรรทัดหนึ่งไปอีกบรรทัดหนึ่ง |
hexameter | (n) บรรทัดโคลงหรือกวีที่ประกอบด้วย 6 จังหวะ |
interline | (vt) สอดแทรกคำระหว่างบรรทัดหรือข้อความ, Syn. line, face |
interlinear | (adj) ซึ่งแทรกระหว่างบรรทัด, See also: ซึ่งเขียน / พิมพ์เพิ่มระหว่างบรรทัด |
line up | (phrv) เขียนหรือพิมพ์อยู่ระดับเดียวกัน, See also: เขียนหรือพิมพ์อยู่ในบรรทัดเดียวกัน |
justify | (vt) จัดบรรทัดให้เสมอกัน, See also: จัดบรรทัดให้เท่ากัน |
linage | (n) จำนวนบรรทัด, See also: จำนวนแถว |
line | (n) โคลงบรรทัดหนึ่ง, See also: บาทหนึ่งของโคลง, Syn. a verse of poetry |
line | (n) เส้นบรรทัด, See also: บรรทัด |
motif | (n) บรรทัดฐาน, See also: มาตรฐาน, ลักษณะเด่น, Syn. subject, topic, theme |
quatrain | (n) บทกวีซึ่งมี 4 บรรทัด (มักมีจังหวะแบบ abab, abba, abcb), Syn. poem, verse |
rule | (n) บรรทัด, See also: เส้นบรรทัด |
ruler | (n) ไม้บรรทัด, See also: ไม้วัด, Syn. measure, yardstick |
single-space | (vt) พิมพ์บรรทัดเดียว |
slide rule | (n) ไม้บรรทัดแบบมีตัวเลื่อนไปมาได้สำหรับคำนวณ |
sonnet | (n) โคลง 14 บรรทัดซึ่งมีรูปแบบการสัมผัสตายตัว |
standard | (n) มาตรฐาน, See also: บรรทัดฐาน, ตัวชี้วัด, Syn. norm, pattern, type |
subscript | (adj) อยู่ต่ำกว่าเส้นบรรทัด, See also: อยู่ใต้ตัวอักษรอื่น |
vernier | (n) ไม้บรรทัดขนาดเล็กซึ่งเลื่อนไปมาได้, See also: ใช้วัดระยะอย่างละเอียด โดยการแบ่งเส้นให้เหลื่อมกัน |
verse | (n) บรรทัดหนึ่งในบทกลอน, Syn. line, stanza, quatrain |
Hope Dictionary
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
carriage return | ปัดแคร่แป้นปัดแคร่ใช้ตัวย่อว่า CR ในทางคอมพิวเตอร์ ถือเป็นตัวอักขระตัวหนึ่งที่มองไม่เห็น ใช้เมื่อสิ้นสุดการพิมพ์แต่ละบรรทัด และทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ลงไปอยู่เป็นตำแหน่งแรกของบรรทัดถัดลงมา โดยปกติ จะกำหนดให้กดแป้น <RETURN> หรือ <ENTER> |
command line | บรรทัดคำสั่งหมายถึงข้อความที่พิมพ์ลงบนจอภาพ เพื่อเป็นคำสั่งให้ เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน โดยปกติใช้หมายถึงคำสั่งที่อยู่พิมพ์หลัง A> B> หรือ C> เช่น A>COPY C:garuda.pm4 |
couplet | (คัพ'พลิท) n. โครง (กลอน, ฉันท์, กาพย์) , บทละครสองบรรทัด, คำคู่, ประโยคคู่ |
cr/lf | <คำย่อ>เป็นคำอธิบายคุณสมบัติของเครื่องพิมพ์ CR ย่อมาจาก Carriage Return หมายถึงการสิ้นสุดบรรทัด เครื่องพิมพ์จะขึ้นบรรทัดใหม่ให้ ส่วน LF ย่อมาจาก Line Feed หมายถึงว่าเครื่องพิมพ์จะเลื่อนกระดาษให้ด้วย (เครื่องพิมพ์บางเครื่องจะทำอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น) |
criterion | (ไครที'เรียน) n. บรรทัดฐาน, มาตรการ, เกณฑ์, Syn. standard -pl. criteria -Conf. criteria |
drop cap | หมายถึงอักษรตัวโตกว่าขนาดปกติตัวแรกของย่อหน้า โดยปกติส่วนบนจะมีระดับเท่ากับตัวอักษรอื่น ๆ แต่จะกินเนื้อที่ของบรรทัดที่สองและสาม |
drum printer | เครื่องพิมพ์แบบดรัมเป็นอุปกรณ์แสดงผลชนิดเครื่องพิมพ์ ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์แบบกดตัวพิมพ์ผ่านผ้าหมึกพิมพ์ ตัวพิมพ์จัดเรียงเป็นแถวบนพื้นผิวทรงกระบอกหมุนวนอยู่ตลอดเวลา การพิมพ์แบบนี้ จะพิมพ์ไปทีละตัว เช่นพิมพ์ตัว A ทุกตัวที่มีอยู่ในบรรทัดหนึ่ง ๆ เมื่อกดพิมพ์ตัว A หมุนผ่านช่องพิมพ์เสร็จแล้ว ก็จะพิมพ์ตัว B ต่อไปตามลำดับจนหมดตัวอักษร ซึ่งหมายถึงกระบอกตัวพิมพ์หมุนรอบตัวมันเองครบหนึ่งรอบ |
end of line | ปลายบรรทัดใช้ตัวย่อว่า EOL (อ่านว่า อีโอแอล) โปรแกรมประมวลผลคำมักจะมีคำสั่งพิเศษนี้ที่จะสั่งให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) กระโดดไปปลายบรรทัดได้เลย |
eol | (อีโอแอล) ย่อมาจาก end of line ซึ่งก็แปลตรง ๆ ได้ว่า ปลายบรรทัด โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) มักจะมีคำสั่งพิเศษที่จะสั่งให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) กระโดดไปปลายบรรทัดได้เลย |
hard space | (ฮาร์ดสเปซ) หมายถึงที่ว่างที่ถือเสมือนไม่ใช่ที่ว่าง ใช้เฉพาะในโปรแกรมประมวลผลคำ ในกรณีที่พิมพ์คำบางคำที่มีที่ว่างระหว่างคำ เช่น World War II หรือ พิมพ์วันที่ เช่น May 7 เช่นนี้ ถ้าบังเอิญพิมพ์คำนี้มาถึงปลายบรรทัด แต่ไม่มีที่ว่างพอจะพิมพ์ทั้งคำ คอมพิวเตอร์จะแยกนำคำหลังช่องว่างมาขึ้นบรรทัดใหม่ ซึ่งจะเป็นการไม่ถูกต้อง เราจึงต้องกำหนดให้ที่ว่างที่เห็นนั้นเป็นฮาร์ดสเปซ เพื่อให้โปรแกรมไม่แยกเป็นคนละบรรทัด ถ้าที่ไม่พอในบรรทัดบน ก็จะนำลงมาบรรทัดใหม่ทั้งคำ |
hemistitch | n. ครึ่งบาท (บทกวี) , ครึ่งบรรทัด, ครึ่งเส้น., See also: hemistichal adj. |
high speed printer | เครื่องพิมพ์ความเร็วสูงหมายถึงเครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer) ที่พิมพ์ได้เร็วประมาณ 300 ถึง 3000 บรรทัดต่อ 1 นาทีดู line printer ประกอบ |
home key | แป้นกดกลับตำแหน่งต้นเป็นแป้นพิมพ์แป้นหนึ่งในแผงแป้นอักขระ มีคำว่า Home อยู่บนแป้น เมื่อกดแป้นนี้จะเป็นการบังคับให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) กลับไปสู่จุดเริ่มต้นของบรรทัดใหม่ หรือจุดเริ่มต้นบรรทัดบนสุดของเอกสารหน้าหนึ่ง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโปรแกรมแต่ละโปรแกรมด้วย |
incremental compiler | ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มหมายถึง โปรแกรมพิเศษที่ทำหน้าที่เป็นตัวแปลคำสั่งในโปรแกรมให้เป็นรหัสภาษาเครื่องในทันทีที่พิมพ์ข้อความที่เป็นคำสั่งเต็มบรรทัด ตัวแปลโปรแกรมส่วนเพิ่มตัวนี้จะทำหน้าที่แปลในขณะที่เราพิมพ์คำสั่งแต่ละคำสั่ง ผิดกับตัวแปลอื่นที่จะรอจนพิมพ์โปรแกรมเสร็จหมดจึงจะลงมือแปล การแปลแบบหลังนี้ เราจะต้องรอสักนิดหนึ่ง เมื่อการแปลเสร็จสิ้นแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะลงมือทำงาน ดู interpreter ประกอบ |
interlacing | มีการสอดประสานเป็นลักษณะของจอที่ใช้หลอดภาพกราดแสง (scan) บรรทัดเว้นบรรทัด ซึ่งจะไม่ดีต่อสายตา ถ้าต้องดูนาน ๆ และใกล้ ๆ อย่างเวลาทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจใช้ เป็นจอโทรทัศน์ได้ แต่จอภาพของคอมพิวเตอร์ควรเป็นชนิดที่เรียกว่า non interlacing |
lf | (แอลเอฟ) ย่อมาจาก line feed (ป้อนบรรทัด) หมายถึงสัญญาณที่ส่งบอกเครื่องพิมพ์ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงจุดสิ้นสุดบรรทัด (เป็นผลจากการกดแป้น <Return>, หรือ <Enter>) |
linage | (ไล'นิจฺ) n. จำนวนบรรทัด, จำนวนแถว, คำพิมพ์ต่อบรรทัด, การจัดบรรทัด., Syn. lineage |
line feed | ป้อนบรรทัดใช้ตัวย่อว่า LF เป็นสัญญาณบอกให้เครื่องพิมพ์เลื่อนลงไปอีกบรรทัดหนึ่ง หรือ ขึ้นบรรทัดใหม่ ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ถึงจุดสิ้นสุดของบรรทัดดู carriage return หรือ Return key ประกอบ |
line printer | เครื่องพิมพ์รายบรรทัดหมายถึง เครื่องพิมพ์ความเร็วสูงชนิดหนึ่ง อยู่ภายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์ ในการพิมพ์นั้น จะจัดเรียงตัวอักขระตลอดทั้งบรรทัดให้เสร็จก่อน จึงจะพิมพ์ลงบนกระดาษ และพิมพ์ได้ทีละบรรทัด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะพิมพ์ได้เร็ว แต่ไม่มีความประณีต เช่น เครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) โดยปกติจะพิมพ์ได้ประมาณ 600-1200 บรรทัดต่อนาที แต่บางเครื่องอาจพิมพ์ได้เร็วถึง 2, 000 บรรทัดต่อนาทีก็มี ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องพิมพ์ที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่หรือเมนเฟรม (mainframe) สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ มักใช้กับเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix printer) ซึ่งพิมพ์ทีละตัวอักขระ หรือเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ซึ่งพิมพ์ครั้งละหนึ่งหน้า |
lpm | (แอลพีเอ็ม) ย่อมาจาก lines per minute (บรรทัดต่อนาที) เป็นหน่วยวัดความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer) เช่น พิมพ์ได้ 800 บรรทัดต่อนาที เป็นต้น |
lps | (แอลพีเอส) ย่อมาจาก lines per second (บรรทัดต่อวินาที) เป็นหน่วยวัดความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์รายบรรทัด (line printer) เช่น พิมพ์ได้ 100 บรรทัดต่อวินาที เป็นต้น |
newline character | ขึ้นบรรทัดใหม่หมายถึง แป้น <RETURN> ซึ่งถือเป็นตัวอักขระตัวหนึ่งที่ทำให้มีการขึ้นบรรทัดใหม่ ถ้าลบ (delete) อักขระตัวนี้ บรรทัดล่างจะขึ้นไปต่อกับบรรทัดบน |
nondocument file | แฟ้มแอสกีเป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลแบบหนึ่ง มีใช้เฉพาะในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) บางทีเรียกว่าแฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ดสตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้วดู document file เปรียบเทียบ |
octave | (ออค'เทฟว) n. เสียงแปดคู่, ระดับแปดเสียง, กลุ่มหรือสิ่งที่แปด, โคลงแปดบรรทัด |
octet | (ออคเทท') n. กลุ่มนักร้องหรือนักดนตรีคน, กลุ่มหนึ่ง8คน, โคลง8บรรทัด (สัมผัสแปด) , กลุ่ม (ชุด) หนึ่งแปด |
octette | (ออคเทท') n. กลุ่มนักร้องหรือนักดนตรีคน, กลุ่มหนึ่ง8คน, โคลง8บรรทัด (สัมผัสแปด) , กลุ่ม (ชุด) หนึ่งแปด |
orphan | กำพร้า, บรรทัดรั้งท้ายเป็นศัพท์ที่ใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) หมายถึง บรรทัดสุดท้ายของย่อหน้า ที่ถูกแยกจากส่วนที่เหลือทั้งหมดไปอยู่คนละหน้า (ถ้าเป็นบรรทัดแรกของย่อหน้า จะเรียกว่า "widow") โปรแกรมประมวลผลคำ หรือโปรแกรมจัดพิมพ์ มักจะมีคำสั่งเฉพาะในเรื่องนี้ โดยผู้ใช้สามารถสั่งให้นำไปรวมกับส่วนที่เหลือของย่อหน้าให้ได้ ดู widow เปรียบเทียบ |
page down key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีอักษรย่อ Pg Dn อยู่บนแป้นทำหน้าที่ตรงข้ามกับแป้น Pg Up การกดแป้นนี้ อาจทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) เลื่อนไปที่บรรทัดสุดท้ายที่เห็นอยู่บนจอภาพ หรือบรรทัดสุดท้ายของหน้าเลยก็ได้ (ขึ้นอยู่กับโปรแกรม) ดู Pg Up key เปรียบเทียบ |
page layout | การกำหนดหน้าหมายถึง การออกแบบหน้ากระดาษ โดยกำหนดจัดเรียงข้อความและภาพประกอบในแต่ละหน้าให้แลดูสวยงาม เริ่มตั้งแต่กำหนดขอบหน้ากระดาษ (margin) จำนวนบรรทัด การแบ่งคอลัมน์ ฯ วิธีการดังกล่าวอาจใช้โปรแกรมประเภทงานพิมพ์ตั้งโต๊ะช่วยก็ได้ เป็นต้นว่า PageMaker, Ventura Publisher, QuarkXpress เพราะมีคำสั่งเฉพาะในเรื่องการจัดหน้าแบบต่าง ๆ การโปรยอักษรรอบภาพ รวมทั้งการดึงเอาภาพ กราฟ ตารางจัดการ ฯ จากโปรแกรมอื่นมาแทรกใส่ให้สะดุดตา การลด/ขยายขนาดของภาพให้เหมาะกับเนื้อที่ได้ ดู desktop publishing ประกอบ |
page up key | เป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ จะมีตัวอักษรย่อ PgUp อยู่บนแป้น ทำหน้าที่ตรงข้ามกับแป้น PgDn การกดแป้นนี้ทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ขึ้นไปอยู่บรรทัดบนของจอภาพ หรือบรรทัดแรกของแฟ้มเอกสารเลย (ขึ้นอยู่กับโปรแกรม) ดู Pg Dn key เปรียบเทียบ |
pages per minute | ใช้ตัวย่อว่า ppm. (อ่านว่า พีพีเอ็ม) เป็นหน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์ (ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์) หมายถึง จำนวนหน้าที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ได้ใน 1 นาที อย่างไรก็ตาม การที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า การพิมพ์ที่ใช้ตัวอักษรธรรมดา หรือตัวอักษรพิเศษ เป็นการพิมพ์ภาพสีเดียว หรือภาพหลายสี ฯ เครื่องพิมพ์บางชนิด วัดความเร็วในการพิมพ์เป็นบรรทัดต่อนาที (lines per minute) ก็มี |
ppm | (พีพีเอ็ม) ย่อมาจาก pages per minute เป็นหน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์ (ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์) หมายถึง จำนวนหน้าที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ได้ใน 1 นาที อย่างไรก็ตาม การที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า การพิมพ์ที่ใช้ตัวอักษรธรรมดา หรือตัวอักษรพิเศษ เป็นการพิมพ์ภาพสีเดียว หรือภาพหลายสี ฯ เครื่องพิมพ์บางชนิด วัดความเร็วในการพิมพ์เป็นบรรทัดต่อนาที (lines per minute) ก็มีดู lpm เปรียบเทียบprecedence : การทำก่อนในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง การดำเนินการที่ทำก่อนอย่างอื่น เช่น ในนิพจน์ใดที่เครื่องหมาย + - * (คูณ) / (หาร) และวงเล็บ () ก็ต้องทำในวงเล็บก่อน แล้วมาทำ * และ / หลังจากนั้นจึงจะทำ + และ - เช่นนี้ เรียกว่า วงเล็บเป็นลำดับก่อน |
raster | แรสเตอร์ <คำอ่าน>หมายถึง การที่ลำแสงอิเล็กตรอนผ่านวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วส่งเข้าสู่จอภาพเช่นเดียวกับที่ใช้ในการกราดภาพ (scan) คือการยิงลำแสงอิเล็กตรอนให้ผ่านภาพไปอย่างต่อเนื่องทีละเส้น แล้วส่งขึ้นบนจอภาพ ตั้งแต่บรรทัดบนสุดจนถึงล่างสุด เราจะมองเห็นเส้นใหม่ก่อนที่เส้นเก่าจะหายไป เส้นที่มองเห็นนี้จะรวมกันเป็นภาพที่เราต้องการ เรียกว่าภาพ "แรสเตอร์" |
rem | ย่อมาจากคำว่า remark เป็นคำสั่งหนึ่งในโปรแกรมที่ทำให้สามารถเพิ่มข้อความเข้าไปในโปรแกรมได้อีกบรรทัดหนึ่ง โดยที่จะไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อโปรแกรมเลย (คอมพิวเตอร์ไม่นำไปประมวลผล) ส่วนมากจะใช้ในการบันทึก หรือทำหมายเหตุ หรือใช้บรรยายความที่ต้องการจะให้มีเก็บไว้ในโปรแกรมด้วย เพื่อกันลืม หรือเพื่อให้ผู้ใช้อื่นเข้าใจ) |
retum key | แป้นขึ้นบรรทัดเป็นแป้นหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีสัญลักษณ์ (บนแป้น ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) การกดแป้นนี้ เป็นคำสั่งให้ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยที่ยังพิมพ์ข้อความไม่ถึงจุดสุดท้ายของบรรทัด ในบางโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้นำข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำหรือเป็นคำสั่งให้หน่วยประมวลผลเริ่มทำงาน (มีความหมายเหมือนการกดแป้น Enter Key) ในระบบวินโดว์ ใช้กดแป้นนี้แทนกดเมาส์ที่ปุ่ม OK เมื่อตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) เสร็จแล้วก็ได้ |
rule | (รูล) n. กฎ, หลัก, ข้อบังคับ, ระเบียบ, กติกา, วินัย, วินัยศาสนา, การปกครอง, การควบคุม, การครอบครอง, การชี้ขาด, วิธีการทางคณิตศาสตร์, ไม้บรรทัด, ไม้วัด -Phr. (as a rule โดยทั่วไป, ตามปกติ) vt., vi. ควบคุม, ปกครอง, ครอบงำ, ชี้ขาด, มีอิทธิพล, ตีเส้น, ขีดเส้น -Phr. (rule out ไม่ยอมรับ) |
ruler | (รู'เลอะ) n. ผู้ปกครอง, ผู้ควบคุม, ผู้ครอบงำ, ประมุข, ผู้ชี้ขาด, ไม้บรรทัด, Syn. monarch |
ruling | (รู'ลิง) n. การวินิจฉัย, การชี้ขาด, การลากเส้นด้วยไม้บรรทัด adj. ปกครอง, ครอบงำ, ควบคุม, แพร่หลาย, มีอยู่ทั่วไป, Syn. decision, governing |
scale 2 | (สเคล) n. การแบ่งเป็นชั้น ๆ , การแบ่งเป็นขีด ๆ , มาตราส่วน, มาตราส่วนแผนที่, มาตราการนับ, ไม้บรรทัดที่มีเส้นแบ่ง, เครื่องวัดที่มีเส้นแบ่ง, ระดับเสียง, ระดับชั้น, อัตรา, ความใหญ่เล็ก, ระบบเลื่อนชั้น, ขั้นบันได vt. ขั้นบันได, ปีนไต่, บรรลุผล, ทำตามขั้นตอน, วัดตามขั้นตอน, วัดด้วยไม้บรรทัด |
scaler | (สเคล'เลอะ) n. ผู้ลอกเอาเกล็ดออก, ผู้ลอกเอาเปลือกออก, สัตว์ที่ลอกคราบ, ผู้ชั่งตาชั่ง, ผู้ทำหน้าที่วัด (ตามมาตราส่วน) , ผู้ใช้ไม้บรรทัดวัด |
sector | (เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก), See also: sectoral adj., Syn. class, ca |
sextet | (เซคซฺเทท') n. กลุ่มที่มี 6 คน (อัน, ชิ้น...) , กลุ่มนักร้อง 6 คน, เพลงที่ประกอบด้วยเสียง 6 เสียง, เพลงที่ใช้เครื่องดนตรี 6 ชิ้น, โคลง 6 แถว, บทกวีบรรทัด |
sextette | (เซคซฺเทท') n. กลุ่มที่มี 6 คน (อัน, ชิ้น...) , กลุ่มนักร้อง 6 คน, เพลงที่ประกอบด้วยเสียง 6 เสียง, เพลงที่ใช้เครื่องดนตรี 6 ชิ้น, โคลง 6 แถว, บทกวีบรรทัด |
slide rule | n. ไม้บรรทัดมีที่เลื่อนไปมาเพื่อ คำนวณตามหลัก logarithm |
soft hyphen | ยัติภังค์เทียมหมายถึง ขีดสั้น ๆ ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ที่แสดงว่าคำนั้นยังไม่จบ และจะมีต่อในบรรทัดถัดไป เป็นขีดที่จะเกิดขึ้นเอง เมื่อมีการแบ่งคำที่ปลายบรรทัด (ถ้าหากมีการแก้ไขข้อความ จนทำให้ไม่ต้องมีการแบ่งคำนี้อีก ขีดนี้ก็จะหายไป) ตรงข้ามกับยัติภังค์จริง (hard hyphen) ซึ่งหมายถึง ขีดที่เราพิมพ์ลงไปเองเพื่อแบ่งคำที่อยู่ปลายบรรทัด ถ้ามีการแก้ไขข้อความ ทำให้ขีดนี้ไม่อยู่ปลายบรรทัด ขีดก็จะยังคงมีอยู่ ไม่หายไป |
sonnet | (ซอน'นิท) n., vi., vt. (ประพันธ์, เฉลิมฉลอง) โครง 14 บรรทัด |
space | (สเพสฺ) n. อวกาศ, ช่องว่าง, ที่ว่างเปล่า, ที่นั่ง ช่องว่างระหว่างบรรทัด, ระยะห่าง, ระยะช่อง, ระยะทาง, ระยะเวลา, หน้ากระดาษ, สลักเปิด vt., vi. เว้นช่อง, เว้นช่องบรรทัด, เว้นระยะ, เว้นวรรค adj. เกี่ยวกับช่องว่าง, เกี่ยวกับอวกาศ, Syn. range, area |
stanza | (สแทน'ซะ) n. พยางค์โคลง, พยางค์บทกวี, บทหนึ่งของกวี (โคลงกลอนฉันท์กาพย์) ซึ่งโดยมากมีอย่างน้อย4บรรทัด., See also: stanzaed adj. stanzaic, stanzaical adj. |
string | (สทริง) { strung, strung, stringing, strings } n. เชือก, ด้าย, ป่าน, สายดึง, เชือกร้อย, สายร้อย, บรรทัด, แถว, ห่วง, ทาง, อนุกรม, vt. จัดให้มีสาย, ร้อย, สน, เชื่อมต่อเป็นสาย, จัดเป็นอนุกรม, จัดเป็นลำดับ, ประดับด้วยสาย, ดึงสายออก vi. กลายเป็นสาย, เรียงกันเป็นแถว |
Nontri Dictionary
criterion | (n) มาตรฐาน, บรรทัดฐาน, เกณฑ์, มาตรา |
ferule | (n) ไม้เรียว, ไม้บรรทัด |
headline | (n) บรรทัดพาดหน้า, หัวข้อข่าว, หัวเรื่อง |
line | (n) เส้นตรง, แนว, เส้นทาง, แถว, สายโทรศัพท์, สายโลหิต, บรรทัด, เชือก |
motif | (n) ใจความสำคัญ, ลักษณะสำคัญ, บรรทัดฐาน, มาตรฐาน |
rule | (n) กฎ, กติกา, ระเบียบ, ข้อบังคับ, การปกครอง, ไม้บรรทัด |
ruler | (n) ผู้ควบคุม, ผู้ชี้ขาด, ผู้ปกครอง, ประมุข, ไม้บรรทัด |
SLIDE slide rule | (n) ไม้บรรทัดเลื่อน |
string | (n) สาย, เชือก, เส้น, ฝูง, แถว, บรรทัด, ทาง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
baseline | (n) บรรทัดฐาน |
criteria | [คไรเทีย-เรียน] (prep) เกณฑ์, บรรทัดฐาน |
fools cap | หมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้ |
Longdo Approved JP-TH
段差 | [だんさ, dansa] (n) ผิวต่างระดับ (วิศวะ), ระดับขั้นบรรทัด |
物差し | [ものさし, monosashi] (n) ไม้บรรทัด, Syn. 定規 |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
補数 | [ほすう, hosuu] ทดสอบ <br> ลงบรรทัดใหม่ |
目安 | [めやす, meyasu] (n) เกณฑ์ บรรทัดฐาน จุดประสงค์ ความมุ่งหมาย คร่าว ๆ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
基準 | [きじゅん, kijun] TH: บรรทัดฐาน EN: basis |
Longdo Approved DE-TH
Lineal | (n) |das, pl. Lineale| ไม้บรรทัด |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0423 seconds, cache age: 2.957 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม