178 ผลลัพธ์ สำหรับ *ถิ่นที่*
ภาษา
หรือค้นหา: ถิ่นที่, -ถิ่นที่-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปูจั๊กจั่น | (n) Red Frog Crab, Spanner Crab หรือ Kona Crab; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ranina vanima) เป็นปูในวงศ์ รานินีดี้ (Family Raninidae) ถิ่นที่อยู่ตั้งแต่หมู่เกาะฮาวาย ญี่ปุ่น ไต้หวัน ฟิลิปปินส์ ไทย จนไปถึงหมู่ เกาะอินโดนีเซีย และ แอฟริกาตะวันออก |
Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภาษาอีสาน | [ภา-สา-อี-สาน] (n) ภาษาอีสานเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย เนื่องจากภาคอีสานมีหลากหลายชนเผ่าจึงทำให้เกิดความหลากหลายทางภาษา อ้างอิง : https://esan108.com/dict/ |
Longdo Unapproved JP - JP
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
三位一体改革 | (n) ปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ(เป็นนโยบายหลักนโยบายหนึ่งของอดีตนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ ซึ่งเป็นแนวนโยบายเพื่อการปฏิรูปเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถานะทางการคลังขององค์กรปกครองท้องถิ่น ซึ่งแนวคิดของนโยบายนี้เสนอให้มีการปฏิรูปทั้งสามด้านพร้อมกันเป็นหนึ่งแพคเกจ ดังนั้นนายกรัฐมนตรีโคอิซึมิ จึงเรียกการปฏิรูปนี้ว่า"การปฏิรูปแบบตรีเอกานุภาพ สามด้านที่ต้องปฏิรูปก็คือ การปฏิรูปเรื่องภาษีของท้องถิ่น การปฏิรูปเรื่องเงินอุดหนุนแบบให้เปล่าเพื่อประกันรายได้ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้ไม่เพียงพอ และการปฏิรูปด้านการให้เงินอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กะตัก | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กทุกชนิดในสกุล Encrasicholina และ Stolephorus วงศ์ Engraulidae รูปร่างยาว กลม หรือแบนข้างเล็กน้อยแล้วแต่ชนิด ปากกว้าง ที่สันท้องระหว่างครีบท้องและครีบก้นมีหนามแหลมขนาดเล็กมาก ๒-๗ อัน ข้างลำตัวมีสีเด่นเป็นเพียงแถบสีเงินพาดตลอดตามยาว มักอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ฝั่ง อาจคละกันหลายชนิด, หัวอ่อน ชินชัง ไส้ตัน เส้นขนมจีน หัวไม้ขีด มะลิ เก๋ย เรียกปะปนกันระหว่างขนาด ชนิด หรือต่างกันตามท้องถิ่นที่จับ ขนาดยาวได้ถึง ๑๔ เซนติเมตร. |
กันดาร | (-ดาน) ว. อัตคัด, ฝืดเคือง, เช่น กันดารข้าว กันดารน้ำ, ลำบาก, แห้งแล้ง, คำนี้มักใช้แก่เวลา ท้องที่ หรือถิ่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น คราวกันดาร ทางกันดาร ที่กันดาร. |
แคว้น | (แคฺว้น) น. ดินแดนอันเป็นถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ |
ชาติภูมิ | (ชาดติพูม) น. ถิ่นที่เกิด. |
แดน | น. เขต, พื้นที่ที่กำหนดไว้โดยตรงหรือโดยหมายรู้กัน, เช่น ชายแดน ลํ้าแดน, ถิ่นที่มีคน สัตว์ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งประเภทเดียวกันอยู่เป็นจำนวนมาก เช่น แดนผู้ร้าย แดนเสือโคร่ง แดนกล้วยไข่ แดนโลกีย์, โลก เช่น สตรีใดในพิภพจบแดน ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จะมีแต่เวทนาเป็นเนืองนิตย์ (อิเหนา). |
ทบวงการเมือง | น. ส่วนราชการและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นที่มีสภาพเป็นนิติบุคคล และมีอำนาจหน้าที่ในทางปกครอง เช่น กระทรวง ทบวง กรม เทศบาล. |
ท้องที่ | น. พื้นที่หรือถิ่นที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เช่น ท้องที่จังหวัด ท้องที่อำเภอ ท้องที่ที่เกิดเหตุ ท้องที่ที่มีภูมิลำเนา. |
ทำเล | น. ถิ่นที่, ตำบล, ภูมิที่ตั้ง, (มักใช้แก่แหล่งทำมาหากิน) เช่น ทำเลการค้า. |
เทศ, เทศ-, เทศะ | (เทด, เทดสะ-, เทสะ) น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. |
นักท่องเที่ยว | น. บุคคลที่เดินทางจากท้องที่อันเป็นถิ่นที่อยู่โดยปรกติของตนไปยังท้องที่อื่นเป็นการชั่วคราวด้วยความสมัครใจ และด้วยวัตถุประสงค์อันมิใช่เพื่อไปประกอบอาชีพหรือหารายได้ เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาหาความรู้ การบันเทิง. |
นิเวศวิทยา | (นิเวดสะวิดทะยา, นิเวดวิดทะยา) น. วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่และสิ่งแวดล้อม |
เนรเทศ | (-ระเทด) ก. บังคับให้ออกไปเสียจากประเทศหรือถิ่นที่อยู่ของตน |
เนรเทศ | โดยปริยายหมายถึง การออกจากประเทศหรือถิ่นที่อยู่เดิมด้วยความสมัครใจ เช่น เนรเทศตัวเอง. |
บ้าน | น. ที่อยู่ เช่น เลขบ้าน เจ้าบ้าน, สิ่งปลูกสร้างสำหรับเป็นที่อยู่อาศัย เช่น บ้านพักตากอากาศ บ้านเช่า, บริเวณที่เรือนตั้งอยู่ เช่น เขตบ้าน, หมู่บ้าน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน, ถิ่นที่มีมนุษย์อยู่ เช่น สร้างเป็นบ้านเป็นเมือง. |
เบญจวรรค | น. วรรคทั้ง ๕ ได้แก่ พยัญชนะตั้งแต่วรรค ก ถึงวรรค ป คือพยัญชนะตั้งแต่ ก ถึง ม, พระสงฆ์ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์เบญจวรรคหรือสงฆ์ปัญจวรรค ซึ่งสามารถทำสังฆกรรมบางอย่างได้เช่นรับกฐินหรืออุปสมบทพระภิกษุในถิ่นที่หาภิกษุได้ยาก. |
ปฏิรูป, ปฏิรูป- | (-รูปะ-) ว. สมควร, เหมาะสม, เช่น ปฏิรูปเทส คือ ถิ่นที่สมควร หรือ ถิ่นที่เหมาะสม |
ประเทศ | น. บ้านเมือง, แว่นแคว้น, ถิ่นที่อยู่ |
พลัดถิ่น | ว. อยู่ไกลจากถิ่นที่อยู่ของตน เช่น เรียกรัฐบาลที่ตั้งศูนย์บัญชาการอยู่นอกประเทศของตน ว่า รัฐบาลพลัดถิ่น. |
ภูมิลำเนา | (พูม-, พูมิ-) น. ถิ่นที่อยู่อันเป็นแหล่งสำคัญ. |
ภูมิลำเนาของนิติบุคคล | น. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่หรือถิ่นอันเป็นที่ตั้งที่ทำการ หรือถิ่นที่ได้เลือกเอาเป็นภูมิลำเนาเฉพาะการตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งนิติบุคคลนั้น. |
ภูมิลำเนาเฉพาะการ | น. ถิ่นที่บุคคลได้เลือกโดยมีเจตนาปรากฏชัดแจ้ง เพื่อทำการใดการหนึ่งโดยเฉพาะ. |
มัชฌิมชนบท | น.ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ. |
สงฆ์ | ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. |
สาบสูญ | น. เรียกบุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ว่า คนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น. |
สุขาภิบาล | น. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่จัดตั้งขึ้นสำหรับท้องถิ่นที่ยังไม่พร้อมที่จะจัดตั้งเป็นเทศบาล โดยมีนายอำเภอเป็นประธาน. |
หมอ ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Anabas testudineus (Bloch) ในวงศ์ Anabantidae ลำตัวป้อม แนวสันหลังโค้งพอ ๆ กับแนวสันท้อง แบนข้าง ท้องกลม คอดหางกว้าง ตาอยู่ค่อนไปทางปลายหัว ปากกว้างเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กแต่แข็งแรง ขอบกระดูกแผ่นปิดเหงือกหยักเป็นหนามแข็ง ใช้แถกเพื่อช่วยยึดยันให้เคลื่อนไปบนบกได้ดี ขอบครีบต่าง ๆ กลม ลำตัวและครีบมีสีดำคลํ้า ส่วนปลาขนาดเล็กมีสีจางกว่าและมีลายบั้งพาดลำตัวเป็นระยะ ๆ อาศัยอยู่ในแหล่งนํ้าแทบทุกประเภท พบขึ้นมาบนบกในฤดูฝนเสมอ ซึ่งเป็นธรรมชาติการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแบบหนึ่ง และยังแสดงให้เห็นความสามารถในการหายใจในที่ดอนได้อีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, หมอไทย หรือ สะเด็ด ก็เรียก, อีสานเรียก เข็ง. |
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | น. องค์กรของราชการบริหารส่วนท้องถิ่นที่จัดตั้งขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ. (ดู ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ประกอบ) |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
place of arrival | ถิ่นที่มาถึง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
place of current residence | ถิ่นที่อยู่ปัจจุบัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
place of departure | ถิ่นที่จากไป [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent resident | ผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร, ผู้อยู่ประจำถิ่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
permanent abode | ถิ่นที่อยู่ถาวร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
place of last previous residence | ถิ่นที่อยู่เดิมครั้งหลังสุด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
place of residence | ถิ่นที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
place of residence at a fixed past date | ถิ่นที่อยู่ ณ วันที่กำหนดในอดีต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
previous place of residence | ถิ่นที่อยู่เดิม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lex fori (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ศาลซึ่งพิจารณาคดีตั้งอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci actus (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ทำนิติกรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci celebrationis (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ทำการสมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci contractus (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ทำสัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci delicti commissi (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่เกิดการละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci situs (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ทรัพย์ตั้งอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex loci solutionis (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่พึงปฏิบัติตามสัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
latest change of residence | การเปลี่ยนถิ่นที่อยู่ครั้งล่าสุด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
legal residence | ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legal residence | ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
residence | สถานที่อยู่, ถิ่นที่อยู่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
residence | ถิ่นที่อยู่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
residence | สถานที่อยู่, ถิ่นที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
residence permit | ใบอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
resident alien | คนต่างด้าวที่เข้ามามีถิ่นที่อยู่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
residential mobility | การย้ายถิ่นที่อยู่ (ภายในท้องถิ่น) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
residential occupier residuary estate | ผู้ครอบครองเป็นถิ่นที่อยู่กองมรดกส่วนที่เหลือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
spontaneous migration | การย้ายถิ่นที่เกิดขึ้นเอง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
several residence | ถิ่นที่อยู่หลายแห่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupier, residential | ผู้ครอบครองเป็นถิ่นที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abode | ถิ่นที่อยู่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
abode | ถิ่นที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
main residence | ถิ่นที่อยู่อันเป็นแหล่งสำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
change of residence | การเปลี่ยนถิ่นที่อยู่ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
domestic court | ศาลแห่งท้องที่ (ที่คู่ความมีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
forum | ๑. ถิ่นที่ศาลมีอำนาจพิจารณาคดี, ประเทศที่ศาลมีอำนาจพิจารณาคดี (ก. ธรรมนูญศาล)๒. ที่ประชุมสาธารณะ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
habitat | ถิ่นที่อยู่ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
national origin | ถิ่นที่ถือสัญชาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
non-resident | ผู้ไม่มีถิ่นที่อยู่ (ในเขต) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
usual residence | ถิ่นที่อยู่ตามปรกติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
usual place of abode | ถิ่นที่อยู่ตามปรกติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Tropical cyclone | พายุหมุนเขตร้อน พายุไซโคลน เฮอร์ริเคน ไต้ฝุ่น วิลลี-วิลลี บาเกียว เรียกแตกต่างกันตามถิ่นที่เกิดพายุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Spontaneous Migration | การย้ายถิ่นที่เกิดขึ้นเอง, Example: การย้ายถิ่นโดยสมัครใจ หรือการย้ายถิ่นเสรีเป็นการย้ายถิ่นที่เกิดจากการริเริ่มตัดสินใจที่จะย้าย ถิ่นโดยอิสระของผู้ย้ายถิ่นหลายคนร่วมกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Certificate of Residence | ใบสำคัญถิ่นที่อยู่ [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
permanent resident in the receiving state | บุคคลผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
State of residence | รัฐถิ่นที่อยู่ [การทูต] |
visa | การตรวจลงตรา " การประทับตราหรือข้อความในหนังสือเดินทาง หรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของคนต่างด้าวโดยเจ้าพนักงานของรัฐ เพื่อแสดงว่า ผู้เดินทางได้รับอนุญาตให้เข้ามาพำนัก เดินทางผ่าน และเดินทางออกจากราชอาณาจักร - courtesy visa การตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี การตรวจลงตราประเภทนี้จำกัดเฉพาะคนต่างด้าวที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เป็นการชั่วคราว ซึ่ง (1) ปฏิบัติหน้าที่เพื่อการอื่นนอกเหนือจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต กงสุล หรือราชการ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางทูต หนังสือเดินทางราชการ หรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต หรือหนังสือ เดินทางราชการ) และ (2) เข้ามาในฐานะเป็นพระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ แขกของรัฐบาล หรือหน่วยของรัฐ (สำหรับผู้ที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดา) - diplomatic visa การตรวจลงตราประเภททูต - immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร - non-immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว - non-quota immigrant visa การตรวจลงตราประเภทคนเข้าเมืองนอกกำหนดจำนวนคนต่างด้าว ซึ่งเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี การตรวจลงตราประเภทนี้จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรได้ 1 ปี - official visa การตรวจลงตราประเภทราชการ - re-entry visa การตรวจลงตราประเภทให้กลับเข้ามาในราชอาณาจักรได้อีก - tourist visa การตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว - transit visa การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่านราชอาณาจักร - visa on arrival การตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง " [การทูต] |
Displaced from Normal Sites | อยู่ผิดถิ่นที่ประจำ [การแพทย์] |
Endemic | ระบาดเป็นแห่ง, ท้องถิ่นที่มีโรค, ประจำท้องถิ่น, ประจำถิ่น, โรคเรื้อรังประจำถิ่น, เกิดประปรายประจำ, การระบาด [การแพทย์] |
Migration Selectivity | การย้ายถิ่นที่มีลักษณะเลือกสรร [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ย้ายถิ่นที่อยู่ | [yāi thin thīyū] (v, exp) EN: migrate |
Longdo Approved EN-TH
pandemic | (n) โรคระบาด ที่มีการระบาดกระจายไปในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ทั่วประเทศ หลายประเทศในภูมิภาค หรือ กระจายไปทั่วโลก ถือเป็นระดับสูงสุดของการระบาด ที่เริ่มจาก endemic (โรคระบาดประจำถิ่น), outbreak (โรคระบาดประจำถิ่นที่มีการเพิ่มของผู้ป่วยผิดปกติ หรือ โรคใหม่ที่เริ่มการระบาด, epidemic (เริ่มแพร่ระบาดไปในวงกว้าง) และ pandemic (โรคระบาดไปทั่วทั้งประเทศ หรือ หลายพื้นที่ในโลก) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
boonies | (n) ถิ่นที่อยู่ไกลตัวเมือง, See also: ถิ่นทุรกันดาร |
country | (n) ภูมิลำเนา, See also: ถิ่นที่อยู่, Syn. homeland, native |
habitat | (n) ถิ่นที่อยู่, See also: ถิ่นที่อยู่ของพืชหรือสัตว์, ที่อยู่อาศัย |
immigrate | (vi) อพยพ, See also: ย้ายถิ่นที่อยู่, ย้ายถิ่นฐาน, ย้ายไปตั้งรกรากที่ใหม่, Syn. migrate, resettle |
justice of the peace | (n) เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นที่มีอำนาจในการพิจารณาคดีเล็กๆ น้อยๆ, Syn. magistrate |
locality | (n) สถานที่, See also: ถิ่นที่อยู่, ตำแหน่งที่ |
place | (n) ที่อยู่อาศัย, See also: สถานที่พัก, ถิ่นฐาน, ถิ่นที่อยู่, Syn. site, suburb, country, section, abode |
pull up one's roots | (idm) ละทิ้งถิ่นที่อยู่, Syn. put down |
pull up stakes | (idm) ละทิ้งถิ่นที่อยู่หรือที่ทำงาน |
residence | (n) ที่อยู่อาศัย, See also: ที่พัก, ถิ่นที่อยู่, Syn. domicile, house |
flit | (sl) หลบออกไปจากถิ่นที่อาศัยอย่างลับๆ เพื่อหนีใครบางคน |
Swiss | (n) ภาษาท้องถิ่นที่ใช้ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ |
urban renewal | (n) การฟื้นฟูดินแดนท้องถิ่นที่เสียหายหรือเสื่อมสลายไปแล้ว, Syn. modernization, gentrification, improvement |
Hope Dictionary
arenaceous | (อาระเน'เซียส) adj.คล้ายทราย, เป็นทราย, มีถิ่นที่อยู่เป็นทราย (sandlike, sandy) |
background | (แบค'กราวน์ดฺ) n. พื้น, ส่วนที่อยู่ข้างหลัง, ถิ่นที่มา, ภูมิหลัง, Syn. past, environment |
carpetbag | (คาร์'พิทแบก) { carpetbagged, carpetbagging, carpetbags } n. กระเป๋าที่ทำด้วยพรม vi. ย้ายภูมิลำเนาถิ่นที่อยู่เพื่อหาเสียงเลือกตั้งในถิ่นใหม่, See also: carpetbagging n. ดูcarpetbag carpetbagger n. ดูcarpetbag |
country | (คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต |
domicil | (ดอม'ซิไซลฺ, ดอม'มิเซิล) n. ภูมิลำเนา, ถิ่นที่อยู่, บ้าน vt. ตั้งภูมิลำเนา., See also: domiciliary adj., Syn. abode, home |
domicile | (ดอม'ซิไซลฺ, ดอม'มิเซิล) n. ภูมิลำเนา, ถิ่นที่อยู่, บ้าน vt. ตั้งภูมิลำเนา., See also: domiciliary adj., Syn. abode, home |
floating | (โฟล'ทิง) adj. ซึ่งลอยอยู่, ซึ่งล่องลอยอยู่, ซึ่งเคลื่อนจากที่เดิม, ซึ่งโยกย้ายถิ่นที่อยู่, ยังมาหรือไปไม่ถึง (สินค้า) , ไม่คงที่, Syn. unsteady |
habitat | (แฮบ'บิแทท) n. ถิ่นที่อยู่ของพืชหรือสัตว์, สิ่งแวดล้อมของถิ่นที่อยู่ของพืชหรือสัตว์. ที่อยู่อาศัย, Syn. habitation |
habitation | (แฮบบิเท'เชิน) n. ที่อยู่อาศัย, ถิ่นที่อยู่, ชุมชน, ที่อยู่รวมกัน., See also: habitational adj., Syn. domicile, residence |
locality | (โลแคล'ลิที) n. สถานที่, ตำแหน่งที่, ตำแหน่งที่ตั้ง, ถิ่นที่อยู่, ลักษณะเฉพาะที่เฉพาะถิ่น |
locate | (โล'เคท) vt. หาที่ตั้ง, กำหนดที่ตั้ง, หาแหล่งที่ตั้ง, ตั้งอยู่, ตั้งรกราก, สำรวจที่ดินหรือถิ่นที่อยู่. vi. ตั้งอยู่, ตั้งรกราก, ก่อตั้ง., See also: locatable adj. ดูlocate locater n. ดูlocate locator n. ดูlocate, Syn. find |
lodge | (ลอดจฺ) n. กระท่อม, บ้านพักในป่า, บ้านเล็ก ๆ , บ้านเล็กของคนเฝ้าประตูที่อยู่ใกล้รั้ว, โรงแรม, สาขาของสมาคมลับ, บ้านอินเดียแดง, ถ้ำของสัตว์, โพรงที่สัตว์อยู่. vi., vt. มีถิ่นที่อยู่, พำนัก, เป็นที่พำนัก, ให้อยู่, ใส่, รับรอง, นำสู่, มอบ, เสนอ -S... |
move | (มูฟว) vi. เคลื่อนที่, เคลื่อนไหว, เดิน, ก้าวหน้า, เจริญ, จำหน่ายไป, จากไป, ถ่ายท้อง, มีบทบาท, ดำเนินการ, เสนอ. vt. เคลื่อนที่, เคลื่อนไหว, กระตุ้น, ดลใจ, เร้าใจ, แหย่, ทำให้ถ่ายท้อง, จำหน่ายไป, เสนอ. n. การเคลื่อนที่, การเคลื่อนไหว, การเปลี่ยนถิ่นที่อยู่, การสู่จุดหมายปลายทาง, การเดินหมากรุก, แต้ม, การรกระทำ |
occupancy | (ออค'คิวเพินซี) n. การครอบครอง, การพำนักอาศัย, การมีถิ่นที่อยู่, |
occupy | (ออค'คิวไพ) vt. ครอบครอง, ยึดครอง, ครอง, ใช้เวลา, มุ่งมั่น, ยุ่งอยู่, อาศัยอยู่, มีถิ่นที่อยู่, Syn. seize |
repatriate | (รีเพ'ทริเอท) vt. ส่งคืน, ส่งกลับ, ส่งกลับถิ่นที่อยู่เดิม n. ผู้ถูกส่งกลับถิ่นที่อยู่เดิม, See also: repatriable adj. repatriation n. |
residence | (เรส'ซิเดินซฺ) n. ที่อยู่อาศัย, ถิ่นที่อยู่, ที่อยู่, การอยู่อาศัย, การมีถิ่นที่อยู่, ช่วงระยะเวลาการอยู่อาศัย, Syn. dwelling place, home |
residency | (เรส'ซิเดินซี) n. ที่อยู่อาศัย, ถิ่นที่อยู่, ฐานะหรือช่วยระยะการฝึกหัดความชำนาญสาขาใดสาขาหนึ่งของแพทย์ในโรงพยาบาล, จวน, ทำเนียบ, Syn. residence |
residential | (เรซซิเดน'เชิล) adj. เกี่ยวกับถิ่นที่อยู่, เกี่ยวกับการอยู่อาศัย, See also: residentiality n. residentially adv. |
settlement | (เซท'เทิลเมินทฺ) n. การจัดการ, การแก้ปัญหา, การชำระหนี้, การชำระบัญชี, การตั้งถิ่นฐาน, การตั้งรกราก, การตั้งหลักฐาน, การตั้งกิจการ, นิคม, อาณานิคม, ชุมชน, การมอบทรัพย์สิน, ทรัพย์สิน, กองทุน, ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย, การค่อย ๆ จมลง |
whereabout | (s) (แวร์'ระเบาทซฺ) adv. ที่ไหน, อยู่ที่ไหน conj. ใกล้ที่ไหน, ณ ที่ไหน, อยู่ที่ไหน n. สถานที่, ถิ่นที่, ตำแหน่งที่ |
Nontri Dictionary
country | (n) ประเทศ, รัฐ, บ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่, ภูมิลำเนา, บ้านเกิดเมืองนอน |
domicile | (n) บ้านเกิด, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, ภูมิลำเนา, บ้าน, ถิ่นที่อยู่ |
habitat | (n) ถิ่นที่อยู่, เคหสถาน, ที่พักอาศัย, ที่พำนัก, ที่อยู่อาศัย |
locality | (n) ท้องถิ่น, ละแวก, สถานที่, ตำบล, ตำแหน่งที่ตั้ง, ถิ่นที่อยู่ |
residence | (n) ถิ่นที่อยู่, ที่อยู่, ที่อาศัย, การอยู่อาศัย |
residential | (adj) สำหรับอยู่อาศัย, เกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ |
whereabouts | (n) ที่อยู่, สถานที่, ตำแหน่งที่, ถิ่นที่ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
non-refoulement | (n) หลักการไม่ส่งผู้ลี้ภัยกลับไปยังดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูกคุกคาม Non-refoulement is a principle in international law, specifically, refugee law, which protects refugees from being returned to places where their lives and freedoms would be threatened.[ Google ] Art.33(1) of the 1951 UN Convention on the Status of Refugees, and its 1967 protocol. |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
地方交付税 | [ちほうこうふぜい, chihoukoufuzei] (n) เงินอุดหนุนประเภทหนึ่งที่ให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น เพื่อเป็นการประกันว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นสามารถให้บริการขั้นพื้นฐานแก่ประชาชนในท้องถิ่นได้ โดยองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้น้อย จะได้เงินอุดหนุนประเภทนี้มากกว่าองค์กรปกครองท้องถิ่นที่มีรายได้มาก |
一部事業組合 | [いちぶじぎょうくみあい, ichibujigyoukumiai] (n, name) สหการ (เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น ที่เกิดจากการรวมตัวกันขององค์กรปกครองท้องถิ่นมากกว่าหนึ่งแห่งในการทำกิจการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น สหการแข่งม้า ก็เป็นการรวมตัวขององค์กรปกครองท้องถิ่นเพื่อจัดการแข่งม้าและหารายได้เข้าสหการ จากนั้นสหการก็จะนำรายได้ที่เข้าสหการ นำไปแบ่งให้แก่เทศบาลหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เป็นสมาชิกของสหการ |
Longdo Approved DE-TH
bewohnen | (vt) |bewohnte, hat bewohnt + A| ครอบครอง(ที่ดิน, ที่อยู่อาศัย), ครอง, อาศัยอยู่, มีถิ่นที่อยู่ เช่น Diese Etage ist von einer japanischen Familie bewohnt. = Auf dieser Etage wohnt eine japanische Familie. ชั้นนี้ถูกครอบครองโดยครอบครัวชาวญี่ปุ่น หรือ ครอบครัวชาวญี่ปุ่นอาศัยอยู่บนชั้นนี้, See also: Related: wohnen |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0438 seconds, cache age: 8.336 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม