109 ผลลัพธ์ สำหรับ *ธรรมะ*
ภาษา
หรือค้นหา: ธรรมะ, -ธรรมะ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ธรรมะ | (n) dharma, See also: virtue codes of moral, scruples, rectitude, Syn. คุณความดี, ธรรม, ความถูกต้อง, Example: พระสงฆ์เป็นผู้มีธรรมะในใจ, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ธรรมะธัมโม | (adj) moral, See also: dharma, righteousness, lawful, rectitude, righteous, scrupulous, Syn. ธัมมะธัมโม, Thai Definition: ที่มีศีลธรรม, ที่มีคุณงามความดี, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | (ทำ, ทำมะ-) น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | คำสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | สิ่งของ เช่น เครื่องไทยธรรม. |
ธรรมะธัมโม | ว. เรียกคนที่เคร่งครัดในศาสนา ว่า คนธรรมะธัมโม. |
กฤดายุค | (กฺริดา-) น. ชื่อยุคแรกของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้มนุษย์มีธรรมะสูงสุด คือ เต็ม ๔ ใน ๔ ส่วน และมีอายุยืนยาวที่สุด. (ส. กฤตยุค). (ดู จตุรยุค). |
กลียุค | (กะลี-) น. ชื่อยุคที่ ๔ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน เมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค และอายุของมนุษย์ก็สั้นลงโดยไม่มีกำหนดเวลาแน่นอน (ดู จตุรยุค), ช่วงเวลาที่มีแต่ความรุนแรงเลวร้ายเกิดขึ้น . |
ขุทกนิกาย | น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๕ แห่งพระสุตตันตปิฎก แปลว่า หมวดเล็กน้อย รวบรวมข้อธรรมะที่ไม่อยู่ใน ๔ นิกายข้างต้น มี ๑๕ เรื่อง ซึ่งมีธรรมบทและชาดก รวมอยู่ในคัมภีร์นี้ด้วย. |
ติก-, ติกะ | (ติกะ-) น. หมวด ๓ คือ ธรรมะที่รวมกันเป็นหมวด ๆ หมวดละ ๓ เช่น ไตรลักษณ์ ๓ ได้แก่ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อยู่ในหมวดติกะ. |
ไตรดายุค | (ไตฺร-) น. ชื่อยุคที่ ๒ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือ ๓ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ส. เตฺรตายุค; ป. เตตายุค). (ดู จตุรยุค). |
ทวาบรยุค | (ทะวาบอระ-) น. ชื่อยุคที่ ๓ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๒ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ดู จตุรยุค). |
ธรรมกาม | น. ผู้ใคร่ธรรม, ผู้รักในธรรมะ. |
ธรรมันเตวาสิก | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาทิตย์ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาธรรม | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาธิปไตย | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาธิษฐาน | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมานุสาร | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาภิมุข | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาภิสมัย | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมายตนะ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมารมณ์ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมาสน์ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ธรรมิก, ธรรมิก- | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
เบญจธรรม | น. ธรรมะ ๕ ประการ คือ เมตตา ทาน ความสำรวมในกาม สัจจะ สติ, คู่กับ เบญจศีล. |
ยึด | ก. จับไว้ให้แน่น เช่น ยึดราวบันไดไว้ให้ดี, ถือเอาไว้ เช่น ยึดธรรมะเป็นที่พึ่ง, เหนี่ยว, รั้ง, เช่น เพื่อนยึดตัวไว้ เลยมาไม่ทัน |
รู้ไม่ถึง | ก. รู้ไม่ลึกซึ้งพอ เช่น หลักธรรมะขั้นสูงเช่นนี้ ฉันยังรู้ไม่ถึง. |
หลัก ๑ | เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว |
อภิธรรม | (อะพิทำ) น. ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. |
อังคุตรนิกาย | (-คุดตะระ-) น. ชื่อคัมภีร์นิกายที่ ๔ แห่งพระสุตตันตปิฎก แสดงหลักธรรมโดยแบ่งเป็นหมวด เรียงลำดับตามจำนวนหัวข้อธรรมะตั้งแต่ ๑ หัวข้อถึง ๑๑ หัวข้อ. |
อาภรณ์ | (-พอน) น. เครื่องประดับ, บางทีก็ใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น พัสตราภรณ์ = เครื่องประดับคือเสื้อผ้า สิราภรณ์ = เครื่องประดับศีรษะ คชาภรณ์ = เครื่องประดับช้าง พิมพาภรณ์ = เครื่องประดับร่างกาย ในคำว่า ถนิมพิมพาภรณ์ ธรรมาภรณ์ = มีธรรมะเป็นเครื่องประดับ. |
อุทลุม | (อุดทะ-) ว. ผิดประเพณี, ผิดธรรมะ, นอกแบบ, นอกทาง, เช่น คดีอุทลุม คือคดีที่ลูกหลานฟ้องบุพการีของตนต่อศาล, เรียกลูกหลานที่ฟ้องบุพการีของตนต่อศาล ว่า คนอุทลุม เช่น ผู้ใดเปนคนอุทลุมหมีได้รู้คุณบิดามานดาปู่หญ้าตายาย แลมันมาฟ้องร้องให้เรียกบิดามานดาปู่ญ่าตายายมัน ท่านให้มีโทษทวนมันด้วยลวดหนังโดยฉกัน (สามดวง). |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Dharma | ธรรมะ [TU Subject Heading] |
Dharma (Buddhism) | ธรรมะ (พุทธศาสนา) [TU Subject Heading] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
หลักธรรมะ | [lakthamma] (n) EN: doctrine |
ธรรมะ | [thamma] (n) EN: dharma ; dhamma ; virtue codes of moral ; scruples ; rectitude FR: dharma [ m ] ; dhamma [ m ] ; enseignements du Bouddha [ mpl ] |
ธรรมะธัมโม | [thammathammō] (adj) EN: moral |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
philosophical | (adj) ซึ่งยึดหลักธรรมะ, See also: ธรรมะธัมโม |
philosophically | (adv) อย่างธรรมะธัมโม, See also: โดยยึดหลักธรรมะ |
seminarian | (n) ผู้ศึกษาด้านศาสนศาสตร์, See also: ผู้ฝึกฝนธรรมะ, ผู้ฝึกเป็นพระ, นักธรรมะ, คนที่ศึกษาในโรงเรียนศาสนา, Syn. learner, cleric, ordinand |
seminarist | (n) นักศึกษาด้านศาสนศาสตร์, See also: นักธรรมะ, นักศึกษาเทววิทยา, ผู้ศึกษาในโรงเรียนศาสนา, Syn. learner, ordinand, student |
Hope Dictionary
dharma | (ดาร์'มะ) n. ธรรมะ |
ethics | (เอธ'ธิคซฺ) n. จริยศาสตร์, จริยธรรม, วิชาศีลธรรม, ธรรมะ., See also: ethician n. ดูthics ethician n. ดูthics ethicist n. ดูthics |
philosophic | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น |
philosophical | (ฟิลละซอฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับปรัชญา, ยึดหลักปรัชญา, คัมภีรภาพ, ไม่ดิ้นรน, ยึดหลักธรรมะ, ธรรมะธัมโม, ปลงตก, มีเหตุและเยือกเย็น |
philosophy | (ฟิลอส'ซะฟี) n. ปรัชญา, ระบบปรัชญา, หลักปรัชญา, ระบบหลักการ, สาขาวิชาทั้งหมด (ยกเว้นแพทยศาสตร์, วิชากฎหมาย และศาสนศาสตร์) , ธรรมะ, วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จริยศาสตร์, ความรักวิชาอย่างคลั่งไคล้ |
precept | (พรี'เซพทฺ) n. การอบรม, การสั่งสอน, คำสั่งสอน, ศีล, ภาษิต, ธรรมะ, คติพจน์, กฎ, หนังสือคำสั่ง, Syn. maxim, writ, directive |
religion | (รีลิจ'เจิน) n. ศาสนา, ลัทธิ, ความเลื่อมใสในศาสนา, เรื่องศาสนา, กลุ่มนักบวช, ความเลื่อมใส, ชีวิตในศาสนา, ธรรมะ, หลักธรรม, See also: religions n. พิธีศาสนา, ความเคร่งครัดในศาสนา |
righteous | (ไร'เชิส) adj. ถูกต้อง, ชอบธรรม, มีธรรมะ, ตรงไปตรงมา |
righteousness | (ไร'เชิสนิส) n. ความถูกต้อง, ความชอบธรรม, การมีธรรมะ, ความตรงไปตรงมา |
seminarian | (เซมมะแน'เรียน) n. นักศึกษาศาสนศาสตร์, นักศึกษาธรรมะ, นักศึกษาเทววิทยา, ผู้ศึกษาในโรงเรียนศาสนา |
seminary | (เซม'มินะรี) n. โรงเรียนศาสนา, โรงเรียนธรรมะ, โรงเรียนที่สอนวิชาศาสนศาสตร์ (เพื่อให้เป็นพระ) , โรงเรียน (โดยเฉพาะโรงเรียนชั้นสูง) , โรงเรียนมัธยมหรืออุดมศึกษาสำหรับสตรี, การประชุมสัมมนา., See also: seminarial adj. |
unscrupulous | (อันสครู'พิวเลิส) adj. ไม่มีหลักการ, ไร้ธรรมะ, ไร้ยางอาย, ไม่ระมัดระวัง. |
Nontri Dictionary
devout | (adj) ใจบุญ, มีศรัทธา, ธรรมะธรรมโม |
ethics | (n) จรรยา, จริยธรรม, ธรรมะ, ศีลธรรม, จริยศาสตร์ |
philosophize | (vi) คิดอย่างปรัชญาเมธี, ปลงตก, ยึดหลักปรัชญา, ศึกษาธรรมะ |
philosophy | (n) ปรัชญา, จริยศาสตร์, ธรรมะ |
precept | (n) กฎ, คำสั่งสอน, ธรรมะ, ศีล, ภาษิต, การอบรม |
seminary | (n) โรงเรียนสอนศาสนา, โรงเรียนธรรมะ |
unscrupulous | (adj) ไม่พิถีพิถัน, ไม่มีธรรมะ, ไร้ยางอาย, ไม่มีหลักการ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0275 seconds, cache age: 16.289 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม