157 ผลลัพธ์ สำหรับ *ตัวหนังสือ*
ภาษา
หรือค้นหา: ตัวหนังสือ, -ตัวหนังสือ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตัวหนังสือ | (n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เขาสายตาสั้นจึงอ่านตัวหนังสือไกลๆ ไม่ชัด, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด |
ตัวหนังสือ | (n) character, See also: letter, writing, alphabet, consonant, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, Example: เวลาที่เราอ่านเราไม่ต้องอ่านหรือมองตัวหนังสือทีละตัวทุกๆ ตัวจะทำให้อ่านไวขึ้น, Count Unit: ตัว, Thai Definition: เครื่องหมายใช้ขีดเขียนแทนเสียงหรือคำพูด |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตัวหนังสือ | น. สัญลักษณ์แทนเสียงหรือคำพูด. |
แววหัวตัวหนังสือ | น. หัวของพยัญชนะไทยบางตัวที่มีลักษณะเป็นวงกลม เช่นหัวตัว ค ด ง ถ. |
กำเนิด | (กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร. |
เขียน | ก. ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ. |
จาร ๑ | (จาน) ก. ใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานหรือศิลาเป็นต้นให้เป็นตัวหนังสือ เช่น จึงจารจารึกอันนี้ไว้อีกโสด (ศิลาจารึกเขาสุมนกูฏ) (จารึกสมัยสุโขทัย). |
ช่องไฟ | ช่องว่างระหว่างตัวหนังสือ. |
เซต ๑ | ลักษณนามใช้เรียกคนหรือของที่เข้ากลุ่มหรือเข้าชุดกัน เช่น ตัวหนังสือเซตเดียวกัน ตัวเลข ๒ เซต, ลักษณนามเรียกการแข่งขันหรือการเล่นที่จบลงด้วยการแพ้ชนะกันครั้งหนึ่ง ๆ เช่น เขาเล่นเทนนิสชนะคู่แข่ง ๒ ต่อ ๑ เซต. |
เดินทอง | ก. ลงทองไปตามเส้นลวดลายหรือตัวหนังสือเป็นต้น เช่น ทำปกแข็งเดินทอง. |
โดยพยัญชนะ | ว. ตามตัวหนังสือ, ตามศัพท์, เช่น แปลภาษาบาลีโดยพยัญชนะ. |
ตัว ๑ | น. รูป, ตน, ตนเอง, คำใช้เรียกแทนคน สัตว์ และสิ่งของบางอย่าง เช่น ตัวละคร ตัวหนังสือ |
ทรงเครื่อง | ก. แต่งตัวมีเครื่องประดับ เช่น พระพุทธรูปทรงเครื่อง, มีเครื่องปรุงพิเศษกว่าปรกติ เช่น กระท้อนทรงเครื่อง, ประดิดประดอยให้งดงามเป็นพิเศษ เช่น ตัวหนังสือทรงเครื่อง |
นูน | ว. สูงขึ้นจากระดับพื้นราบในลักษณะโค้งมน, โดยปริยายหมายถึงลักษณะเช่นนั้น เช่น ตัวหนังสือนูน ลวดลายนูน. |
บรรทัด | (บัน-) น. ข้อความที่เขียนหรือพิมพ์ต่อเนื่องกันเป็นแถวเป็นแนวแต่ละแนว เช่น ตัดบรรทัดที่ ๒๐ ออก, ลักษณนามว่า บรรทัด เช่น ให้เขียนเรียงความอย่างน้อย ๕๐ บรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเต็มช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวเต็มบรรทัด, เรียกตัวหนังสือที่เขียนเพียงครึ่งหนึ่งของช่วงระหว่างเส้นบรรทัด ๒ เส้น ว่า ตัวครึ่งบรรทัด, เรียกอุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทำด้วยไม้เป็นต้น สำหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง ว่า ไม้บรรทัด, เรียกเส้นที่ตีหรือพิมพ์ไว้บนกระดาษเป็นต้นเพื่อเขียนหรือพิมพ์ตัวอักษรบนเส้น ใต้เส้น หรือระหว่างเส้น ว่า เส้นบรรทัด. |
บอด | ไม่มีแวว เป็นวงทึบไม่โปร่ง (ใช้แก่หัวตัวหนังสือ) เช่น เขียนหนังสือหัวบอด |
ปากเปล่า | ก. ว่าโดยไม่ดูตัวหนังสือ เช่น เทศน์ปากเปล่า, เรียกวิธีสอบโดยใช้วาจาแทนการเขียนคำตอบ ว่า สอบปากเปล่า. |
แปรอักษร | ก. ทำให้มีตัวอักษรหรือภาพปรากฏขึ้น โดยใช้คนจำนวนมากที่อยู่บนอัฒจันทร์ ยกกระดาษ ผ้า หรือวัสดุอื่น ๆ ขึ้นมาพร้อม ๆ กัน ให้เห็นเป็นตัวหนังสือหรือภาพ (มักใช้ประกอบในการเชียร์กีฬา การแสดงกลางแจ้ง หรือกิจกรรมสำคัญ ๆ ). |
ฝนแสนห่า ๑ | น. วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ |
พยัญชนะ | ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ |
พิมพ-, พิมพ์ | (พิมพะ-) ก. ถ่ายแบบ, ใช้เครื่องจักรกดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนวัตถุ เช่นแผ่นกระดาษ ผ้า, เช่น พิมพ์ผ้า พิมพ์ขนมเป็นรูปต่าง ๆ. |
พิมพ์หนังสือ | ก. ใช้เครื่องพิมพ์กดตัวหนังสือหรือภาพเป็นต้นให้ติดบนกระดาษหรือผ้าเป็นต้น. |
ภาษา | เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ |
แม่พิมพ์ | น. สิ่งที่เป็นต้นแบบ เช่น แม่พิมพ์ตัวหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงครูอาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างความประพฤติของศิษย์. |
รง ๒ | น. ชื่อยางไม้ที่ได้จากไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Garcinia วงศ์ Guttiferae คือ มะพูด [ G. dulcis (Roxb.) Kurz ] และรง (G. hanburyi Hook.f.) ชนิดแรกให้ยางสีเขียว ๆ อมเหลืองเรียก รงกา ชนิดหลังให้ยางสีเหลืองเรียก รง ใช้ทำยาและเขียนหนังสือหรือระบายสี รงนั้นถ้าใช้ทองคำเปลวผสมเขียนตัวหนังสือหรือลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า รงทอง. |
ลบเลือน | ก. เสื่อมจากสภาพเดิมจนเห็นหรือจำได้แต่ราง ๆ เช่น ตัวหนังสือลบเลือน ความจำลบเลือน. |
ลายมือ | ตัวหนังสือเขียน มักมีลักษณะแสดงว่าเป็นของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เขียนด้วยลายมือตนเอง ลายมือดี, ราชาศัพท์ใช้ว่า ลายพระหัตถ์ ซึ่งหมายถึงจดหมายของเจ้านายด้วย. |
ลายลักษณ์ | น. ตัวหนังสือ, เครื่องหมายเป็นรูปต่าง ๆ เช่น ตัวอักษรอียิปต์โบราณ. |
ลายลักษณ์อักษร | น. เครื่องหมายขีดเขียนเป็นตัวหนังสือ เช่น เรื่องนี้ควรบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. |
ลายสือ | น. ตัวหนังสือ. |
ลิปิ | น. ตัวหนังสือ. |
วิทยุคมนาคม | น. การส่งหรือการรับเครื่องหมายสัญญาณ ตัวหนังสือ ภาพ และเสียงหรือการอื่นใดซึ่งสามารถให้เข้าใจความหมายได้โดยใช้คลื่นวิทยุ. |
เว้นช่องไฟ | ก. เว้นช่องว่างระหว่างตัวหนังสือหรือลวดลายแต่ละตัว. |
สลัก ๒ | (สะหฺลัก) ก. ทำให้เป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีใช้สิ่วสกัด ตัด ตอก ดุน เป็นต้น เช่น สลักไม้ สลักลูกนิมิต หรือใช้สิ่งอื่นขูด ขีด ให้เป็นตัวหนังสือเป็นต้น เช่น สลักชื่อบนหีบบุหรี่. |
สัญลักษณ์ | (สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. |
หนามเตย | น. ลายหยักบนตัวหนังสือขอม |
หวย ก ข | น. การพนันอย่างหนึ่ง ที่ออกเป็นตัวหนังสือ คือ ใช้พยัญชนะในภาษาไทยตั้งแต่ ก ถึง ฮ เป็นหลัก โดยตัดออกเป็นบางตัว เหลือเพียง ๓๖ ตัว ตัวที่ออกเสียงเหมือนกันจะตั้งชื่อให้ต่างกัน เช่น ข ง่วยโป๊ ฃ เจี่ยมกวย ค หะตั๋ง ฅ เม่งจู ฆ ยิดซัว ทั้งนี้เพราะได้นำวิธีเล่นหวยของจีนมาปรับปรุงใช้, หวย ก็เรียก. |
หัว ๑ | ส่วนเริ่มต้นที่เป็นวงของตัวหนังสือ |
หัวเข้า | น. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนเข้าอยู่ภายในเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว ถ ตัว ผ, ตรงข้ามกับ หัวออก. (ดู หัวออก). |
หัวออก | น. หัวของตัวหนังสือที่ม้วนออกนอกเส้นกรอบของตัวอักษร เช่น ตัว พ ตัว ภ, ตรงข้ามกับ หัวเข้า. |
หาง | ส่วนของตัวหนังสือไทยที่ลากยาวขึ้นทางเบื้องบนหรือทางเบื้องล่าง. |
อักขร-, อักขระ | (อักขะหฺระ-) น. ตัวหนังสือ. |
อักษร, อักษร- | (อักสอน, อักสอระ-, อักสอน-) น. ตัวหนังสือ, วิชาหนังสือ เช่น ฉลาดรอบรู้ในอักษรสยาม. |
อ่าน | ก. ว่าตามตัวหนังสือ, ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง, ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
variable | ตัวแปร, สัญลักษณ์ที่ใช้แทนค่าตัวเลข หรือตัวหนังสือในโปรแกรม ลักษณะคล้ายคลึงกับตัวแปรทางคณิตศาสตร์ โดยจะต้องมีการตั้งชื่อให้กับตัวแปร มีการกำหนดค่าให้กับตัวแปร และค่าของตัวแปรอาจถูกเปลี่ยนแปลงไปได้ระหว่างที่ทำการประมวลผล หรือระหว่างการทำงานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Graphanesthesia | ถ้าเขียนตัวหนังสือบนมือหรือหลังของผู้ป่วยบอกไม่ [การแพทย์] |
Micrographia | ตัวหนังสือที่ผู้ป่วยเขียนจะเล็กลงเรื่อยๆ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ตัวหนังสือ | [tūanangseū] (n) EN: character ; letter ; writing ; alphabet ; consonant FR: caractère [ m ] ; lettre [ f ] ; idéogramme [ m ] |
ตัวหนังสือจีน | [tūanangseū Jīn] (n, exp) EN: Chinese character FR: caractère chinois [ m ] |
ตัวหนังสือภาษาจีน | [tūanangseū phāsā Jīn] (n, exp) EN: Chinese character FR: caractère chinois [ m ] |
ตัวหนังสือภาษาไทย | [tūanangseū phāsā Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ] |
ตัวหนังสือไทย | [tūanangseū Thai] (n, exp) FR: caractère thaï [ m ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
alphabet | (n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. letters, syllabary, characters |
braille | (vt) พิมพ์ตัวหนังสือเบลล์, See also: พิมพ์ด้วยอักษรเบลล์ |
cursor | (n) เคอร์เซอร์, See also: สัญลักษณ์บนจอคอมพิวเตอร์ที่แสดงให้เห็นจุดที่สามารถพิมพ์ตัวหนังสือได้ |
engross | (vt) คัดลอกเอกสารโดยการเขียนด้วยตัวหนังสือตัวใหญ่และชัดเจน |
epigraph | (n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้บนรูปปั้นอนุเสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้าง, Syn. inscription |
epigraphy | (n) การศึกษาและถอดความหมายของตัวหนังสือโบราณที่แกะสลักไว้ |
epigraphy | (n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้, See also: คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, Syn. inscription |
letter | (vt) เขียนตัวอักษร, See also: เขียนตัวหนังสือ |
letter | (n) ตัวอักษร, See also: ตัวหนังสือ, Syn. character, alphabet |
letterpress | (n) ตัวหนังสือ (เพื่อแยกความต่างจากภาพหรือองค์ประกอบอื่นๆ ในหนังสือ) |
literal | (adj) ตามตัวอักษร, See also: ตามตัวหนังสือ |
literally | (adj) อย่างตามตัวอักษร, See also: ตามตัวหนังสือ |
penmanship | (n) ศิลปะในการเขียนตัวหนังสือ, See also: วิธีเขียนตัวหนังสือ, Syn. calligraphy |
skywritting | (n) การเขียนตัวหนังสือ |
uncial | (adj) เกี่ยวกับตัวหนังสือกรีกและละติน สมัยศตวรรษที่ 4-8 |
uncial | (n) ตัวหนังสือชนิดหนึ่ง, See also: ตัวอักษรชนิดหนึ่ง |
Uncila | (adj) เกี่ยวกับตัวหนังสือกรีกและละติน สมัยศตวรรษที่ 4-8 |
Uncila | (n) ตัวหนังสือชนิดหนึ่ง |
wen | (n) ตัวหนังสือรูนที่มีเสียงของ W ซึ่งใช้เขียนกันในภาษาอังกฤษยุคเก่าและยุคกลาง, Syn. wynn |
writing | (n) ตัวหนังสือ, See also: ตัวเขียน, Syn. character, letter |
Hope Dictionary
braille | (เบรล) n. ตัวหนังสือนูนสำหรับคนตาพิการ, ชื่อผู้สร้างตัวหนังสือดังกล่าว vt. เขียนตัวหนังสือเบรลล์ |
carbon ribbon | ผ้าหมึกพิมพ์หมายถึง แถบผ้าหมึกที่ใช้ในเครื่องพิมพ์แบบกระทบ (impact printer) ผ้าหมึกนี้จะเป็นตัวทำให้ตัวหนังสือชัดหรือจาง ถ้าเมื่อใด ตัวหนังสือที่พิมพ์จาง ลองตรวจสอบดูผ้าหมึกพิมพ์ เพราะผ้าหมึกพิมพ์อาจจะเก่า ให้จัดการเปลี่ยนใหม่ |
cathode ray tube | หลอดภาพใช้ตัวย่อว่า CRT หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ |
cipher | (ไซ'เฟอะ) { ciphered, ciphering, ciphers } n. เลขศูนย์, คนที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่มีค่า, รหัสลับ, เครื่องหมายลับ, สัญลักษณ์ลับ, อักษรไขว้, ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข, เขียนเป็นระหัส, คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย: |
crt | (ซีอาร์ที) ย่อมาจาก cathode ray tube หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ หลอดภาพของจอคอมพิวเตอร์ก็ดี หลอดภาพของโทรทัศน์ก็ดี จะใช้หลอดภาพ CRT เช่นเดียวกัน |
doc | (ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ |
document file | แฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ |
graphic display | การแสดงผลกราฟิกการแสดงผลของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถแสดงผลออกมาเป็นภาพได้ โดยใช้จุดมาเรียงกันเป็นเส้นตรง, เส้นโค้ง หรือแท่ง ฯ การป้อนข้อมูลอาจทำเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ และเราสามารถใช้คำสั่งบังคับให้แสดงภาพด้านตรง หมุน หรือเอียง รวมทั้งอาจมีปากกาไว้ให้เขียนบนจอภาพด้วยก็ได้ |
hair space | ช่องไฟที่เล็กที่สุดของตัวหนังสือ, ช่องแยกที่บางที่สุดในการเรียงพิมพ์, เส้นโลหะบางที่สุดที่ใช้แยกคำ สัญลักษณ์หรืออื่น ๆ |
inverse text | ตัวหนังสือเจาะขาวหมายถึงตัวอักษรที่พิมพ์แบบเจาะขาวบนพื้นที่เป็นสีอื่น ส่วนมากจะเป็นสีเข้ม ๆ มักนำมาใช้เมื่อต้องการเน้น เช่น เป็นหัวข้อ มีความหมายเหมือน reverse text |
italicise | (อิแทล'ลิไซช) vt. พิมพ์ด้วยตัวหนังสือเอียง, ขีดเส้นใต้คำ. vi. ใช้ตัวหนังสือเอียง., See also: italicization, italicisation n. |
italicize | (อิแทล'ลิไซช) vt. พิมพ์ด้วยตัวหนังสือเอียง, ขีดเส้นใต้คำ. vi. ใช้ตัวหนังสือเอียง., See also: italicization, italicisation n. |
kanamajiri | (คา'นะมา'จิรี) n. ตัวหนังสือมาตราฐานของญี่ปุ่น |
letter | (เลท'เทอะ) n. จดหมาย, อักษร, ตัวหนังสือ, ตัวพยัญชนะ, แบบ, ตัวพิมพ์, ตัวเรียงพิมพ์, ศัพท์, สาส์น, หนังสือ, หนังอนุญาต, See also: letters n. วรรณคดี, อาชีพนักประพันธ์, ความรู้ เครื่องหมาย |
letterhead | (เลท'เทอะเฮด) n. ตัวหนังสือที่พิมพ์อยู่ตรงหัวกระดาษจดหมาย (โดยเฉพาะที่บอกชื่อและที่อยู่) , กระดาษจดหมายที่มีตัวหนังสือดังกล่าว |
literal | (ลิท'เทอเริล) adj. ตามตัวอักษร, ตามตัวหนังสือ, ตามตัวพยัญชนะ, แท้จริง, ไม่เลยเถิด., See also: literalness n. ดูliteral, Syn. veritable, verbal |
numeric character | ตัวเลขหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวเลข โดยปกติกำหนดไว้ให้มี 10 ตัว คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 และ 9 เพื่อแยกให้เห็นต่างจากตัวอักขระที่เป็นตัวหนังสือมีความหมายเหมือน digit |
optotype | (ออพ'โทไทพฺ) n. แบบตัวหนังสือที่ใช้ทดสอบสายตา |
penmanship | (เพน'เมินชิพ) n.ศิลปะในการเขียนหรือคัดตัวหนังสือ, ลายมือ, การประพันธ์, Syn. handwriting, writing, longhand |
plaque | (เพลค, พลาค) n. แผ่นจารึกตัวหนังสือหรือภาพ, สารสะสมบนผิวหน้าซึ่งอาจจะเป็นสื่อที่แบคทีเรียเจริญได้หรือเกิดหินปูนขึ้น |
polymorphism | (พอลลีมอร'ฟิสซึม) n. ภาวะที่มีหลายรูปแบบ, See also: polymorphistic adj. โพลิมอฟิซึม <คำอ่าน>ในโปรแกรมเชิงวัตถุ object-oriented programming หมายถึง การใช้ชื่อเหมือนกันให้หมายถึงกระบวนการคนละอันในเนื้อหาที่ไม่เหมือนกัน เป็นต้นว่า คำว่า "แสดงผล" display อาจใช้หมายถึงการแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นกราฟ เป็นภาพ เป็นตารางจัดการ เป็นภาพเคลื่อนไหว เป็นเสียง ฯ รวมทั้งการแสดงบนจอภาพ บนกระดาษ วิธีการเช่นนี้ ใช้กันในเรื่องของโปรแกรมเชิงวัตถุ |
rubric | (รู'บริค) n. ตัวหนังสือแดง, หัวเรื่องสีแดง, เครื่องหมายสีแดง, เครื่องหมายนำทางสีแดง, ข้อควรประพฤติในพิธีทางศาสนา, ข้อควรประพฤติ, กฎ |
slur | (สเลอ) vt., vi., n. (การ) ทอดเสียงอย่างคลุมเครือ, ทอดเสียง, ร้องทอด, ออกเสียง, ทำอย่างรีบร้อน, ทำให้ด่างพร้อย, ทำให้มีมลทิน, ทำให้เปรอะเปื้อน, ใส่ร้าย, ปิดบังความผิด, รอยตัวหนังสือทาบทับกัน, การเขียนติดกัน, Syn. slight, skimp, mumble |
superscript | (ซู'เพอสคริพทฺ) adj., n. (ตัวหนังสือ) ซึ่งเขียนหรือทำเครื่องหมายข้างบนหรือบนมุมขวา. |
unlettered | (อันเลท'เทิร์ด) adj. ไม่ได้รับการศึกษา, ไม่ได้เรียนหนังสือ, ไม่สนใจ, ไม่มีตัวหนังสือ, ไม่มีความรู้., Syn. uneducated, illiterate |
verbatim | (เวอเบ'ทิม) adv., adj. คำต่อคำ, ตามตัวอักษร, ตามตัวหนังสือ, โดยคำเดียวกัน |
wordy | (เวริ์ด'ดี) adj. ใช้คำมากเกินไป, เกี่ยวกับคำ, ประกอบ ด้วยคำ, เกี่ยวกับตัวหนังสือ, เกี่ยวกับคำ, เกี่ยวกับตัวหนังสือ, See also: wordily adv. wordiness n. |
writing | (ไร'ทิง) n. การเขียน, การเขียนหนังสือ, การเขียนจดหมาย, การแต่งหนังสือ, สิ่งที่เขียน, แบบเขียน, การเขียน, ตัวหนังสือ, ตัวเขียน, หนังสือสลัก, จดหมาย, เอกสาร -Phr. (writing on the wall คัดลายมือ เครื่องเตือนสติ), Syn. calligraphy |
Nontri Dictionary
BLACK AND black and white | (n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ |
letter | (n) จดหมาย, ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, เอกสาร, หนังสือ, ตัวพิมพ์ |
longhand | (n) ลายมือเขียน, ตัวหนังสือ |
text | (n) หัวข้อ, ต้นฉบับ, ตัวหนังสือ, แบบเรียน, เนื้อหา, ใจความ |
writing | (n) การเขียน, ข้อเขียน, ลายมือ, ตัวหนังสือ, จดหมาย, เอกสาร, การแต่งหนังสือ์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
LANNA | (n) ล้านนา คือดินแดนที่มีจำนวนที่นานับล้าน เป็นอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้แก่จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ พะเยา น่าน ลำพูน และ ลำปาง โดยมีเมืองเชียงใหม่ เป็นราชธานี มีภาษาที่เรียกว่า คำเมือง หรือภาษาเหนือ ตัวหนังสือ ตัวเมือง วัฒนธรรม และ ประเพณี เป็นของตนเอง ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง เป็นระบอบมณฑลเทศาภิบาล ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมี พระเจ้าอินทวิชยานนท์, พระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 เป็นพระเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในฐานะราชอาณาจักรพระองค์สุดท้าย และ เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เป็นเจ้าผู้ปกครองนครองค์สุดท้าย ปัจจุบันเจ้านายฝ่ายเหนือและเชื้อสาย "ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)" อยู่ในราชตระกูล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน |
scribble | (n) ตัวหนังสือหยุกหยิก, การแต่งหนังสือเลว |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0407 seconds, cache age: 4.833 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม